เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา Organic Farm on Moderate Hillside Slope [تايلاند]
- تاريخ الإنشاء:
- تحديث:
- جامع المعلومات: Kukiat SOITONG
- المحرر: –
- المراجعون: Rima Mekdaschi Studer, William Critchley
-
technologies_4242 - تايلاند
عرض الأقسام
توسيع الكل طي الكل1. معلومات عامة
1.2 تفاصيل الاتصال بالأشخاص الرئيسيين لمصدر المعلومات والمؤسسات المشاركة في تقييم وتوثيق التقنية
مستخدم الأرض:
มงคลกาญจนคุณ นายพัฒน์พงษ์
-
تايلاند
1.3 الشروط المتعلقة باستخدام البيانات الموثقة من خلال WOCAT
يوافق جامع المعلومات والشخص (لاشخاص) الرئيسي لمصدر المعلومات على الشروط المتعلقة باستخدام البيانات الموثقة من خلال WOCAT:
نعم
1.4 إعلان بشأن استدامة التقنية الموصوفة
هل التقنية الموصوفة هنا تمثل مشكلة فيما يتعلق بتدهور الأراضي، بحيث لا يمكن إعلانها تقنية مستدامة لإدارة الأراضي؟:
كلا
التعليقات:
เกษตรกรสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง
1.5 الإشارة إلى الاستبيان (الاستبيانات) حول مناهج الإدارة المستدامة للأراضي (موثقة باستخدام WOCAT)
กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ [تايلاند]
กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เป็นการรวมกลุ่มของเกษตรกรที่ดำเนินการทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยได้จัดให้มีศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย เพื่อเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ร่วมกัน
- جامع المعلومات: Kukiat SOITONG
2. وصف تقنيةالإدارة المستدامي للأراضي
2.1 وصف مختصر للتقنية
تعريف التقنية:
เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา เป็นการจัดการพื้นที่ ดินและน้ำ ให้สามารถผลิตสินค้าทางการเกษตรที่ปลอดภัยได้อย่างยั่งยืน
2.2 وصف تفصيلي للتقنية
الوصف:
(1)เทคโนโลยีนำไปใช้ที่ไหน(สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของมนุษย์
พื้นที่ทำการเกษตร ที่เป็นที่ลาดเชิงเขา ดินมีลักษณะเป็นดินร่วนปนกรวด ง่ายต่อการชะล้างพังทลาย และยังขาดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำ ทำให้ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง มีการทำการเกษตรเชิงเดี่ยว ได้แก่ การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่มีการใช้ปัจจัยการผลิตและใช้เงินลงทุนมาก เช่น ปุ๋ยเคมี สารกำจัดศัตรูพืชและวัชพืช อย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดสารพิษตกค้างในผลผลิต เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
)(2) อะไรคือลักษณะหรือองค์ประกอบที่สำคัญของเทคโนโลยี
องค์ประกอบที่สำคัญของเทคโนโลยีระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
1.สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน ด้วยการใช้พืชปุ๋ยสด(ปอเทือง สลับกับถั่วพร้า)และการใช้ ปุ๋ยหมัก
2.การจัดการพื้นที่ โดย ปลูกหญ้าแฝก บนที่ลาดเชิงเขา เพื่อชะลอการไหลของน้ำ และแบ่งพื้นที่ทำการเกษตรตามความลาดชัน
3. สร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ เช่น ขุดสระน้ำ หรือ ขุดบ่อบาดาล
4. การจัดทำ Buffer Zone
5. การจัดการ โรคและแมลง ด้วยสารชีวภัณฑ์
6. กำจัดวัชพืช ด้วยวิธีการตัดหญ้าคลุมดิน
(3)อะไรคือจุดประสงค์หรือหน้าที่ของเทคโนโลยี
จุดประสงค์ของ เทคโนโลยีระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
