Technologies

Environmental Friendly Pig Farm /Zero Waste Pig Farm [Thaïlande]

หมูหลุมอินทรีย์ตามวิถึชุมชน

technologies_4252 - Thaïlande

État complet : 96%

1. Informations générales

1.2 Coordonnées des personnes-ressources et des institutions impliquées dans l'évaluation et la documentation de la Technologie

Personne(s)-ressource(s) clé(s)

exploitant des terres:

สิงห์โตศรี นายสุพจน์

กลุ่มหมูหลุมอินทรีย์ ตามวิถีชุมชนตำบลดอนแร่

Thaïlande

1.3 Conditions relatives à l'utilisation par WOCAT des données documentées

Le compilateur et la(les) personne(s) ressource(s) acceptent les conditions relatives à l'utilisation par WOCAT des données documentées:

Oui

1.4 Déclaration sur la durabilité de la Technologie décrite

Est-ce que la Technologie décrite ici pose problème par rapport à la dégradation des terres, de telle sorte qu'elle ne peut pas être déclarée comme étant une technologie de gestion durable des terres?

Non

Commentaires:

-

1.5 Référence au(x) Questionnaires sur les Approches de GDT (documentées au moyen de WOCAT)

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม (Zero Waste Pig Farm Technology Transfer Center)
approaches

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม (Zero Waste Pig Farm Technology Transfer Center) [Thaïlande]

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดความรู้เรื่องการเลี้ยงหมูหลุม จากเกษตรกรผู้ประสบความสำเร็จไปยังเกษตรกรและผู้สนใจ รวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุมให้เป็นเวทีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน

  • Compilateur : Kukiat SOITONG

2. Description de la Technologie de GDT

2.1 Courte description de la Technologie

Définition de la Technologie:

หมูหลุม เป็นการจัดการในการเลี้ยงสุกร ด้วยวิธีการจัดการคอกและการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสานกับการทำงานของจุลินทรีย์ที่ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์หมูที่ปลอดภัย และสามารถกักเก็บของเสียจากคอกเป็นปุ๋ยอินทรีย์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ตลอดจนไม่เกิดมลภาวะต่อชุมชน

2.2 Description détaillée de la Technologie

Description:

(1) เทคโนโลยีนำไปใช้ที่ไหน(สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของมนุษย์ )
โดยทั่วไปการเลี้ยงสุกร ในชุมชน มักจะก่อให้เกิดมลภาวะอันเนื่องมาจาก ของเสียจากการเลี้ยงสุกรได้แก่ มูลสุกร น้ำเสียจากการเลี้ยงและกลิ่น ทำให้เกิดมลภาวะและความขัดแย้งในการใช้ประโยชน์จากที่ดินของชุมชน การจัดการเลี้ยงหมู แบบ หมูหลุม เป็นเทคโนโลยีทางเลือกในการลดปัญหาอันเนื่องมาจากการเลี้ยงหมูแบบเดิม ที่ส่งผลกระทบชีวิตความเป็นอยู่ สภาวะสิ่งแวดล้อมของชุมชนที่นำไปสู่ความขัดแย้งในการใช้ประโยชน์จากที่ดินของชุมชน

(2) อะไรคือลักษณะหรือองค์ประกอบที่สำคัญของเทคโนโลยี
การเลี้ยงหมูหลุม มีลักษณะการจัดการเฉพาะประกอบด้วย2 ส่วน คือ การจัดการเลี้ยงหมูหลุมและการจัดการของเสียจากการเลี้ยงหมู
ก.การจัดการเลี้ยงหมูหลุม มีองค์ประกอบที่สำคัญ คือการจัดการโรงเรือนและวิธีการเลี้ยง
การจัดการโรงเรือน สร้างโรงเรือนบนพื้นที่ดอนที่ไม่มีน้ำท่วมขัง ใช้วัสดุที่หาได้ตามท้องถิ่น เช่น ไม้ไผ่ หญ้าคา เป็นต้น สร้างเป็นลักษณะเพิงหมาแหงนหรือหน้าจั่วโดยให้โรงเรือนมีการระบายอากาศที่ดี การทำคอกหมูหลุม ในการเลี้ยงหมูหลุม ให้ทำคอกบนพื้นดิน ไม่เทพื้นซีเมนต์ แต่จะขุดหลุมลึกประมาณ 60-70 เซนติเมตร แล้วรองก้นหลุมด้วยแกลบ ขี้เลื่อย หรือขุยมะพร้าว
วิธีการเลี้ยงหมูหลุม ประกอบด้วย. การจัดการเรื่อง อาหารได้แก่ อาหารข้นและอาหารหมัก วัตถุดิบต้องคัดเลือกว่ามาจากกระบวนการผลิตที่ไม่ใช้สารเคมี และมีการใช้สมุนไพรผงร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพ ผสมน้ำ ให้สัตว์กินเพื่อส่งเสริมสุขภาพสัตว์ เป็นการป้องกันและรักษาโรค
พันธุ์สุกรที่นำมาเลี้ยงในลักษณะหมูหลุม ได้แก่สายพันธุ์ที่นิยมนำมาเลี้ยงจะเป็นลูกผสมสามสายพันธ์ คือ ดูร็อคเจอร์ซี่ + แลนด์เลซ + ลาร์จไวท์ โดยให้อยู่ในช่วงหย่านม ( ประมาณ 1 เดือน )
ข.การจัดการของเสียจากการเลี้ยงหมู ให้ใช้แกลบรองก้นหลุม แบ่งเป็น 2 ชั้น ชั้นละประมาณ 30 เซนติเมตร ระหว่างชั้น ใส่ดินแล้ว หว่านเกลือ แล้วรดน้ำหมักชีวภาพให้ชุ่ม จากนั้นทุกสัปดาห์ให้รดน้ำหมักชีวภาพเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายสิ่งปฏิกูลต่างๆ หลังจากเลี้ยงหมู ในแต่ละรอบของการเลี้ยง จะได้ปุ๋ยหมักมูลหมูหลุมพร้อมใช้

