ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม (Zero Waste Pig Farm Technology Transfer Center)
(ໄທ)
-
ຄຳອະທິບາຍ
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดความรู้เรื่องการเลี้ยงหมูหลุม จากเกษตรกรผู้ประสบความสำเร็จไปยังเกษตรกรและผู้สนใจ รวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุมให้เป็นเวทีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
แนวทางของ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นกลุ่มที่จัดตั้งขึ้นเพื่อรวมกลุ่มเกษตรกรที่ประกอบอาชีพการเลี้ยงสุกรแบบหลุม โดยเน้นการใช้จุลินทรีย์ มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ในการผลิตสุกรแบบหลุม ให้กับเกษตรกรที่มีความสนใจ และสร้างเครือข่าย เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมและเพิ่มขีดความสามารถในการจัดการด้านการตลาด
2. อะไรคือเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของแนวทาง
วัตถุประสงค์ของ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม
-1 เพื่อให้เกษตรกรและผู้สนใจการเลี้ยงหมูหลุม มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเลี้ยงหมูหลุม
-2 เพื่อสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุม ให้มีการช่วยเหลือ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
-3. เพื่อให้สมาชิกเกษตรกรภายในกลุ่ม มีโอกาสแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
3. วิธีการใดที่ถูกเอามาใช้
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม มีวิธีการดำเนินงานดังนี้
- ศึกษาดูงาน
- อมรมให้ความรู้ องค์ประกอบอยู่ 4 เรื่อง คือ พันธุ์ อาหาร การจัดการ ตลาด
- จัดตั้งเป็นกลุ่มเกษตรผู้เลี้ยงหมูหลุม เพื่อจะได้มีผลผลิตที่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด และมีอำนาจต่อรองได้มาขี้น และทำให้มีโอกาสเข้าถึงทุนได้ง่ายขึ้น
- สร้างเครือข่ายหมูหลุมในจังหวัด และเชื่อมโยงเครือข่ายทั้งประเทศ เพื่อเพิ่มความเข้มแข็งในกลุ่มอาชีพ
4. ขั้นตอนของการเอาไปปฏิบัติใช้มีอันไหนบ้าง
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม มีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
1.ศึกษา ดูงาน และเข้ารับอบรม จากสถานที่ต่างๆ
2.รวมกลุ่มเกษตรกร ผู้สนใจในชุมชนที่เคยเลี้ยงหมูแบบเดิม มาตั้งกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเลี้ยงหมูแบบหลุม
3.จัดตั้ง ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม
4. จัดให้มีกระบวนการถ่ายทอดความรู้ จากการปฏิบัติจริง
5. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยใช้สื่อต่างๆ ได้แก่ แผ่นพับ วิดีโอ youtube การให้สัมภาษณ์ผ่านสื่อโทรทัศน์ และวิทยุ
6. สร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุม ในระดับ ชุมชน และนอกชุมชน โดยจัดให้มีการอบรมการเลี้ยงหมูหลุมทุกเสาร์ที่ 3 ของเดือน
7. มีการส่งเสริมและสนับสนุน จากหน่วยงานรัฐ ได้แก่ กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
ที่เกี่ยวข้องและบทบาทของบุคคลเหล่านั้นมีอะไรบ้าง
ในการดำเนินงานศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม มีผู้เกี่ยวข้องดังนี้