1 เพื่อฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน สร้างสมดุลให้กับระบบนิเวศน์ และเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ
2. เพื่อลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มรายได้
3. เพื่อให้มีสุขภาพดีขึ้น
(4)กิจกรรมที่สำคัญหรือปัจจัยการผลิตที่จำเป็นในการจัดตั้งหรือบำรุงรักษาสภาพเทคโนโลยี
ขั้นตอนการปฏิบัติในการจัดทำระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
1.สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน
1.1 ปลูกพืชปุ๋ยสด โดยใช้ปอเทือง สลับกับถั่วพร้า ปลูก 6 ครั้งต่อปี ต่อเนื่อง 2 ปี
1.1.1 การปลูกปอเทือง
ใช้วิธีการปลูกแบบหว่าน ใช้เมล็ดประมาณ 5 กิโลกรัม/ไร่ แล้วทำการคราดกลบตื้นๆ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ปอเทืองจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.1.2 วิธีการปลูกถั่วพร้า
ใช้วิธีการปลูกแบบโรยเป็นแถว โดยใช้เมล็ดโรยลงในแถว ซึ่งมีระยะระหว่างแถว 75 – 100เซนติเมตร เมื่อโรยเมล็ดลงในแถวแล้วกลบเมล็ดด้วยดินบาง ๆ ในอัตรา 5 - 8 กิโลกรัมต่อไร่ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ถั่วพร้าจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.2 ใช้ปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ในฟาร์ม และใช้น้ำหมักชีวภาพ
2. การจัดการพื้นที่
2.1 ปลูกหญ้าแฝก บนที่ลาดเชิงเขา เพื่อชะลอการไหลของน้ำ ดักตะกอนดิน และเป็นการควบคุมแมลงศัตรูพืช
2.2 ให้จัดการพื้นที่และปลูกพืชตามความลาดชัน เป็น 2 ระดับคือ
-ที่ลาดเชิงเขา ปลูกไผ่ ไม้ผล ป่าใช้สอย
-ที่ราบ ปลูกกล้วย มะละกอ พืชผักสวนครัว ฝรั่ง สมุนไพร ไม้ผล
3. สร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ โดยขุดสระน้ำ และขุดบ่อบาดาล เพื่อใช้ในการอุปโภค และทำการเกษตรครอบคลุมพื้นที่ 34 ไร่ โดยการใช้ระบบสปริงเกอร์ และให้น้ำตามความลาดชันของพื้นที่ นอกจากนี้ มีการให้น้ำหมักชีวภาพ ผ่านระบบสปริงเกอร์
4. การจัดทำ Buffer Zone โดยปลูกไผ่ ป่าไม้ใช้สอย และขึงสแลนสูง 2.50 เมตร ในด้านที่ไม่สามารถปลูกต้นไม้ได้ เพื่อป้องกันสารเคมีที่ปลิวมาจากด้านข้าง
5. การจัดการ โรคและแมลง ใช้สารชีวภัณฑ์ เช่น น้ำหมักชีวภาพ พ.ด 7
6. กำจัดวัชพืช ด้วยวิธีการตัดหญ้าคลุมดิน เพื่อรักษาความชื้นในดินและเพิ่มอินทรยวัตถุให้แก่ดิน
7 การจัดทำบัญชีฟาร์ม เพื่อให้ทราบต้นทุน กำไร-ขาดทุน ในการบริหารและจัดการฟาร์ม
5)ประโยชน์ที่ได้รับหรือผลกระทบของเทคโนโลยีคืออะไรบ้าง
1 พื้นที่ที่ทำการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น
2 สามารถลดต้นทุนการผลิตได้
3 ผลผลิตทางการเกษตรที่ได้มีความปลอดภัย ไม่มีสารพิษตกค้าง ทำให้ขายผลผลิตได้ราคาดีขึ้น
4. ทำให้สุขภาพของเกษตรกร ดีขึ้น
3)โอกาส
3.1 ทำให้เกิดความร่วมมือของผู้ผลิตกับหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งภาครัฐที่เข้ามาร่วมสนับสนุน
3.2 มีโอกาสได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้า ทำให้เป็นที่ต้องการของตลาด
3.3 รัฐมีนโยบายสนันสนุนด้านเกษตรอินทรีย์ ทำให้เกิดความร่วมมือของภาครัฐและเกษตรกร สร้างเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันได้มากขึ้น
2.3 صور التقنية
2.4 فيديوهات عن التقنية
تعليقات، وصف موجز:
-
الموقع:
-
اسم مصور الفيديو:
-
2.5 البلد/المنطقة/المواقع التي تم تنفيذ التقنية فيها والتي يغطيها هذا التقييم
البلد:
تايلاند
المنطقة/الولاية/المحافظة:
กาญจนบุรี
مزيد من التفاصيل حول الموقع:
บ้านทุ่งนา ม.4 ต.หนองเป็ด อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี
حدد انتشار التقنية:
- يتم تطبيقها في نقاط محددة/ تتركز على مساحة صغيرة
التعليقات:
-
Map
×2.6 تاريخ التنفيذ
اذكر سنة التنفيذ:
2004
2.7 إدخال التقنية
حدد كيف تم إدخال التقنية:
- من خلال المشاريع/ التدخلات الخارجية
التعليقات (نوع المشروع، الخ):
กรมส่งเสริมการเกษตร
3. تصنيف تقنية الإدارة المستدامي للأراضي
3.1 الغرض الرئيسي ( الأغراض الرئيسية) للتقنية
- تحسين الإنتاج
- الحد من تدهور الأراضي ومنعه وعكسه
3.2 نوع (أنواع) استخدام الأراضي الحالية حيث يتم تطبيق التقنية
الأراضي الزراعية
- زراعة معمرة (غير خشبية)
- زراعة الأشجار والشجيرات
- มะม่วง มะละกอ มะพร้าว ฝรั่ง เงาะ ไผ่
أراضي الرعي
التعليقات:
-
3.3 هل تغير استخدام الأراضي نتيجة لتنفيذ التقنية؟
التعليقات:
-
3.4 إمدادات المياه
أخرى (مثل ما بعد الفيضانات):
- บ่อบาดาล
التعليقات:
-
3.5 مجموعةالإدارة المستدامة للأراضي التي تنتمي إليها هذه التقنية
- مصد الريح/حزام حماية
- الإدارة المتكاملة للمحاصيل والثروة الحيوانية
- الإدارة المتكاملة لخصوبة التربة
3.6 التدابير التقنية في مجال إلادارة المستدامة للأراضي
التدابير الزراعية
- A2: المادة العضوية/خصوبة التربة
التدابير النباتية
- V1: غطاء من الأشجار والشجيرات
التعليقات:
-
3.7 الأنواع الرئيسية من تدهور الأراضي التي تناولتها التقنية
تآكل التربة بالمياه
- الوزن(Wt): فقدان التربة السطحية/تآكل السطح
التدهور الكيميائي للتربة
- (Cn): تراجع الخصوبة وانخفاض محتوى المادة العضوية (غير ناتج عن الانجراف)
التدهور البيولوجي
- (Bq): انخفاض الكمية/الكتلة الحيوية
التعليقات:
-
3.8 منع أو حد أو عكس تدهور الأراضي
تحديد هدف التقنية فيما يتعلق بتدهور الأراضي:
- منع تدهور الأراضي
- الحد من تدهور الأراضي
4. المواصفات الفنية، وأنشطة التنفيذ، والمدخلات، والتكاليف
4.1 الرسم الفني للتقنية
المواصفات الفنية (المتعلقة بالرسم الفني):
พื้นที่การเกษตร ขนาด 39 ไร่ ทิศเหนือติดเขตรักษาพรรณสัตว์ป่าสลักพระ ทิศใต้ติดถนน
ขั้นตอนการปฏิบัติในการจัดทำระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
2.สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน
1.1 ปลูกพืชปุ๋ยสด โดยใช้ปอเทือง สลับกับถั่วพร้า ปลูก 6 ครั้งต่อปี ต่อเนื่อง 2 ปี
1.1.1 การปลูกปอเทือง
ใช้วิธีการปลูกแบบหว่าน ใช้เมล็ดประมาณ 5 กิโลกรัม/ไร่ แล้วทำการคราดกลบตื้นๆ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ปอเทืองจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.1.2 วิธีการปลูกถั่วพร้า
ใช้วิธีการปลูกแบบโรยเป็นแถว โดยใช้เมล็ดโรยลงในแถว ซึ่งมีระยะระหว่างแถว 75 – 100เซนติเมตร เมื่อโรยเมล็ดลงในแถวแล้วกลบเมล็ดด้วยดินบาง ๆ ในอัตรา 5 - 8 กิโลกรัมต่อไร่ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ถั่วพร้าจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.2 ใช้ปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ในฟาร์ม และใช้น้ำหมักชีวภาพ
2. การจัดการพื้นที่
2.1 ปลูกหญ้าแฝก บนที่ลาดเชิงเขา เพื่อชะลอการไหลของน้ำ ดักตะกอนดิน และเป็นการควบคุมแมลงศัตรูพืช
2.2 ให้จัดการพื้นที่และปลูกพืชตามความลาดชัน เป็น 2 ระดับคือ
-ที่ลาดเชิงเขา ปลูกไผ่ ไม้ผล ป่าใช้สอย
-ที่ราบ ปลูกกล้วย มะละกอ พืชผักสวนครัว ฝรั่ง สมุนไพร ไม้ผล