(3)อะไรคือจุดประสงค์หรือหน้าที่ของเทคโนโลยี
1.เพื่อให้การเลี้ยงหมูไม่ก่อให้เกิดมลภาวะและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
2.เพื่อให้ได้ปุ๋ยหมักมูลหมูหลุมที่มีคุณภาพ เพื่อนำไปใช้ในการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์
3. เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์จากสุกรที่ปลอดภัยจากสารพิษไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค
(4)กิจกรรมที่สำคัญหรือปัจจัยการผลิตที่จำเป็นในการจัดตั้งหรือบำรุงรักษาสภาพเทคโนโลยี
ขั้นตอนการเลี้ยงหมูหลุม
1.สร้างโรงเรือน บนพื้นที่ดอนที่ไม่มีน้ำท่วมขัง ให้โรงเรือนมีการระบายอากาศที่ดี
2.สร้างคอกหมูหลุม ขนาดคอกกว้าง 4 x 4 เมตร สามารถเลี้ยงได้คอกละ8 ตัว
3. การเตรียมคอก
4.พันธุ์สุกร สายพันธ์ที่นิยมนำมาเลี้ยงจะเป็นลูกผสมสามสายพันธ์
5. อาหารหมูหลุม วัตถุดิบ ต้องคัดเลือกว่ามาจากกระบวนการผลิตที่ไม่ใช้สารเคมี
6. การป้องกันและรักษาโรค ใช้การฉีดพ่นน้ำหมักชีวภาพที่พื้นคอกและตัวหมูทุก 7 วันใช้น้ำหมักชีวภาพผสมน้ำให้หมูกิน เมื่อมีอาการป่วยก็รักษาตามอาการโดยการใช้ยาสมุนไพร
7. การดูแลรักษา
(5)ประโยชน์ที่ได้รับหรือผลกระทบของเทคโนโลยีคืออะไรบ้าง


1)มีวัสดุและวัตถุดิบในพื้นที่ทำให้ช่วยลดต้นทุนการผลิต
2)ได้ปุ๋ยที่เป็นประโยชน์สามารถนำไปเป็นธาตุอาหารให้กับพืชได้
3)ได้ผลิตภัณฑ์เนื้อหมูที่ปลอดภัย
4)ไม่เป็นมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม และไม่มีกลิ่นรบกวนชุมชน
5)เป็นอาชีพที่สามารถดำรงชีพได้อย่างยั่งยืน
(6)อะไรบ้างที่ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินชอบหรือไม่ชอบเกี่ยวกับเทคโนโลยี
อะไรบ้างที่ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินชอบ
1.สามารถเลี้ยงในชุมชนได้ เนื่องจากไม่มีปัญหาเรื่องกลิ่นเหม็นจากมูลสุกรและ แมลงวัน
2.ได้ปุ๋ยอินทรีย์ที่มีคุณภาพ ใข้ปรับปรุง บำรุงดิน ที่ปลูกพืชอาหารสัตว์ในพื้นที่ และจำหน่ายเป็นรายได้เสริม
3.ประหยัดแรงงานเนื่องจากไม่ต้องใช้แรงงานในการเก็บกวาดมูล สุกร ทำความสะอาด คอกและล้างตัวสุกรรวมทั้งยังทำให้ประหยัดน้ำที่ใช้ในการเลี้ยงด้วย
อะไรบ้างที่ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินหรือไม่ชอบ
1.กระบวนการและการเลี้ยงหมูหลุมใช้เวลามากกว่าปกติ
2.ผลิตภัณฑ์จากหมูหลุมยังไม่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย
3.ยังไม่มีการกำหนดมาตรฐานการเลี้ยงหมูหลุม จากภาครัฐ
4.การเลี้ยงหมูหลุม ต้องมีพื้นที่ปลูกพืชอาหารเพื่อเป็นวัตถุดิบอาหารให้หมูที่ปลอดภัย