1 เกษตรกรและผู้นำเกษตรกร มีบทบาท ร่วมเรียนรู้ ปฏิบัติ แลกเปลี่ยนความรู้ สนับสนุน
2. หน่วยงานของรัฐ มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณและปัจจัยการผลิต และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
3. หน่วยงานเอกชน มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
4.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทควบคุม กำกับ ดูแล พื้นที่
5. โรงเรียน มหาวิทยาลัย
(6) สิ่งที่ผู้ใช้ที่ดินชอบหรือไม่ชอบเกี่ยวกับแนวทาง
Impact:
1.กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมเป็นที่ยอมรับในชุมชนเนื่องจากไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมและลดมลภาวะด้านกลิ่นในระบบการจัดการ
2.ทำให้เกิดมีผู้สนใจผลิตภัณฑ์หมูหลุมมากขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย
3. สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ ได้สะดวกและรวดเร็
4. การรวมกลุ่มทำให้สมาชิกในกลุ่มมีความเข้มแข็งและมีการประสานงานและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้และให้ความช่วยเหลือกัน ตลอดจนให้ความสำคัญในกิจกรรมกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ
5. มีหน่วยงานภาครัฐให้ความสนใจและเข้ามาช่วยเหลือในเรื่องหลักวิชาการเพื่อให้สามารถผลิตได้เป็นไปตามมาตรฐาน โดยปศุสัตว์จังหวัด
6. ทำให้มีผู้สนใจมาศึกษาหาความรู้ตลอดจนมาฝึกงานจากกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมจำนวนมากทำให้คนรู้จักมากขึ้นส่งผลทำให้มีตลาดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้น
Opportunity:
1.การส่งเสริมการเลี้ยงหมูหลุม หากมีการเลี้ยงจำนวนมากขึ้น จะทำให้ขาดแคลนพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุมในท้องถิ่น ดังนั้น ควรมีการส่งเสริมให้มีการปลูกพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุม ให้มากขึ้น หรือ ให้ศึกษาสูตรของอาหารให้สอดคล้องกับวัตถุดิบที่มี
2. ราคาจำหน่ายผลิตภัณฑ์หมูหลุม ยังไม่แตกต่างจากราคาผลิตภัณฑ์หมูทั่วไป ดังนั้นควรมีการพิจารณามาตรฐานหมูหลุม เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีกว่าให้มีราคาสูงขึ้น
ສະຖານທີ່
ສະຖານທີ່: ต.ดอนแร่....อ.เมือง...จ.ราชบุรี, ราชบุรี, ໄທ
ການຄັດເລືອກພື້ນທີ່ ທີ່ອີງໃສ່ຂໍ້ມູນທາງພູມີສາດ
ວັນທີເລີ່ມຕົ້ນ: 2006
ປີຂອງການສິ້ນສຸດ: n.a.
ປະເພດຂອງແນວທາງ
-
ພື້ນເມືອງ / ທ້ອງຖີ່ນ
-
ການລິເລີ່ມ ພາຍໃນປະເທດ ທີ່ຜ່ານມາ / ນະວັດຕະກໍາ
-
ພາຍໃຕ້ໂຄງການ / ແຜນງານ
- (-)
- (-)
ເປົ້າໝາຍຂອງແນວທາງ ແລະ ການປົກປັກຮັກສາສິ່ງແວດລ້ອມ
ເປົ້າໝາຍ / ຈຸດປະສົງຫຼັກໃນການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດແນວທາງ
วัตถุประสงค์ของ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม
-1 เพื่อให้เกษตรกรและผู้สนใจการเลี้ยงหมูหลุม มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเลี้ยงหมูหลุม
-2 เพื่อสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุม ให้มีการช่วยเหลือ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
-3. เพื่อให้สมาชิกเกษตรกรภายในกลุ่ม มีโอกาสแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
ເງື່ອນໄຂທີ່ສະໜັບສະໜູນໃຫ້ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດເຕັກໂນໂລຢີ ບົນພື້ນຖານແນວທາງ