3. สร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ โดยขุดสระน้ำ และขุดบ่อบาดาล เพื่อใช้ในการอุปโภค และทำการเกษตรครอบคลุมพื้นที่ 34 ไร่ โดยการใช้ระบบสปริงเกอร์ และให้น้ำตามความลาดชันของพื้นที่ นอกจากนี้ มีการให้น้ำหมักชีวภาพ ผ่านระบบสปริงเกอร์
4. การจัดทำ Buffer Zone โดยปลูกไผ่ ป่าไม้ใช้สอย และขึงสแลนสูง 2.50 เมตร ในด้านที่ไม่สามารถปลูกต้นไม้ได้ เพื่อป้องกันสารเคมีที่ปลิวมาจากด้านข้าง
5. การจัดการ โรคและแมลง ใช้สารชีวภัณฑ์ เช่น น้ำหมักชีวภาพ พ.ด 7
6. กำจัดวัชพืช ด้วยวิธีการตัดหญ้าคลุมดิน เพื่อรักษาความชื้นในดินและเพิ่มอินทรยวัตถุให้แก่ดิน
7 การจัดทำบัญชีฟาร์ม เพื่อให้ทราบต้นทุน กำไร-ขาดทุน ในการบริหารและจัดการฟาร์ม
المؤلف:
-
التاريخ:
2016
4.2 معلومات عامة بخصوص حساب المدخلات والتكاليف
حدد كيفية احتساب التكاليف والمدخلات:
- حسب مساحة تنفيذ التقنية
الإشارة إلى حجم ووحدة المساحة:
39 ไร่
عملة أخرى/ عملة وطنية (حدد):
Thai Baht
إذا كان ذا صلة، وضح سعر الصرف من الدولار الأمريكي إلى العملة المحلية (على سبيل المثال، 1 دولار أمريكي = 79.9 ريال برازيلي): 1 دولار أمريكي =:
32,0
اذكر متوسط تكلفة أجر العمالة المستأجرة في اليوم الواحد:
300บาท
4.3 أنشطة التأسيس
النشاط | التوقيت (الموسم) | |
---|---|---|
1. | ปรับปรุง | ก่อนปลูก |
2. | ระบบน้ำ | ฤดูแล้ง |
3. | การกำจัดวัชพืช | ระหว่างปลูก |
4. | การกำจัดศัตรูพืช | ระหว่างปลูก |
5. | แนวกันชน | ฤดูฝน |
6. | การใช้หญ้าแฝก | ฤดูฝน |
7. | การทำบัญชีฟาร์ม | ตลอดปี |
4.4 التكاليف والمدخلات اللازمة للتأسيس
تحديد المدخلات | الوحدة | الكمية | التكاليف لكل وحدة | إجمالي التكاليف لكل مدخل | % من التكاليف التي يتحملها مستخدمو الأراضي | |
---|---|---|---|---|---|---|
العمالة | 1.1การปลูกปอเทือง | ครั้ง | 2,0 | 900,0 | 1800,0 | 100,0 |
العمالة | 1.2สับกลบปอเทือง | ครั้ง | 2,0 | 900,0 | 1800,0 | 100,0 |
العمالة | 1.3ฉีดน้ำหมักชีวภาพ | ครั้ง | 2,0 | 900,0 | 1800,0 | 100,0 |
العمالة | 1.4ใส่ปุ๋ยหมัก | ครั้ง | 1,0 | 1800,0 | 1800,0 | 100,0 |
معدات | 1.5ใส่ปูนโดโลไมท์ | ครั้ง | 1,0 | 1600,0 | 1600,0 | 100,0 |
معدات | 2.ใส่ปุ๋ยหมักปรับปรุงดิน | ครั้ง | 1,0 | 9000,0 | 9000,0 | 100,0 |
معدات | 3.กำจัดวัชพืช | ครั้ง | 8,0 | 9600,0 | 76800,0 | 100,0 |
معدات | 4.กำจัดศัตรูพืช | ครั้ง | 24,0 | 600,0 | 14400,0 | 100,0 |
معدات | 5.ใช้ตาข่ายพรางแสงเป็นแนวกันชน | ม้วน | 2,0 | 600,0 | 1200,0 | 100,0 |
معدات | 6.ปลูกต้นไม้เป็นแนวกันชน | ครั้ง | 2,0 | 600,0 | 1200,0 | 100,0 |
معدات | 7.ดูแลรักษาตัดแต่งหญ้าแฝก | ครั้ง | 8,0 | 900,0 | 7200,0 | 100,0 |
معدات | อุปกรณ์ต่อบ่อบาดาล | บ่อ | 3,0 | 30000,0 | 90000,0 | 100,0 |
المواد النباتية | ตาข่ายพรางแสง | ม้วน | 2,0 | 1700,0 | 3400,0 | 100,0 |
المواد النباتية | ค่าเมล็ดพันธุ์ปอเทือง | กก. | 63,0 | 33,0 | 2079,0 | 100,0 |
المواد النباتية | ค่าต้นไม้ปลูกแนวกันชน | ต้น | 100,0 | 10,0 | 1000,0 | 100,0 |
المواد النباتية | พันธุ์กล้าหญ้าแฝก | กล้า | 150000,0 | 0,73 | 109500,0 | 100,0 |
الأسمدة والمبيدات الحيوية | 1.การปรับปรุงพื้นที่ทำการเกษตร | |||||
الأسمدة والمبيدات الحيوية | 1.1น้ำหมักชีวภาพ | ลิตร | 50,0 | 20,0 | 1000,0 | 100,0 |
الأسمدة والمبيدات الحيوية | 1.2โดโลไมท์ | กก. | 4200,0 | 4,0 | 16800,0 | 100,0 |
الأسمدة والمبيدات الحيوية | 2.ปุ๋ยหมักปรับปรุงดิน | กก. | 5500,0 | 4,0 | 22000,0 | 100,0 |
الأسمدة والمبيدات الحيوية | 3.สารไล่แมลง | ลิตร | 50,0 | 30,0 | 1500,0 | 100,0 |