2.3 Photos de la Technologie

Remarques générales concernant les photos:

-

2.4 Vidéos de la Technologie

Commentaire, brève description:

-

Lieu:

-

Nom du vidéaste:

-

2.5 Pays/ région/ lieux où la Technologie a été appliquée et qui sont couverts par cette évaluation

Pays:

Thaïlande

Région/ Etat/ Province:

ราชบุรี

Autres spécifications du lieu:

พื้นที่ตำบลดอนแร่ อ.เมือง จ.ราชบุรี

Commentaires:

นายสุพจน์ สิงห์โตศรี 95/1 ม.9 ต.ดอนแร่ อ.เมือง จ.ราชบุรี

2.6 Date de mise en œuvre de la Technologie

Indiquez l'année de mise en œuvre:

1969

Si l'année précise est inconnue, indiquez la date approximative: :
  • il y a plus de 50 ans (technologie traditionnelle)

2.7 Introduction de la Technologie

Spécifiez comment la Technologie a été introduite: :
  • dans le cadre d'un système traditionnel (> 50 ans)
  • การศึกษาดูงาน
Commentaires (type de projet, etc.) :

-

3. Classification de la Technologie de GDT

3.1 Principal(aux) objectif(s) de la Technologie

  • améliorer la production
  • réduire, prévenir, restaurer les terres dégradées
  • créer un impact économique positif
  • créer un impact social positif

3.2 Type(s) actuel(s) d'utilisation des terres, là où la Technologie est appliquée

Forêts/ bois

Forêts/ bois

  • Plantations d'arbres, boisements
Plantation d'arbres, afforestation: Précisez l'origine et la composition des espèces. :
  • Variétés mixtes
Commentaires:

-

3.3 Est-ce que l’utilisation des terres a changé en raison de la mise en œuvre de la Technologie ?

Commentaires:

-

3.4 Approvisionnement en eau

autre (par ex., post-inondation):
  • ใช้ในปศุสัตว์,สระน้ำ
Commentaires:

-

3.5 Groupe de GDT auquel appartient la Technologie

  • gestion intégrée de la fertilité des sols
  • gestion des déchets/ gestion des eaux usées

3.6 Mesures de GDT constituant la Technologie

modes de gestion

modes de gestion

  • M6: Gestion des déchets (recyclage, réutilisation ou réduction)
autres mesures

autres mesures

Précisez:

-

Commentaires:

การเลี้ยงหมูในคอกที่ทำให้ไม่มีของเสีย/ทำลายสิ่งแวดล้อม

3.7 Principaux types de dégradation des terres traités par la Technologie

dégradation hydrique

dégradation hydrique

  • Hp: baisse de la qualité des eaux de surface
Commentaires:

ถ้าทำปศุสัตว์แบบปกติจะทำให้เกิดมลภาวะต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม

3.8 Prévention, réduction de la dégradation ou réhabilitation des terres dégradées

Spécifiez l'objectif de la Technologie au regard de la dégradation des terres:
  • réduire la dégradation des terres
Commentaires:

นำปุ๋ยมูลหมูหลุมมาปรับปรุงบำรุงดิน

4. Spécifications techniques, activités, intrants et coûts de mise en œuvre

4.1 Dessin technique de la Technologie

Spécifications techniques (associées au dessin technique):