-
ມີຄວາມສາມາດ / ເຂັ້າເຖິງຊັບພະຍາກອນດ້ານການເງິນ ແລະ ການບໍລິການ: มีการเลี้ยงหมูหลุมที่ยั่งยืนทำให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ง่าย
-
ການກໍ່ຕັ້ງສະຖາບັນ: มีหน่วยงานร่วมบูรณาการ ปศุสัตว์จังหวัด ธกส. พลังงาน พอช. และเกษตรอำเภอ
-
ການຮ່ວມມື / ການປະສານງານຂອງຜູ້ກ່ຽວຂ້ອງ: หน่วยงานต่างๆร่วมบูรณาการในพื้นที่
-
ກ່ຽວກັບກົດໝາຍ (ສິດນໍາໃຊ້ດິນ, ສິດນໍາໃຊ້ນໍ້າ): สามารถใช้ที่ดินในการในการทำฟาร์มเลี้ยงหมูหลุมได้
-
ນະໂຍບາຍ: หน่วยงานทั้งภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัดเข้ามาช่วยให้สามารถดำเนินให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
-
ຄວາມຮູ້ກ່ຽວກັບການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ, ການເຂົ້າເຖິງການສະໜັບສະໜູນ ທາງດ້ານວິຊາການ: เกษตรกรสามารถติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้สะดวก
ເງື່ອນໄຂທີ່ເຊື່ອງຊ້ອນໃຫ້ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດເຕັກໂນໂລຢີ ບົນພື້ນຖານແນວທາງ
-
ຕະຫຼາດ (ໃນການຊື້ວັດຖຸດິບ, ຂາຍຜະລິດຕະພັນ) ແລະ ລາຄາ: เนื่องจากตลาดยังไม่แพร่หลายและราคายังต่ำกว่าหมูฟาร์ม
-
ວຽກ, ມີກໍາລັງຄົນ: .หาแรงงานที่มีความรู้ความชำนาญในการเลี้ยงหรือการจัดการค่อนข้างยาก
ການມີສ່ວນຮ່ວມ ແລະ ບົດບາດຂອງພາກສ່ວນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງທີ່ມີສ່ວນຮ່ວມ
ພາລະບົດບາດຂອງພາກສ່ວນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງ ທີ່ມີສ່ວນຮ່ວມໃນການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດແນວທາງ
ແມ່ນໃຜ / ພາກສ່ວນໃດ ທີ່ເປັນເຈົ້າການ ໃນການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີການ? |
ລະບຸ ພາກສ່ວນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງ |
ພັນລະນາ ບົດບາດ ໜ້າທີ່ ຂອງພາກສ່ວນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງ |
ຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນໃນທ້ອງຖິ່ນ / ຊຸມຊົນທ້ອງຖິ່ນ |
เกษตรกร กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุม ต.ดอนแร่ อ.เมือง จ.ราชบุรี- |
- |
ອົງການຈັດຕັ້ງ ພາຍໃນຊຸມຊົນ |
อบต |
- |
ຜູ້ຊ່ຽວຊານ ການນຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ / ທີ່ປຶກສາດ້ານກະສິກໍາ |
กรมปศุสัตว์ กรมพั..ฒนาที่ดิน |
- |
ຄູອາຈານ / ນັກຮຽນ / ນັກສຶກສາ |
เข้ามาศึกษาดูงานจาก วิทยาลัยเกษตร มหาลัยราชภัฏ |
- |
ພາກເອກະຊົນ |
บทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ |
- |
ອົງການທີ່ເປັນຕົວແທນໃນການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ
-
ການລວບລວມເອົາຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນໃນທ້ອງຖິ່ນ/ຊຸມຊົນທ້ອງຖິ່ນ ໃນການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດແນວທາງ ແຕ່ລະໄລຍະ
ບໍ່ມີ
ການບໍ່ປະຕິບັດ
ການຊ່ວຍເຫຼືອຈາກພາຍນອກ
ການຮ່ວມມື
ການນໍາໃໍຊ້ເອງ
ການເລີ່ມຕົ້ນ / ແຮງຈູງໃຈ
หน่วยงานภาครัฐ กลุ่มสมาชิกศึกษาค้นคว้าหาความรู้และศึกษาดูงานในพื้นที่ต่างๆเพื่อนำมาปรับใช้ในพื้นที่ของตนเอง
ການວາງແຜນ
หน่วยงานภาครัฐ กลุ่มสมาชิก
กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมและหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัด ช่วยกันวางแผนการดำเนินการให้เหมาะสมและเป็นไปตามมาตรฐาน