غير ذلك | 1.การปจัดการพื้นที่ทำการเกษตร | |||||
غير ذلك | 1.1ค่าไถพื้นที่ | ไร่ | 21,0 | 500,0 | 10500,0 | 100,0 |
غير ذلك | 2.บ่อบาดาล | บ่อ | 3,0 | 70000,0 | 210000,0 | 100,0 |
إجمالي تكاليف إنشاء التقنية | 586379,0 | |||||
إجمالي تكاليف إنشاء التقنية بالدولار الأمريكي | 18324,34 |
إذا تحمل مستخدم الأرض أقل من 100% من التكاليف، حدد من قام بتغطية التكاليف المتبقية:
-
التعليقات:
-
4.5 الصيانة/الأنشطة المتكررة
النشاط | التوقيت/الوتيرة | |
---|---|---|
1. | 1. ระบบน้ำ | 2 ครั้งต่อปี ก่อน-หลังฤดูฝน |
2. | 2.การกำจัดวัชพืช | 12 ครั้งต่อปี ระหว่างฤดูปลูกพืช |
3. | 3. การกำจัดศัตรูพืช | 12 ครั้งต่อปีระหว่างฤดูปลูกพืช |
4. | 4.แนวกันชน | 2 ครั้งต่อปี ก่อนและหลังฤดูปลูก |
5. | 5.การใช้หญ้าแฝก | 12 ครั้งต่อปี ระหว่างฤดูปลูก |
التعليقات:
-
4.6 التكاليف والمدخلات اللازمة للصيانة/للأنشطة المتكررة (سنويًا)
تحديد المدخلات | الوحدة | الكمية | التكاليف لكل وحدة | إجمالي التكاليف لكل مدخل | % من التكاليف التي يتحملها مستخدمو الأراضي | |
---|---|---|---|---|---|---|
العمالة | 1.ค่ากำจัดวัชพืชในแปลง | ครั้ง | 8,0 | 1200,0 | 9600,0 | 100,0 |
العمالة | 2.ค่ากำจัดศัตรูพืช | ครั้ง | 24,0 | 600,0 | 14400,0 | 100,0 |
العمالة | 3.ค่าซ่อมแซมแนวกันชน | ครั้ง | 6,0 | 300,0 | 1800,0 | 100,0 |
العمالة | 4.ค่าตัดแต่งแนวหญ้าแฝก | ครั้ง | 8,0 | 900,0 | 7200,0 | 100,0 |
غير ذلك | 1.ค่าไฟฟ้าเกี่ยวกับระบบน้ำ | เดือน | 12,0 | 500,0 | 6000,0 | 100,0 |
إجمالي تكاليف صيانة التقنية | 39000,0 | |||||
إجمالي تكاليف صيانة التقنية بالدولار الأمريكي | 1218,75 |
إذا تحمل مستخدم الأرض أقل من 100% من التكاليف، حدد من قام بتغطية التكاليف المتبقية:
-
التعليقات:
-
4.7 أهم العوامل المؤثرة على التكاليف
قدم وصفا لأهم العوامل التي تؤثر على التكاليف:
ค่าสาธารณูปโภค1.ค่าไฟฟ้า 2. ค่าเจาะบ่อบาดาลพร้อมวางระบบน้ำ 3. ค่าแรงงานและขนส่ง
5. البيئة الطبيعية والبشرية
5.1 المناخ
هطول الأمطار السنوي
- < 250 مم
- 251- 500 ملم
- 501 - 750ملم
- 1,000-751 ملم
- 1,500-1,100 ملم
- 2,000-1,500 ملم
- 3,000-2,001 ملم
- 4,000-3,100 ملم
- > 4000 ملم
حدد متوسط هطول الأمطار السنوي (إذا كان معروفًا)، بالملليمتر:
1600,00
المواصفات/التعليقات على هطول الأمطار:
เป็นพื้นที่เงาฝน (rain shadow) ทำให้มีฝนตกน้อย อากาศร้อนจัดในฤดูร้อน และหนาวจัดในฤดูหนาว โดยมีอุณหภูมิสูงสุดประมาณ 44-45 องศาเซล-เซียสในเดือนเมษายน อุณหภูมิต่ำสุดในเดือนธันวาคมประมาณ 8-9 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 27 องศาเซล-เซียส ช่วงฤดูฝนเริ่มตกจากกลางเดือนเมษายน และสิ้นสุดในช่วงกลางเดือนตุลาคม
الإشارة إلى اسم محطة الأرصاد الجوية المرجعية المعنية:
-
المنطقة المناخية الزراعية
- رطبة
-
5.2 طوبوغرافيا
متوسط الانحدارات:
- مسطح (0-2%)
- بسيط (3-5%)
- معتدل (6-10%)
- متدحرج (11-15%)
- تلال (16-30%)
- شديدة الانحدار(31-60%)
- فائقة الانحدار (>60%)
التضاريس:
- هضاب/سهول
- أثلام مرتفعة
- المنحدرات الجبلية
- منحدرات التلال
- منحدرات في السفوح
- قاع الوادي
المنطقة الارتفاعية:
- 100-0 متر فوق سطح البحر
- 500-101 متر فوق سطح البحر
- 1,000-501 متر فوق سطح البحر
- 1,500-1,001 متر فوق سطح البحر
- 2,000-1,501 متر فوق سطح البحر
- 2,500-2,100 متر فوق سطح البحر
- 3,000-2,501 متر فوق سطح البحر