1.โรงเรือนหมูหลุม
สร้างโรงเรือนบนพื้นที่ดอนที่ไม่มีน้ำท่วมขัง ไม่เทพื้นซีเมนต์ ใช้วัสดุที่หาได้ตามท้องถิ่น เช่น ไม้ไผ่ หญ้าคา เป็นต้น สร้างเป็นลักษณะเพิงหมาแหงนหรือหน้าจั่ว โดยให้โรงเรือนมีการระบายอากาศที่ดี
2. การเตรียมคอก
การเลี้ยงแบบนี้จะเป็นพื้นอ่อนและโรงเรือนจะต้องสัมพันธ์กับจำนวนหมู โดยใช้มีขนาดคอกกว้าง 4 x 4 เมตร สามารถเลี้ยงได้คอกละ8 ตัว ส่วนแม่หมูจะใช้คอกเล็กกว่าหมูขุน จะใช้คอกขนาด 2x3 เมตร เริ่มด้วยการขุดพื้นคอกลึกลงไป 60 เซนติเมตร (หรือก่ออิฐขึ้นมาก็ได้) ในการมุงหลังคานั้นควรให้ตีนชายคากว้างกันไม่ให้น้ำฝนสาดเข้ามาในคอก และเมื่อตีฝาคอกแล้วต้องใช้อิฐบล็อกหรือไม้ไผ่กั้นรอบๆ คอกลึกลงไปจากพื้นดินประมาณ 40-50 เซนติเมตร เพื่อกันไม่ใช่หมูขุดนอกคอกได้ (การกั้นฝาคอกควรติดตั้งประตูปิด-เปิดได้ไว้ เพื่อความสะดวกในการนำหมูเข้า-ออก)
3.การเตรียมวัสดุพื้นคอก
ปูพื้นคอกโดยใช้แกลบหนา 60 เซ็นติเมตร แล้วใช้แกลือเม็ด ครึ่งลิตรโรยหน้าแล้วใช้น้ำหมักชีวภาพ ผสมน้ำ 20 ลิตร ราดให้ทั่ว ช่วงนี้วัสดุพื้นคอกจะยังร้อนจากการทำงานของจุลินทรีย์ ทิ้งไว้ประมาณ 7 วัน จึงนำหมูเข้าอยู่ได้ และควรราดน้ำหมักชีวภาพลงบนพื้นคอกเพิ่มเติมทุกๆ 5 – 7 วัน ครั้งละ 10ลิตร ภายหลังจากเริ่มเลี้ยงหมูแล้วเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายสิ่งปฏิกูลต่างๆ
แกลบจะทำหน้าที่ดูดซับความชื้นของเสียต่างๆ ลดการเกิดแก๊สจากการสะสมของเสีย พื้นแกลบนุ่มเดินสบายเท้าทำให้ไม่มีปัญหาเล็บเท้าฉีกขาด หมูชอบขุดคุ้ยดินที่เย็นสบาย นอกจากนั้นไม่ต้องใช้แรงงานและน้ำจำนวนมากในการทำความสะอาดโรงเรือน แกลบที่ใช้รองพื้นเมื่อหมูอายุครบกำหนด ยังได้ขายเป็นปุ๋ยคอกอีกด้วย สภาพแวดล้อมโดยรอบแห้งสะอาด ไม่มีสิ่งปฏิกูลให้เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค
4.พันธุ์สุกร
พันธุ์สุกรที่นำมาเลี้ยงในลักษณะหมูหลุม ได้แก่สายพันธุ์ที่นิยมนำมาเลี้ยงจะเป็นลูกผสมสามสายพันธ์ คือ ดูร็อคเจอร์ซี่ + แลนด์เลซ + ลาร์จไวท์ โดยให้อยู่ในช่วงหย่านม ( ประมาณ 1 เดือน )
5.อาหารหมูหลุม อาหารข้นและอาหารหมัก ผสมในอัตราส่วน อาหารข้น 50% และอาหารหมัก 50% เพื่อลดต้นทุนค่าอาหาร นอกจากนี้ยังมีการเสริมหญ้าสดให้กินทุกวันด้วย โดยให้กินประมาณครึ่งกิโลกรัม ต่อตัว สำหรับอาหารหมัก จะใช้พืชจากธรรมชาติมาหมัก คือ หยวกกล้วย 100 กิโลกรัม น้ำตาลทรายแดง 4 กิโลกรัม เกลือ 1 กิโลกรัม หมักทิ้งไว้ประมาณ 4-5 วัน วัตถุดิบที่นำมาผสมเป็นอาหาร ต้องคัดเลือกว่ามาจากกระบวนการผลิตที่ไม่ใช้สารเคมี
การผลิตอาหารหมักชีวภาพในการเลี้ยงหมูหลุม น้ำหมักชีวภาพเป็นเทคโนโลยีชีวภาพท้องถิ่นที่ชาวบ้านสามารถทำเองได้โดยการนำเอาพืชผักผลไม้ซากสัตว์ไปหมัก โดยจุลินทรีย์ที่มีในบรรยากาศและกากน้ำตาลเป็นอาหารของจุลินทรีย์หรือการใช้หัวเชื้อที่คัดเลือก การใช้สารสกัดจากสมุนไพร และสารสกัดจากพืช โดยกระบวนการการหมักบ่มด้วยจุลินทรีย์ที่มีลักษณะจำเพาะ ด้วยระยะเวลาและวิธีการหมักบ่มที่เหมาะสมจะได้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นประโยชน์กับสัตว์การใช้สมุนไพรผงและการใช้น้ำหมักชีวภาพ ผสมน้ำ ให้สัตว์กิน เป็นการส่งเสริมสุขภาพให้กับสัตว์ สามารถป้องกันและรักษาโรค นอกจากนี้ยังมีการใช้สมุนไพร ในการฆ่าเชื้อและต้านทานเชื้อก่อโรค
6.การให้อาหารและน้ำ
1.หมูเล็ก น้ำหนัก 15-30 กก.ใช้ อาหารข้น:อาหารหมัก=2:1
2.หมูรุ่น น้ำหนัก 30-60 กก.ใช้ อาหารข้น:อาหารหมัก=1:1
3.หมูใหญ่ น้ำหนัก 60-ส่งตลาดใช้ อาหารข้น:อาหารหมัก=1:2
4.แม่พันธุ์ พ่อพันธุ์ ใช้ อาหารข้น:อาหารหมัก=1:2
ส่วนการให้น้ำ ให้ตามปกติ และควรมีถ้วยรองน้ำเพื่อไม่ให้แฉอะแฉะ
7. การให้ยาและการป้องกันโรค
1. ในการเสริมสร้างความแข็งแรงให้กับหมู ใช้น้ำหมักชีวภาพผสมน้ำให้หมูกิน แต่หากอาหารหรือน้ำไม่สะอาดพอ หมูอาจมีอาการท้องเสีย หรือขี้เหลวได้ (ซึ่งปกติไม่ค่อยเกิดบ่อยนัก) ต้องรักษาโดยนำใบฝรั่งสด ใบฟ้าทะลายโจรสด และเถาบอระเพ็ดเอาให้หมูกิน
2. ใช้ตาข่าย สำหรับกันยุงในเวลากลางคืน แต่หากเป็นพื้นที่ที่มีตัวริ้นชุกชุม ควรนำเอาตะไคร้หอมมาทุบแช่น้ำ แล้วฉีดพ่นให้หมูในช่วงหัวค่ำ
8. การดูแลหมูหลุม
1. ฉีดพ่นน้ำหมักชีวภาพที่พื้นคอกและตัวหมูทุก 7 วัน
2 .ทำความสะอาดบริเวณโรงเรือนทุกๆเดือน เติมขี้เถ้าแกลบ 1-2 กระสอบเดือนละครั้งต่อคอก
3. ตรวจสอบน้ำดื่มหมู เปลี่ยนที่เหลือสาดเข้าไปในคอกให้หญ้าสด,ผักสด ปริมาณ 1 ใน 3 ของอาหาร