ການປະຕິບັດ
หน่วยงานภาครัฐ กลุ่มสมาชิกดำเนินการตามแผนให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
ຕິດຕາມກວດກາ / ການປະເມີນຜົນ
มีการติดตามตรวจสอบและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มและมีการติดตามจากหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัดให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
ແຜ່ນວາດສະແດງ
เป็นขั้นตอนต่างๆของกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน ตำบลดอนแร่ อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี
ຜູ້ຂຽນ: -
ການຕັດສິນໃຈໃນການເລືອກເຕັກໂນໂລຢີ ການຄຸ້ມຄອງທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ
ການຕັດສິນໃຈໂດຍ
-
ຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນຜູ້ດຽວ (ການລິເລີ່ມດ້ວຍຕົນເອງ)
-
ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນຫຼັກ, ການສະໜັບສະໜູນ ໂດຍຜູ້ຊ່ຽວຊານ ການນໍາໃຊ້ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ
-
ພາກສ່ວນກ່ຽວຂ້ອງທັງໝົດ, ເປັນສ່ວນໜຶ່ງ ຂອງວິທີທາງແບບມີສ່ວນຮ່ວມ
-
ຜູ້ຊ່ຽວຊານ ຫຼັກດ້ານການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ, ມີການຕິດຕາມປຶກສາຫາລືກັບຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ
-
ຊຽ່ວຊານ ສະເພາະດ້ານການຄຸ້ມຄອງ ດິນແບບຍືນຍົງຜູ້ດຽວ
-
ນັກການເມືອງ / ຜູ້ນໍາ
ການຕັດສິນໃຈບົນພື້ນຖານ
-
ປະເມີນເອກກະສານ ຄວາມຮູ້ກ່ຽວກັບ ການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ (ຫຼັກຖານທີ່ຊ່ວຍໃນການຕັດສິນໃຈ)
-
ຜົນທີ່ໄດ້ຮັບ ຈາກການຄົ້ນຄວ້າ
-
ປະສົບການສ່ວນບຸກຄົນ ແລະ ຄວາມຄິດເຫັນ (ທີ່ບໍ່ເປັນເອກກະສານ)
-
จากหน่วยงานภาครัฐปศุสัตว์จังหวัด
ການສະໜັບສະໜູນເຕັກໂນໂລຢີ, ການສ້າງຄວາມອາດສາມາດ ແລະ ການຄຸ້ມຄອງຄວາມຮູ້
ກິດຈະກຳ ດັ່ງລຸ່ມນີ້ ແມ່ນເປັນພາກໜຶ່ງຂອງແນວທາງ
-
ການສ້າງຄວາມສາມາດ / ການຝຶກອົບຮົມ
-
ການບໍລິການໃຫ້ຄໍາປຶກສາ
-
ສະຖາບັນການສ້າງຄວາມເຂັ້ມແຂງ (ການພັດທະນາອົງການຈັດຕັ້ງ)
-
ຕິດຕາມກວດກາ ແລະ ປະເມີນຜົນ
-
ການຄົ້ນຄວ້າ
ການສ້າງຄວາມອາດສາມາດ / ຝຶກອົບຮົມ
ໄດ້ສະໜັບສະໜູນຝຶກອົບຮົມໃຫ້ແກ່ພາກສ່ວນກ່ຽວຂ້ອງດັ່ງລຸ່ມນີ້
-
ຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນ
-
ພະນັກງານພາກສະໜາມ / ທີ່ປຶກສາ
-
กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน
ຮູບແບບການຝຶກອົບຮົມ
-
ການເຮັດຕົວຈິງ
-
ຕົວຕໍ່ຕົວ
-
ເນື້ອທີ່ສວນທົດລອງ
-
ກອງປະຊຸມ
-
ຫຼັກສູດ
ການບໍລິການທາງດ້ານການໃຫ້ຄໍາປຶກສາ
ໄດ້ຮັບການບໍລິການທາງດ້ານການໃຫ້ຄໍາປຶກສາ
-
ໃນພື້ນທີ່ຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນ
-
ສູນຄົ້ນຄວ້າ
-
กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน
มีเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้คำแนะนำอย่างสม่ำเสมอ
ການຕິດຕາມ ແລະ ປະເມີນຜົນ
มีหน่วยงานปศุสัตว์จังหวัดเข้ามาช่วยให้คำแนะนำตรวจสอบให้เป็นไปตามมาตรฐาน
ການສະໜັບສະໜູນທາງດ້ານການເງິນ ແລະ ອຸປະກອນຈາກພາຍນອກ
ງົບປະມານປະຈຳປີ ໃນກິດຈະກຳ ການຄຸ້ມຄອງທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ ທີ່ເປັນສະກຸນເງິນໂດລາ
-
< 2,000
-
2,000-10,000
-
10,000-100,000
-
100,000-1,000,000
-
> 1,000,000
Precise annual budget: n.a.