- 4,000-3,001 متر فوق سطح البحر
- > 4000 متر فوق سطح البحر
وضح ما إذا كانت التقنية مطبقة على وجه التحديد في:
- حالات مقعرة
التعليقات والمواصفات الإضافية بشأن التضاريس:
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบบนภูเขา ติดอ่างเก็บน้ำเขื่อนศรีนครินทร์ สภาพภูมิประเทศเป็นภูเขาหินปูนและหินตะกอนเป็นส่วนใหญ่ ระดับความสูง สูงสุดประมาณ 1,100 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง โดยมีความสูงเฉลี่ยประมาณ 400 เมตร
5.3 التربة
متوسط عمق التربة:
- ضحل جدًا (0-20 سم)
- ضحلة (21-50 سم)
- متوسطة العمق (51-80 سم)
- عميقة (81-120 سم)
- عميقة جدًا (> 120 سم)
قوام التربة (التربة السطحية):
- متوسط ( طميي، سلتي)
قوام التربة (> 20 سم تحت السطح):
- ناعم/ثقيل (طيني)
المواد العضوية في التربة السطحية:
- متوسطة (1-3%)
5.4 توافر المياه ونوعيتها
منسوب المياه الجوفية:
> 50 م
توافر المياه السطحية:
جيد
نوعية المياه (غير المعالجة):
للاستخدام الزراعي فقط (الري)
هل تعتبر ملوحة الماء مشكلة؟:
كلا
هل تحدث فيضانات في المنطقة؟:
كلا
تعليقات ومواصفات أخرى بشأن نوعية المياه وكميتها:
-
5.5 التنوع البيولوجي
تنوع الأنواع:
- متوسط
تنوع الموائل:
- متوسط
التعليقات والمواصفات الإضافية بشأن التنوع البيولوجي:
-
5.6 خصائص مستخدمي الأراضي الذين يطبقون التقنية
مستقر أو مرتحل:
- غير المترحل
التوجه السوقي لنظام الإنتاج:
- مختلط (كفاف/ تجاري)
الدخل من خارج المزرعة:
- أقل من % 10من كامل الدخل
المستوى النسبي للثروة:
- متوسط
أفراداً أو مجموعات:
- فرد/أسرة معيشية
مستوى المكننة:
- عمل يدوي
الجنس:
- رجال
عمر مستخدمي الأرضي:
- متوسط العمر
اذكر الخصائص الأخرى ذات الصلة لمستخدمي الأراضي:
-
5.7 متوسط مساحة الأرض التي يستخدمها مستخدمو الأراضي الذين يطبقون التقنية
- < 0.5 هكتارا
- 0.5 - 1 هكتار
- 1 -2 هكتار
- 2 - 5 هكتار
- 5 - 15 هكتار
- 15 - 50 هكتار
- 50 - 100هكتار
- 500-100 هكتار
- 1,000-500 هكتار
- 10,000-1,000 هكتار
- > 10,000 هكتار
هل يعتبر هذا نطاقًا صغيرًا أو متوسطًا أو واسعا (في إشارة إلى السياق المحلي)؟:
- على نطاق واسع
التعليقات:
-
5.8 ملكية الأراضي، وحقوق استخدام الأراضي، وحقوق استخدام المياه
ملكية الارض:
- فردية، يوجد سند ملكية
حقوق استخدام الأراضي:
- فردي
حقوق استخدام المياه:
- فردي
حدد:
-
التعليقات:
-
5.9 الوصول إلى الخدمات والبنية التحتية
الصحة:
- ضعيف
- معتدل
- جيد
التعليم:
- ضعيف
- معتدل
- جيد
المساعدة التقنية:
- ضعيف
- معتدل
- جيد
العمل (على سبيل المثال خارج المزرعة):
- ضعيف
- معتدل
- جيد
الأسواق:
- ضعيف
- معتدل
- جيد
الطاقة:
- ضعيف
- معتدل
- جيد
الطرق والنقل:
- ضعيف
- معتدل
- جيد
مياه الشرب وخدمات الصرف الصحي:
- ضعيف
- معتدل
- جيد
الخدمات المالية:
- ضعيف
- معتدل
- جيد
التعليقات:
-
6. الآثار والتصريحات الختامية
6.1 الآثار التي أظهرتها التقنية في الموقع
الآثار الاجتماعية والاقتصادية
الإنتاج
إنتاج المحاصيل
التعليقات/ حدد:
-
جودة المحاصيل
التعليقات/ حدد:
-
إنتاج حيواني
التعليقات/ حدد:
-
تنوع المنتج
التعليقات/ حدد:
-
إدارة الأراضي
التعليقات/ حدد:
-
توافر المياه ونوعيتها
نوعية مياه الشرب
التعليقات/ حدد:
-
الدخل والتكاليف
النفقات على المدخلات الزراعية
التعليقات/ حدد:
-
دخل المزرعة
التعليقات/ حدد:
-
تنوع مصادر الدخل
عبء العمل
التعليقات/ حدد:
-
الآثار الاجتماعية والثقافية
الأمن الغذائي / الاكتفاء الذاتي
التعليقات/ حدد:
-
الوضع الصحي
التعليقات/ حدد:
-
المؤسسات المجتمعية
التعليقات/ حدد:
-
المعرفة بالإدارة المستدامة للأراضي/تدهور الأراضي
التعليقات/ حدد:
-
الآثار الايكولوجية
التربة
رطوبة التربة
التعليقات/ حدد:
-
فقدان التربة
التعليقات/ حدد:
-
دورة المغذيات/إعادة الشحن
التعليقات/ حدد:
-
المادة العضوية في التربة/تحت الطبقة c
التعليقات/ حدد:
-
التنوع البيولوجي: الغطاء النباتي، الحيوانات
التنوع النباتي
التعليقات/ حدد:
-
الحد من مخاطر المناخ والكوارث
آثار الجفاف
التعليقات/ حدد:
-
انبعاث الكربون والغازات المسببة للاحتباس الحراري
التعليقات/ حدد:
-
خطر الحريق
التعليقات/ حدد:
-
سرعة الرياح
التعليقات/ حدد:
-
حدد تقييم الآثار في الموقع (القياسات):
-
6.2 الآثار التي أظهرتها التقنية خارج الموقع
تراكم الطمي باتجاه مصب النهر
التعليقات/ حدد:
-
تلوث المياه الجوفية/الأنهار
التعليقات/ حدد:
-
الأضرار التي لحقت بحقول الجيران
التعليقات/ حدد:
-
قيّم الآثار خارج الموقع (القياسات):
-
6.3 تعرض التقنية وحساسيتها لتغير المناخ التدريجي والظواهر المتطرفة/الكوارث المرتبطة بالمناخ (كما يراها مستخدمو الأراضي)
تغير مناخ تدريجي
تغير مناخ تدريجي
الموسم | زيادة أو نقصان | كيف تتعامل التقنية مع ذلك؟ | |
---|---|---|---|
درجة الحرارة السنوية | انخفاض | باعتدال | |
درجة الحرارة الموسمية | انخفاض | باعتدال | |
هطول الأمطار السنوي | باعتدال | ||
هطول الأمطار الموسمية | باعتدال |
الظواهر المتطرفة / الكوارث المرتبطة بالمناخ
الكوارث الجوية
كيف تتعامل التقنية مع ذلك؟ | |
---|---|
عاصفة ممطرة محلية | باعتدال |
الكوارث المناخية
كيف تتعامل التقنية مع ذلك؟ | |
---|---|
جفاف | جيدا |
حريق الغابة | باعتدال |
الكوارث البيولوجية
كيف تتعامل التقنية مع ذلك؟ | |
---|---|
أمراض وبائية | ليس جيدا |
العواقب الأخرى المتعلقة بالمناخ
العواقب الأخرى المتعلقة بالمناخ
كيف تتعامل التقنية مع ذلك؟ | |
---|---|
فترة نمو ممتدة | ليس جيدا |
انخفاض فترة النمو | جيدا |
التعليقات:
-
6.4 تحليل التكلفة والعائد
كيف يمكن مقارنة العوائد نسبة لتكاليف الإنشاء (من وجهة نظر مستخدمي الأراضي)؟
عوائد قصيرة الأجل:
سلبي قليلا
عوائد طويلة الأجل:
إيجابي
كيف تتم مقارنة العوائدمع كلفة الصيانة/التكاليف المتكررة (من وجهة نظر مستخدمي الأراضي)؟
عوائد قصيرة الأجل:
محايد/متوازن
عوائد طويلة الأجل:
إيجابي
التعليقات:
-
6.5 اعتماد التقنية
- 1-10%
إذا كان متاحًا، قم بتحديد الكمية (عدد الأسر المعيشية و/أو المساحةالمغطاة):
10 ครัวเรือน
من بين جميع الذين تبنوا التقنية، كم عدد الذين فعلوا ذلك بشكل تلقائي، أي دون تلقي أي حوافز مادية/مدفوعات؟:
- 10-0%
التعليقات:
-
6.6 التكيف
هل تم تعديل التقنية مؤخرًا لتتكيف مع الظروف المتغيرة؟:
نعم
أخرى (حدد):
ปรับเปลี่ยนเรื่องค่าใช้จ่ายต้องประหยัดมากขึ้น ต้องมีความละเอียดมากขึ้น (สังเกตมากขึ้น)
حدد تكيف التقنية(التصميم، المواد/الأنواع، الخ.):
ปรับลดการใช้พลังงานโดยการใช้โซล่าร์เซลล์ในการใช้น้ำบาดาล
6.7 نقاط القوة / المزايا / الفرص التي توفرها التقنية
نقاط القوة/ المزايا/ الفرص من وجهة نظر مستخدمي الأراضي |
---|
1.1 พื้นที่ที่ทำการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น |
1.2 สามารถลดต้นทุนการผลิตได้ |
1.3 ผลผลิตทางการเกษตรที่ได้มีความปลอดภัยไม่มีสารพิษตกค้าง |
2.1 ขายผลผลิตได้ราคาดีขึ้น |
2.2 ทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง |
2.3 เป็นพื้นที่ที่สามารถส่งผลผลิตสู่ตลาดอย่างง่าย เส้นทางคมนาคมสะดวก |
2.4 เกษตรกรได้รับความรู้และมีประสบการณ์ในการทำการเกษตรดีกว่าเกษตรกรรายอื่นๆ |
3.1 มีการร่วมมือของผู้ผลิตกับหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งภาครัฐที่เข้ามาร่วมสนับสนุน |
3.2 ได้รับตราสัญลักษณ์รับรองมาตรฐานสินค้าทำให้ผู้บริโภคเชื่อมั่นเป็นที่ต้องการของตลาด |
نقاط القوة/ المزايا/ الفرص من وجهة نظر جامع المعلومات أو غيره من الاشخاص الرئيسيين لمصدر المعلومات |
---|
1)ได้มีนโยบายของภาครัฐที่ช่วยสนันสนุนด้านการเกษตรอินทรีย์ |
2)ได้มีการร่วมมือของภาครัฐและผู้ผลิตทำให้สามารถแข่งขันได้มากขึ้น |
6.8 نقاط ضعف / مساوىء / مخاطر التقنية وسبل التغلب عليها
نقاط الضعف/ المساوىء/ المخاطر من وجهة نظر مستخدم الأراضي | كيف يمكن التغلب عليها؟ |
---|---|
1.1 ต้องใช้เวลาเพิ่มมากขึ้นในการทำการเกษตรแบบระบบอินทรีย์ | 1.1 หานวัตรกรรมและเทคโนโลยีต่างๆเข้ามาช่วย |
1.2 ต้องทำแนวกันชนแปลงตัวเองเพิ่มมากขึ้นเพื่อป้องกันสารพิษของแปลงเพื่อนบ้าน | 1.2 ต้องมีการออกกฏหมายคุ้มครองสำหรับการทำเกษตรอินทรีย์ |
2.1 ต้องเสียเวลานานและมีหลายขั้นตอนในการขอใบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ | 2.1 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปรับหลักเกณฑ์ทำให้เหมาะสม |
2.2 ต้องใช้เวลาและแรงงานพร้อมจัดหาวัสดุในการทำปุ๋ยอิทรีย์ใช้เอง | 2.2 หาวัสดุในพื้นที่นำมาใช้เพื่อลดต้นทุนการผลิต |
3.1 ผู้บริโภคยังสับสนไม่รู้ว่าเกษตรอินทรีย์คืออะไร | 3.1 ให้ความรู้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น |
3.2อุปสรรคเรื่องของราคา เนื่องจากมีต้นทุนสูง | 3.2 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยประชาสัมพันธ์และหาตลาดรองรับ |
نقاط الضعف/ المساوىء/ المخاطر من وجهة نظر جامع المعلومات أو غيره من الاشخاص الرئيسيين لمصدر المعلومات | كيف يمكن التغلب عليها؟ |
---|---|
1)เกษตรกรยังขาดการวางแผนในเรื่องของการใช้ที่ดินอย่างเป็นระบบ | 1.ให้ความรู้และข้อมูลต่างๆมากขึ้น |
2.เกษตรกรยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการปรับปรุงบำรุงดิน | 2.ให้หน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องให้ความรู้ที่ครอบคลุมรอบด้าน |
3)เกษตรกรยังขาดความเข้าใจในเรื่องของความต่อเนื่องของการผลิตและการตลาด | 3. ให้เรียนรู้ในเรื่องของการผลิตและการตลาดให้รู้ทันเหตุการณ์ |
4)การกำหนดราคายังเป็นปัญหาใหญ่เนื่องจากมีการผันผวนของราคราอยู่มาก | 4.ให้ภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยกำกับดูแลอย่างแท้จริง |
7. المراجع والروابط
7.1 طرق جمع/مصادر المعلومات
7.2 المراجع للمنشورات المتاحة
العنوان، المؤلف، السنة، النظام القياسي الدولي لترقيم الكتب ISBN:
-
متاح من أين؟كم التكلفة؟:
-
7.3 روابط للمعلومات ذات الصلة على الإنترنت
العنوان/الوصف:
-
7.4 تعليقات عامة
-
الروابط والوحدات المواضيعية
توسيع الكل طي الكلالروابط
กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ [تايلاند]
กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เป็นการรวมกลุ่มของเกษตรกรที่ดำเนินการทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยได้จัดให้มีศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย เพื่อเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ร่วมกัน
- جامع المعلومات: Kukiat SOITONG
الوحدات المواضيعية
لا يوجد وحدات مواضيعية