Auteur:

-

4.2 Informations générales sur le calcul des intrants et des coûts

Spécifiez la manière dont les coûts et les intrants ont été calculés:
  • par superficie de la Technologie
Indiquez la taille et l'unité de surface:

27ไร่

Si vous utilisez une unité de superficie locale, indiquez le facteur de conversion vers un hectare (p.ex. 1 ha = 2.47 acres): 1 ha = :

-

Indiquez le taux de change des USD en devise locale, le cas échéant (p.ex. 1 USD = 79.9 réal brésilien): 1 USD = :

32,0

Indiquez le coût salarial moyen de la main d'œuvre par jour:

300บาทต่อวัน

4.3 Activités de mise en place/ d'établissement

Activité Calendrier des activités (saisonnier)
1. การจัดการเลี้ยงหมูหลุม 2 ครั้งต่อปี
2. การจัดการมูลจากหมูหลุม 2 ครั้งต่อปี

4.4 Coûts et intrants nécessaires à la mise en place

Spécifiez les intrants Unité Quantité Coûts par unité Coût total par intrant % du coût supporté par les exploitants des terres
Main d'œuvre 1.การจัดการเลี้ยงหมูหลุม แรง 210,0 300,0 63000,0 100,0
Main d'œuvre 2.การจัดการอาหารหมูหลุม แรง 60,0 300,0 18000,0 100,0
Main d'œuvre 3.การจัดการมูลหมูหลุม แรง 300,0 300,0 90000,0 100,0
Main d'œuvre 4.การสร้างโรงเรือน แรง 120,0 300,0 36000,0 100,0
Matériaux de construction 1.ค่าวัสดุการสร้างโรงเรือน โรง 1,0 84000,0 84000,0 100,0
Autre 1.ค่าอาหารการเลี้ยงหมูหลุม ตัว 90,0 3800,0 342000,0 100,0
Autre 2.ค่าพันธุ์ลูกสุกร ตัว 90,0 1500,0 135000,0 100,0
Coût total de mise en place de la Technologie 768000,0
Coût total de mise en place de la Technologie en dollars américains (USD) 24000,0
Si le coût n'est pas pris en charge à 100% par l'exploitant des terres, indiquez qui a financé le coût restant:

-

Commentaires:

-

4.5 Activités d'entretien/ récurrentes

Activité Calendrier/ fréquence
1. 1. การจัดการเลี้ยงหมูหลุม 2 ครั้งต่อปี
2. 2. การจัดการอาหารหมูหลุม 2 ครั้งต่อปี
3. 3. การจัดการมูลหมูหลุม 2 ครั้งต่อปี
Commentaires:

-

4.6 Coûts et intrants nécessaires aux activités d'entretien/ récurrentes (par an)

Spécifiez les intrants Unité Quantité Coûts par unité Coût total par intrant % du coût supporté par les exploitants des terres
Main d'œuvre การจัดการเลี้ยงหมูหลุม แรง 210,0 300,0 63000,0 100,0
Main d'œuvre การจัดกาอาหารรหมูหลุม แรง 60,0 300,0 18000,0 100,0
Main d'œuvre การจัดการมูลหมูหลุม แรง 300,0 300,0 90000,0 100,0
Coût total d'entretien de la Technologie 171000,0
Coût total d'entretien de la Technologie en dollars américains (USD) 5343,75
Si le coût n'est pas pris en charge à 100% par l'exploitant des terres, indiquez qui a financé le coût restant:

-

Commentaires:

-

4.7 Facteurs les plus importants affectant les coûts

Décrivez les facteurs les plus importants affectant les coûts :

ค่าแรง

5. Environnement naturel et humain

5.1 Climat

Précipitations annuelles
  • < 250 mm
  • 251-500 mm
  • 501-750 mm
  • 751-1000 mm
  • 1001-1500 mm
  • 1501-2000 mm
  • 2001-3000 mm
  • 3001-4000 mm
  • > 4000 mm
Spécifiez la pluviométrie moyenne annuelle (si connue), en mm:

1210,00

Spécifications/ commentaires sur les précipitations:

อยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมทีพัดเวียนประจําฤดูกาล 2 ชนิด คือพัดจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือในฤดูหนาวเรียกว่าลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ อิทธิพลของลมนี้ทําให้ บริเวณจังหวัดราชบุรีมีอากาศหนาวเย็นและแห้งแล้ง กับมรสุมอีกชนิดหนึงคือมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึง พัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ในฤดูฝน ทําให้อากาศชุ่มชืนและมีฝนตกทัวไป

Indiquez le nom de la station météorologique de référence considérée:

-

Zone agro-climatique
  • humide

-

5.2 Topographie

Pentes moyennes:
  • plat (0-2 %)
  • faible (3-5%)
  • modéré (6-10%)
  • onduleux (11-15%)
  • vallonné (16-30%)
  • raide (31-60%)
  • très raide (>60%)
Reliefs:
  • plateaux/ plaines
  • crêtes
  • flancs/ pentes de montagne
  • flancs/ pentes de colline
  • piémonts/ glacis (bas de pente)
  • fonds de vallée/bas-fonds
Zones altitudinales:
  • 0-100 m
  • 101-500 m
  • 501-1000 m
  • 1001-1500 m
  • 1501-2000 m
  • 2001-2500 m
  • 2501-3000 m
  • 3001-4000 m
  • > 4000 m
Indiquez si la Technologie est spécifiquement appliquée dans des:
  • situations concaves
Commentaires et précisions supplémentaires sur la topographie:

ราชบุรีเป็นจังหวัดทีมีเทือกเขาใหญ่น้อยเป็ นอันมาก โดยเฉพาะทางด้านตะวันตก ของจังหวัดมีเทือกเขาตะนาวศรี เป็ นแนวยาวกันเขตแดนไทยกับพม่า ทางตอนกลางของจังหวัดมีทีราบลุ่ม แม่นํ าแม่กลอง ซึงเหมาะแก่การเพาะปลูก และทางด้านตะวันออกเฉียงใต้เป็ นทีราบตํา ซึงได้รับอิทธิพลจาก การหนุนเนืองของนําทะเล

5.3 Sols

Profondeur moyenne du sol:
  • très superficiel (0-20 cm)
  • superficiel (21-50 cm)
  • modérément profond (51-80 cm)
  • profond (81-120 cm)
  • très profond (>120 cm)
Texture du sol (de la couche arable):
  • moyen (limoneux)
Texture du sol (> 20 cm sous la surface):
  • moyen (limoneux)
Matière organique de la couche arable:
  • moyen (1-3%)
Si disponible, joignez une description complète du sol ou précisez les informations disponibles, par ex., type de sol, pH/ acidité du sol, capacité d'échange cationique, azote, salinité, etc.

-

5.4 Disponibilité et qualité de l'eau

Profondeur estimée de l’eau dans le sol:

> 50 m

Disponibilité de l’eau de surface:

bonne

Qualité de l’eau (non traitée):

uniquement pour usage agricole (irrigation)

La salinité de l'eau est-elle un problème? :

Non

La zone est-elle inondée?