ການບໍລິການ ຫຼື ສິ່ງກະຕຸກຊຸກຍູ້ ດັ່ງລຸ່ມນີ້ ແມ່ນໄດ້ສະໜອງໂດຍຜູ້ນຳໃຊ້ທີ່ດິນເອງ
-
ການສະໜັບສະໜູນ ທາງດ້ານການເງິນ / ອຸປະກອນ ສະໜອງໃຫ້ແກ່ຜູ້ນໍາທີ່ດິນ
-
ຫຼຸດປັດໃຈນໍາເຂົ້າ
-
ສິນເຊື່ອ
-
ສິ່ງຈູງໃຈ ຫຼື ເຄື່ອງມືອື່ນໆ
ສີ່ງກະຕຸກຊຸກຍູ້ອື່ນໆ
มีการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐอย่างต่อเนื่อง ปศุสัตว์จังหวัด
ການວິເຄາະຜົນກະທົບ ແລະ ສະຫຼຸບລວມ
ຜົນກະທົບຂອງການນໍາໃຊ້ແນວທາງ
ບໍ່
ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
ມີ, ພໍສົມຄວນ
ມີ, ຫຼາຍ
ວິທີທາງ ຊ່ວຍຊຸກຍູ້ ຜູ້ນຳໃຊ້ທີ່ດິນທ້ອງຖີ່ນ, ໃນການປັບປຸງ ການມີສ່ວນຮ່ວມ ຂອງຜູ້ທີ່ກ່ຽວຂ້ອງ ບໍ່?
เป็นที่ต้องการของตลาด สำหรับผู้ที่ต้องการบริโภคอย่างปลอดภัย
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ດັ່ງກ່າວນີ້ ສາມາດເປັນຫຼັກຖານ ທີ່ສະໜັບສະໜູນ ໃຫ້ການຕັດສິນໃຈໄດ້ບໍ່?
สามารถสร้างรายได้อย่างยั่งยืน
ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ ສາມາດຊ່ວຍຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ ໃນການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ແລະ ບໍາລຸງຮັກສາ ເຕັກໂນໂລຢີ ການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງໄດ້ບໍ?
ช่วยรักษามลภาวะภายในชุมชน
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ສາມາດປັບປຸງ ການປະສານງານ ແລະ ຄ່າໃຊ້ຈ່າຍ ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ທີ່ມີປະສິດທິພາບ ຂອງການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືດຍົງໄດ້ບໍ່?
กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ສາມາດປັບປຸງຄວາມຮູ້ ແລະ ຄວາມສາມາດຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ ໃນການປະຕິບັດ ການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືດຍົງໄດ້ບໍ່?
มีหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัดเข้ามาให้ความรู้และช่วยแนะนำให้ได้เป็นไปตามมาตรฐาน
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ສາມາດປັບປຸງຄວາມຮູ້ ແລະ ຄວາມສາມາດ ຂອງພາກສ່ວນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງໄດ້ບໍ່?
ทำให้สามารถดำเนินการเป็นไปตามมารฐานเดี่ยวกัน
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ສາມາດສ້າງຄວາມເຂັ້ມແຂງ ໃຫ້ສະຖາບັນການຈັດຕັ້ງ, ການຮ່ວມມື ລະຫວ່າງພາກສ່ວນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງບໍ່?
มีการติดต่อประสานงานและมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน
ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ ສາມາດຊຸກຍູ້ ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນທີ່ເປັນຊາວໜຸ່ມ / ຄົນລຸ້ນໃໝ່ ໃນການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງໄດ້ບໍ?
สามารถเป็นอาชีพที่ยั่งยืนและทำให้เป็นทางเลือกของรุ่นต่อไปสามารถสานต่อได้
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ໄດ້ປັບປຸງ ການຄໍ້າປະກັນສະບຽງອາຫານ ຫຼື ປັບປຸງໂຄສະນາການໄດ້ບໍ່?
เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความปลอดภัยไร้สารเคมี
ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ ສາມາດປັບປຸງ ການເຂົ້າເຖິງຕະຫຼາດໄດ້ບໍ?