Non

Commentaires et précisions supplémentaires sur la qualité et la quantité d'eau:

-

5.5 Biodiversité

Diversité des espèces:
  • moyenne
Diversité des habitats:
  • moyenne
Commentaires et précisions supplémentaires sur la biodiversité:

-

5.6 Caractéristiques des exploitants des terres appliquant la Technologie

Sédentaire ou nomade:
  • Sédentaire
Orientation du système de production:
  • commercial/ de marché
Revenus hors exploitation:
  • moins de 10% de tous les revenus
Niveau relatif de richesse:
  • riche
Individus ou groupes:
  • individu/ ménage
  • groupe/ communauté
Niveau de mécanisation:
  • travail manuel
  • mécanisé/ motorisé
Genre:
  • hommes
Age des exploitants des terres:
  • personnes d'âge moyen
Indiquez toute autre caractéristique pertinente des exploitants des terres:

-

5.7 Superficie moyenne des terres utilisées par les exploitants des terres appliquant la Technologie

  • < 0,5 ha
  • 0,5-1 ha
  • 1-2 ha
  • 2-5 ha
  • 5-15 ha
  • 15-50 ha
  • 50-100 ha
  • 100-500 ha
  • 500-1 000 ha
  • 1 000-10 000 ha
  • > 10 000 ha
Cette superficie est-elle considérée comme de petite, moyenne ou grande dimension (en se référant au contexte local)?
  • moyenne dimension
Commentaires:

-

5.8 Propriété foncière, droits d’utilisation des terres et de l'eau

Propriété foncière:
  • individu, avec titre de propriété
Droits d’utilisation des terres:
  • individuel
Droits d’utilisation de l’eau:
  • individuel
Précisez:

-

Commentaires:

-

5.9 Accès aux services et aux infrastructures

santé:
  • pauvre
  • modéré
  • bonne
éducation:
  • pauvre
  • modéré
  • bonne
assistance technique:
  • pauvre
  • modéré
  • bonne
emploi (par ex. hors exploitation):
  • pauvre
  • modéré
  • bonne
marchés:
  • pauvre
  • modéré
  • bonne
énergie:
  • pauvre
  • modéré
  • bonne
routes et transports:
  • pauvre
  • modéré
  • bonne
eau potable et assainissement:
  • pauvre
  • modéré
  • bonne
services financiers:
  • pauvre
  • modéré
  • bonne
Commentaires:

-

6. Impacts et conclusions

6.1 Impacts sur site que la Technologie a montrés

Impacts socio-économiques

Production

qualité des cultures

en baisse
en augmentation
Commentaires/ spécifiez:

ดีขึ้นเนื่องจกกมีการใช่ปุ๋ยหมักจากมูลหมูหลุมที่มีคุณภาพ

production animale

en baisse
en augmentation
Quantité après la GDT:

10%

Commentaires/ spécifiez:

ลดการตายของประชากรหมูหลุม

risque d'échec de la production

en augmentation
en baisse
Commentaires/ spécifiez:

มีตลาดหลากหลาย

diversité des produits

en baisse
en augmentation
Commentaires/ spécifiez:

มีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย

gestion des terres

entravé
simplifié
Commentaires/ spécifiez:

แบ่งพื้นที่จัดการได้เหมาะสม

Disponibilité et qualité de l'eau

disponibilité de l'eau pour l'élevage

en baisse
en augmentation

qualité de l'eau pour l'élevage

en baisse
en augmentation
Revenus et coûts

revenus agricoles

en baisse
en augmentation

diversité des sources de revenus

en baisse
en augmentation

charge de travail

en augmentation
en baisse
Commentaires/ spécifiez:

เอาใจใส่ในการผลิตมากขึ้น

Impacts socioculturels

sécurité alimentaire/ autosuffisance

réduit
amélioré
Commentaires/ spécifiez:

สามารผลิตได้อย่างยั่งยืน

situation sanitaire

détérioré
amélioré
Commentaires/ spécifiez:

สุขภาพแข็งแรง

droits d'utilisation des terres/ de l'eau

détérioré
amélioré
Commentaires/ spécifiez:

มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มที่

apaisement des conflits

détérioré
amélioré
Commentaires/ spécifiez:

ทำให้ไม่มีกลิ่นเหม็นรบกวน

Impacts écologiques

Sols

cycle/ recharge des éléments nutritifs

en baisse
en augmentation
Commentaires/ spécifiez:

มีการนำมูลสุกรไปใช้ในพื้นที่

salinité

en augmentation
en baisse
Commentaires/ spécifiez:

ปรับปรุงดินด้วยมูลหมูหลุม

acidité

en augmentation
réduit
Commentaires/ spécifiez:

มีการใช้มูลหมูหลุมปรับปรุงดิน

Autres impacts écologiques

ลดกลิ่นเหม็นในชุมชน

Commentaires/ spécifiez:

ลดกลิ่นจากการเลี้ยงหมูหลุม

ไม่มีของเสียจากการเลี้ยงสัตว์

6.2 Impacts hors site que la Technologie a montrés

Précisez l'évaluation des impacts extérieurs (sous forme de mesures):