เป็นทางเลือกของผู้บริโภคที่เน้นความปลอดภัยจากสารเคมี
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ໄດ້ປັບປຸງ ການນໍາໃຊ້ແຫຼ່ງພະລັງງານ ແບບຍືນຍົງຫຼາຍຂື້ນບໍ່?
มีการนำมูลหมูหลุมไปทำก๊าชชีวภาพ
ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ ສາມາດສ້າງຄວາມອາດສາມາດໃຫ້ຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນ ໃນການປັບຕົວ ຕໍ່ການປ່ຽນແປງດິນຟ້າອາກາດ / ຫຼດຜ່ອນຄວາມສ່ຽງທາງໄພພິບັດໄດ້ບໍ?
มีการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการจัดการ
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ໄດ້ປັບປຸງ ການຈ້າງງານ, ໂອກາດ ໃນການສ້າງລາຍຮັບບໍ່?
.มีการจ้างแรงงานในท้องถิ่น
ສິ່ງກະຕຸກຊຸກຍູ້ໃຫ້ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ ໃນການປະຕິບັດການຄຸ້ມຄອງທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ
-
ການຜະລິດເພີ່ມຂຶ້ນ
-
ກໍາໄລເພີ່ມຂຶ້ນ (ຄວາມສາມາດ), ການປັບປຸງຄ່າໃຊ້ຈ່າຍ, ຜົນປະໂຫຍດ, ອັດຕາສ່ວນ
-
ຫຼຸດຜ່ອນດິນເຊື່ອມໂຊມ
-
ຫຼຸດຜ່ອນຄວາມສ່ຽງຂອງໄພພິບັດ
-
ການຫຼຸດຜ່ອນພາລະວຽກ
-
ການຊໍາລະເງິນ / ເງິນອຸດໜູນ
-
ກົດລະບຽບແລະລະບຽບການ (ລະອຽດ) / ການບັງຄັບໃຊ້
-
ກຽດສັກສີ, ຄວາມກົດດັນທາງສັງຄົມ / ການຕິດຕໍ່ກັນທາງສັງຄົມ
-
ລວມເຂົ້ານໍາກັນກັບການເຄື່ອນໄຫວ / ໂຄງການ / ກຸ່ມ / ເຄືອຂ່າຍ
-
ຄວາມຮັບຮູ້ ທາງສີ່ງແວດລ້ອມ
-
ພາສີ ແລະ ຄວາມເຊື່ອຖື, ສົມບັດສິນທໍາ
-
ການປັບປຸງ ຄວາມຮູ້ ແລະ ຄວາມສາມາດ ຂອງການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ
-
ການປັບປຸງຄວາມງົດງາມ
-
ການຫຼຸດຜ່ອນຂໍ້ຂັດແຍ່ງ
ຄວາມຍືນຍົງຂອງການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດກິດຈະກໍາຂອງແນວທາງ
ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ ສາມາດຈັດຕັ້ງປະຕິບັດຕາມແນວທາງໄດ້ເອງບໍ່ (ໂດຍປາດສະຈາກການສະໜັບສະໜູນຈາກພາກສ່ວນພາຍນອກ)?
เพราะมีหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัด เข้ามาช่วยให้คำปรึกษา แนะนำ ส่งเสริม ควบคุมดูแลให้ระบบการเลี้ยงหมูหลุมเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
ບົດສະຫຼຸບ ແລະ ບົດຮຽນທີ່ໄດ້ຮັບ
ຄວາມເຂັ້ມແຂງ: ທັດສະນະມູມມອງ ຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ
-
1.กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมเป็นที่ยอมรับในชุมชนเนื่องจากไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมและลดมลภาวะด้านกลิ่นในระบบการจัดการ
-
2.มีพื้นที่และทำเลที่ตั้งเหมาะสมเนื่องจากอยู่ไม่ไกลจากตลาดและชุมชน
-
3.มีผู้สนใจผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากปลอดภัยจากสารเคมี
-
4.สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ ปศุสัตว์จังหวัด ได้สะดวกและรวดเร็ว
ຄວາມເຂັ້ມແຂງ: ທັດສະນະມຸມມອງ ຂອງຜູ້ປ້ອນຂໍ້ມູນເອງ
-
1.สมาชิกในกลุ่มมีความเข้มแข็งและมีการประสานงานและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้และให้ความช่วยเหลือกัน ตลอดจนให้ความสำคัญในกิจกรรมกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ
-
2.มีหน่วยงานภาครัฐให้ความสนใจและเข้ามาช่วยเหลือในเรื่องหลักวิชาการเพื่อให้สามารถผลิตได้เป็นไปตามมาตรฐาน โดยปศุสัตว์จังหวัด
-
3.มีผู้สนใจมาศึกษาหาความรู้ตลอดจนมาฝึกงานจากกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมจำนวนมากทำให้คนรู้จักมากขึ้นส่งผลทำให้มีตลาดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้น
ຈຸດອ່ອນ / ຂໍ້ເສຍ / ຄວາມສ່ຽງ: ທັດສະນະມູມມອງ ຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນວິທີການແກ້ໄຂແນວໃດ
-
1.การส่งเสริมการเลี้ยงหมูหลุม หากมีการเลี้ยงจำนวนมากขึ้น จะทำให้ขาดแคลนพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุมในท้องถิ่น
1. ควรมีการส่งเสริมให้มีการปลูกพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุม ให้มากขึ้น หรือ ให้ศึกษาสูตรของอาหารให้สอดคล้องกับวัตถุดิบที่มี
-
2. ราคาจำหน่ายผลิตภัณฑ์หมูหลุม ยังไม่แตกต่างจากราคาผลิตภัณฑ์หมูทั่วไป
2.ควรมีการพิจารณามาตรฐานหมูหลุม เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีกว่าให้มีราคาสูงขึ้น
ຈຸດອ່ອນ / ຂໍ້ເສຍ / ຄວາມສ່ຽງ: ທັດສະນະມຸມມອງ ຂອງຜູ້ປ້ອນຂໍ້ມູນເອງວິທີການແກ້ໄຂແນວໃດ
-
2.1 รูปแบบของผลิตภัณฑ์ที่จำหน่ายยังไม่ทันสมัยและยังไม่เป็นรูปแบบที่สนใจของผู้บริโภค
ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยแนะนำส่งเสริมให้รูปแบบของผลิตภัณฑ์เป็นที่ต้องการของตลาดและผู้บริโภค
-
2.2 ในการเลี้ยงหมูหลุมของกลุ่มยังขาดการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยทำให้ระยะเวลาการเลี้ยงหรือการจัดการใช้เวลานาน
ปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการโดยหาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยจัดการเพื่อสามารถลดต้นทุนการผลิตได้
-
2.3 ตลาดการรับชื้อผลิตภัณฑ์ยังอยู่ในวงจำกัดยังไม่เป็นที่รู้จักของผู้บริโภคทั่วไป
ให้หน่วยงานภาครัฐช่วยส่งเสริมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และใช้ช่องทาง social media
-
2.4 ระบบการจัดการในกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมยังไม่เป็นไปตามมาตรฐานที่หน่วยงานราชการกำหนด
ให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง ปศุสัตว์จังหวัด เข้ามาช่วยในด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
ເອກກະສານອ້າງອີງ
ການທົບທວນຄືນ
-
William Critchley
-
Rima Mekdaschi Studer
-
Joana Eichenberger
ວັນທີຂອງການປະຕິບັດ: Dec. 6, 2018
ປັບປຸງລ່າສຸດ: April 20, 2022
ບຸກຄົນທີ່ສໍາຄັນ
-
ทีมสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต10 - (-) - co-compiler
-
นายสุพจน์ .สิงห์โตศรี (supojkb@gmail.com) - ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ
-
นายประเสริฐ กิจติสร (-) - ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ
-
นายสมนึก ห่วงทอง (-) - ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ
-
นางวันเพ็ญ พุทธา (-) - ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ
ການບັນຍາຍລາຍລະອຽດ ໃນຖານຂໍ້ມູນ ຂອງ WOCAT
ຂໍ້ມູນການເຊື່ອມໂຍງຂໍ້ມູນການຄຸ້ມຄອງການນໍາໃຊ້ດິນແບບຍືນຍົງ
ເອກກະສານ ແມ່ນໄດ້ອໍານວຍຄວາມສະດວກໂດຍ
ເຊື່ອມໂຍງກັບ ຂໍ້ມູນຕ່າງໆ ທີ່ກ່ຽວຂ້ອງທີ່ມີ