-

6.3 Exposition et sensibilité de la Technologie aux changements progressifs et aux évènements extrêmes/catastrophes liés au climat (telles que perçues par les exploitants des terres)

Changements climatiques progressifs

Changements climatiques progressifs
Saison Augmentation ou diminution Comment la Technologie fait-elle face à cela?
températures annuelles augmente pas bien
températures saisonnières augmente pas bien

Extrêmes climatiques (catastrophes)

Catastrophes biologiques
Comment la Technologie fait-elle face à cela?
maladies épidémiques pas bien du tout
Commentaires:

ระบุสัตว์ตายมากขึ้น

6.4 Analyse coûts-bénéfices

Quels sont les bénéfices comparativement aux coûts de mise en place (du point de vue des exploitants des terres)?
Rentabilité à court terme:

positive

Rentabilité à long terme:

très positive

Quels sont les bénéfices comparativement aux coûts d'entretien récurrents (du point de vue des exploitants des terres)?
Rentabilité à court terme:

positive

Rentabilité à long terme:

très positive

Commentaires:

-

6.5 Adoption de la Technologie

  • 1-10%
Si disponible, quantifiez (nombre de ménages et/ou superficie couverte):

จำนวนสมาชิกในกลุ่ม 15 ครัวเรือน

De tous ceux qui ont adopté la Technologie, combien d'entre eux l'ont fait spontanément, à savoir sans recevoir aucune incitation matérielle, ou aucune rémunération? :
  • 0-10%
Commentaires:

-

6.6 Adaptation

La Technologie a-t-elle été récemment modifiée pour s'adapter à l'évolution des conditions?

Oui

Si oui, indiquez à quel changement la Technologie s'est adaptée:
  • évolution des marchés
Spécifiez l'adaptation de la Technologie (conception, matériaux/ espèces, etc.):

-คัดเลือกพันธุ์หมูหลุมให้เหมาะสม
-ลดหรือกำจัดกลิ่นเหม็นในการเลี้ยงหมูหลุม

6.7 Points forts/ avantages/ possibilités de la Technologie

Points forts/ avantages/ possibilités du point de vue de l'exploitant des terres
1)มีวัสดุแลวัตถุดิบในพื้นที่ทำให้ช่วยลดต้นทุนการผลิต
2)ได้ปุ๋ยที่เป็นประโยชน์สามารถนำไปเป็นธาตุอาหารให้กับพืชได้
3)ได้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย
4)ไม่เป็นมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม ไม่มีกลิ่นรบกวนชุมชน
5)สามารถเลี้ยงหมูหลุมในพื้นที่ชุมชนได้
6)เป็นอาชีพที่สามารถดำรงชีพได้อย่างยั่งยืน
Points forts/ avantages/ possibilités du point de vue du compilateur ou d'une autre personne ressource clé
1)มีพื้นที่ที่เหมาะสมกับการใช้เทคโนโลยี
2)ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินมีความรู้ความสามารถเป็นอย่างดี
3)มีการปรับให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในชุมชน
4)เป็นบุคคลที่น่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับในสังคมและชุมชน

6.8 Faiblesses/ inconvénients/ risques de la Technologie et moyens de les surmonter

Faiblesses/ inconvénients/ risques du point de vue de l’exploitant des terres Comment peuvent-ils être surmontés?
1.กระบวนการและการเลี้ยงหมูหลุมใช้เวลามากกว่าปกติ 1ควรวิจัยหาเทคนิคและวิธีการตลอดจนเทคโนโลยีเข้ามาช่วย
2) ผลิตภัณฑ์จากหมูหลุมยังไม่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย 2เสนอให้ทั้งภาครัฐและผู้ที่เกี่ยวข้องเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น
3)ยังไม่มีการกำนดมาตรฐานการเลี้ยงหมูหลุม จากภาครัฐ 3.ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรพิจารณากำหนดให้มีมาตรฐาน การเลี้ยงหมูหลุมเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ
4)การเลี้ยงหมูหลุม ต้องมีพื้นที่ปลูกพืชอาหารเพื่อเป็นวัตถุดิบอาหารให้หมูที่ปลอดภัย 4ให้พิจารณาดำเนินการแบบกล่มและ/หรือชุมชนมีส่วนร่วม
Faiblesses/ inconvénients/ risques du point de vue du compilateur ou d'une autre personne ressource clé Comment peuvent-ils être surmontés?
-

7. Références et liens

7.1 Méthodes/ sources d'information

7.2 Références des publications disponibles

Titre, auteur, année, ISBN:

-

Disponible à partir d'où? Coût?

-

7.3 Liens vers les informations pertinentes en ligne

Titre/ description:

-

URL:

-

7.4 Observations d'ordre général

-

Modules