ວິທີທາງ

เครือข่ายหมอดินอาสา ตำบลรำพัน อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี [ໄທ]

หมอดินอาสา

approaches_4245 - ໄທ

ຄວາມສົມບູນ: 97%

1. ຂໍ້ມູນທົ່ວໄປ

1.2 ລາຍລະອຽດ ການຕິດຕໍ່ ຂອງບຸກຄົນທີ່ຊັບພະຍາກອນ ແລະ ສະຖາບັນ ການມີສ່ວນຮ່ວມ ໃນການປະເມີນຜົນ ແລະ ເອກະສານ ຂອງວິທີທາງ

ບຸກຄົນສຳຄັນ (ຫຼາຍຄົນ)

ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ:

ໄທ

ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ:

1.3 ເງື່ອນໄຂ ຂອງການນໍາໃຊ້ເອກກະສານຂໍ້ມູນ ຂອງ WOCAT

ເມື່ອໃດທີ່ໄດ້ສັງລວມຂໍ້ມູນ (ຢູ່ພາກສະໜາມ)?

10/10/2018

ຜູ້ສັງລວມ ແລະ ບັນດາຜູ້ຕອບແບບສອບຖາມ ຍອມຮັບໃນເງື່ອນໄຂ ການນໍາໃຊ້ຂໍ້ມູນເອກະສານ ທີ່ສ້າງຂື້ນ ໂດຍຜ່ານ ອົງການ WOCAT:

ແມ່ນ

2. ພັນລະນາ ແນວທາງການຄຸ້ມຄອງນໍາໃຊ້ດິນແບບຍືນຍົງ

2.1 ການອະທິບາຍ ໂດຍຫຍໍ້ ຂອງວິທີທາງ

เครือข่ายหมอดินอาสาตำบลรำพัน อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี น้อมนำแนวพระราชดำริเกษตรทฤษฎีใหม่ และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 มาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการที่ดินและน้ำเพื่อการเกษตรในที่ดินของตนเองให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด สามารถพึ่งพาตนเองได้

2.2 ການອະທິບາຍ ລາຍລະອຽດ ຂອງວິທີທາງ

ການອະທິບາຍ ລາຍລະອຽດ ຂອງວິທີທາງ:

(1) อะไรคือลักษณะที่สำคัญหรือคุณลักษณะที่เห็นเด่นชัดของแนวทาง
หมอดินอาสา คือ เกษตรกรที่ทำหน้าที่ เป็นผู้ประสานงานด้านการพัฒนาที่ดิน ให้คำปรึกษาและแนะนำด้าน การจัดการปัญหาความเสื่อมโทรมของที่ดิน การปรับปรุงบำรุงดิน การใช้ที่ดินให้เหมาะสม ตลอดจนให้บริการตรวจวิเคราะห์ดิน แก่เกษตรกรรวมทั้งร่วมดำเนินกิจกรรมต่างๆ กับเจ้าหน้าที่กรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยมีเครือข่ายหมอดินอาสาประมาณ 80,000 กว่าราย ในระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ และจังหวัด ครอบคลุมทั่วประเทศ
เครือข่ายหมอดินอาสา เป็นเครือข่ายของ เกษตรกรที่ทำหน้าที่หมอดินอาสา มีการทำงานร่วมกันแบบเครือข่ายเพื่อสนับสนุนบทบาทภารกิจของหมอดินและกรมพัฒนาที่ดินให้ประสบความสำเร็จตามเป้าหมายมี่กำหนด

(2) อะไรคือเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของแนวทาง
เครือข่ายหมอดินอาสา ตั้งขึ้นเพื่อให้หมอดินอาสาและกรมพัฒนาที่ดิน ร่วมบูรณาการการทำงาน ตามบทบาทภารกิจ มีการเชื่อมโยงการทำงาน สนับสนุน และช่วยเหลืองานซึ่งกันและกัน
(3) วิธีการใดที่ถูกเอามาใช้
เครือข่ายหมอดินอาสา เป็นการสร้างเครือข่ายเกษตรกรที่ทำหน้าที่หมอดินอาสา ให้มีโอกาสแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสนับสนุนการทำงานซึ่งกันและกัน โดยการจัดให้มีโครงสร้างของเครือข่ายครอบคลุมทั้งประเทศ ตามลำดับชั้นของพื้นที่ กล่าวคือ เครือข่ายในระดับ หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด


(4) ขั้นตอนของการเอาไปปฏิบัติใช้มีอันไหนบ้าง
การดำเนินงานของเครือข่ายหมอดินอาสา มีขั้นตอนดังนี้
1.กรมพัฒนาที่ดินได้คัดเลือกและแต่งตั้งเกษตรกรให้ทำหน้าที่ หมอดินอาสา จำนวน 80,000 กว่าราย ในระดับหมู่บ้านครอบคลุมทั่วประเทศ
2. กรมพัฒนาที่ดินและกล่มเกษตรกรที่ทำหน้าที่หมอดินอาสา ระดับหมู่บ้าน จะคัดเลือกผู้แทนหมอดินอาสาในระดับ หมู่บ้าน ให้หน้าที่เป็นประธานหมอดินอาสาในระดับตำบล และประธานระดับ ตำบลจะพิจารณาคัดเลือกให้ทำหน้าที่ประธานระดับอำเภอ และจังหวัด เป็นลำดับชั้น
3.ประธานหมอดินอาสาในระดับต่างๆ จะทำงานร่วมกันแบบเครือข่าย
4 จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของเครือข่ายหมอดินอาสาในแต่ละลำดับชั้นของเครือข่าย
5.เครือข่ายหมอดินอาสาแต่ละลำดับชั้น จะทำหน้าที่เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารต่างๆไปสู่สมาชิก
6.เครือข่ายหมอดินอาสา จะทำหน้าที่ส่งเสริมและให้การสนับสนุนการถ่ายทอดเทคโนโลยีของหมอดินอาสาไปสู่ชุมชนเป้าหมาย
7.กรมพัฒนาที่ดินจัดอบรมให้ความรู้แก่เครือข่ายหมอดินอาสา
8.กรมพัฒนาที่ดิน นิเทศ ติดตามประเมินผล พร้อมให้คำแนะนำ และรายงานผล



(5) ผู้มีส่วนได้เสียมีผู้ใดที่เกี่ยวข้องและบทบาทของบุคคลเหล่านั้นมีอะไรบ้าง
ผู้เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของเครือข่ายหมอดินอาสา
1) หมอดินอาสาในตำบลรำพัน เป็นกลุ่มเกษตรกรที่ทำการเกษตรในรูปแบบเกษตรทฤษฎีใหม่ และถ่ายทอดเทคโนโลยีนี้แก่เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา ตลอดจนเจ้าหน้าที่ที่สนใจเข้ามาศึกษาดูงานในพื้นที่
2) เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป และเจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐ ที่สนใจเข้ามาศึกษาหาความรู้และฝึกปฏิบัติจริงในพื้นที่
3) เจ้าหน้าที่กรมพัฒนาที่ดิน และสำนักงาน ก.ป.ร.ให้การสนับสนุนงบประมาณดำเนินการ วัสดุอุปกรณ์ เอกสารวิชาการ และถ่ายทอดความรู้แก่หมอดินอาสา

(6) สิ่งที่ผู้ใช้ที่ดินชอบเกี่ยวกับแนวทาง
ประโยชน์ที่เกษตรกรได้รับในมุมมองของเกษตรกร
1) ภาครัฐ โดยกรมพัฒนาที่ดินเป็นหน่วยงานหลักในการส่งเสริม ช่วยเหลือและสนับสนุนงบประมาณ ปัจจัยการผลิต เอกสารวิชาการ และองค์ความรู้ต่างๆ ในการดำเนินงานเกษตรทฤษฎีใหม่
2. การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ของกลุ่มเครือข่ายหมอดินอาสามุ่งเน้นการใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมี ทำให้ทรัพยากรดินและสิ่งแวดล้อมดีขึ้น
3).

สิ่งที่ผู้ใช้ที่ดินไม่ชอบเกี่ยวกับแนวทาง
ข้อจำกัดในการดำเนินงาน เกษตรกรเห็นว่า การเกษตรตามแนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่มีข้อจำกัดในด้านการยอมรับจากเกษตรกรทั่วไป เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ทำการเกษตรมุ่งเน้นผลกำไร แต่เกษตรทฤษฎีใหม่มุ่งเน้นให้เกษตรกรพอเพียง สามารถพึ่งพาตนเองได้

2.3 ຮູບພາບຂອງແນວທາງ

ຂໍ້ສັງເກດໂດຍທົ່ວໄປກ່ຽວກັບການຮູບພາບ:

-

2.4 ວີດີໂອ ຂອງວິທີທາງ

ຄວາມຄິດເຫັນ, ຄໍາອະທິບາຍຫຍໍ້:

-

ວັນທີ:

13/07/2016

ສະຖານທີ່:

47 ม.3 ต.รำพัน อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี

ຊື່ຂອງຜູ້ຖ່າຍວີດີໂອ:

กรมพัฒนาที่ดิน

2.5 ປະເທດ / ເຂດ / ສະຖານທີ່ບ່ອນທີ່ແນວທາງໄດ້ຖືກນໍາໃຊ້

ປະເທດ:

ໄທ

ພາກພື້ນ / ລັດ / ແຂວງ:

จันทบุรี

ຂໍ້ມູນເພີ່ມເຕີມຂອງສະຖານທີ່:

47 หมู่ 3 ตำบลรำพัน อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี

ຄວາມຄິດເຫັນ:

-

2.6 ວັນທີເລີ່ມຕົ້ນ ແລະ ສິ້ນສຸດ ການຈັດຕັ້ງປະຕີບັດ ວິທີທາງ

ສະແດງປີຂອງການເລີ່ມຕົ້ນ:

2007

ຖ້າຫາກບໍ່ຮູ້ຈັກປີທີ່ແນ່ນອນ, ໃຫ້ປະມານຄາດຄະເນ ເອົາມື້ທີ່ໄດ້ເລີ່ມຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ:

10-50 ປີ ຜ່ານມາ

ຄວາມຄິດເຫັນ:

-

2.7 ປະເພດຂອງແນວທາງ

  • ພາຍໃຕ້ໂຄງການ / ແຜນງານ

2.8 ເປົ້າໝາຍ / ຈຸດປະສົງຫຼັກ ຂອງການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ

เครือข่ายหมอดินอาสา ตั้งขึ้นเพื่อให้หมอดินอาสาและกรมพัฒนาที่ดิน ร่วมบูรณาการการทำงาน ตามบทบาทภารกิจ มีการเชื่อมโยงการทำงาน สนับสนุน และช่วยเหลืองานซึ่งกันและกัน

2.9 ເງື່ອນໄຂອໍານວຍ ຫຼື ຂັດຂວາງການປະຕິບັດຂອງເຕັກໂນໂລຢີ / ເຕັກໂນໂລຢີການນໍາໃຊ້ຕາມແນວທາງ

ສັງຄົມ / ວັດທະນະທໍາ / ມາດຕະຖານ ແລະ ຄຸນຄ່າທາງສາສະໜາ
  • ອໍານວຍ

วัฒนธรรมและประเพณีไทย สอนให้มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เกษตรกรที่ประสบปัญหาทางการเกษตรภายในชุมชน

ມີຄວາມສາມາດ / ເຂັ້າເຖິງຊັບພະຍາກອນດ້ານການເງິນ ແລະ ການບໍລິການ
  • ອໍານວຍ

ในชุมชนมีแหล่งเงินทุนหลายแหล่ง เช่น ธกส. กองทุนหมู่บ้าน กองทุนกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ กลุ่มแม่บ้าน ที่สามารถให้กู้ยืมได้

  • ເຊື່ອງຊ້ອນ

เงื่อนไขการให้กู้เงินของแหล่งเงินทุนบางแหล่ง ทำให้เกษตรกรบางรายขาดโอกาสในการได้รับเงินกู้

ການກໍ່ຕັ້ງສະຖາບັນ
  • ອໍານວຍ

-

ການຮ່ວມມື / ການປະສານງານຂອງຜູ້ກ່ຽວຂ້ອງ
  • ອໍານວຍ

หน่วยงานภายในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ มีการบูรณาการการทำงานร่วมกัน เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรผสมผสาน

ກ່ຽວກັບກົດໝາຍ (ສິດນໍາໃຊ້ດິນ, ສິດນໍາໃຊ້ນໍ້າ)
  • ອໍານວຍ

-

ນະໂຍບາຍ
  • ອໍານວຍ

มีโครงการ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง รัชกาลที่ 9 ซึ่งดำเนินการมาแล้วกว่า 2 ปี หลายภาคส่วนร่วมบูรณาการ ช่วยกันขับเคลื่อน ถ่ายทอดองค์ความรู้ศาสตร์พระราชา/เกษตรทฤษฎีใหม่ สนับสนุนปัจจัยการผลิต ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ มีเอกสารเผยแพร่ และมีการติดตามประเมินผล

ການປົກຄອງທີ່ດິນ (ການຕັດສິນໃຈ, ການປະຕິບັດ ແລະ ຂໍ້ບັງຄັບ)
  • ອໍານວຍ

เกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นทฤษฎีของการใช้ที่ดินที่มีจำกัดให้เหมาะสมและเกิดประโยชน์คุ้มค่า การถ่ายทอดองค์ความรู้อย่างแพร่หลาย จะทำให้เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ຄວາມຮູ້ກ່ຽວກັບການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ, ການເຂົ້າເຖິງການສະໜັບສະໜູນ ທາງດ້ານວິຊາການ
  • ອໍານວຍ

-ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินมีความรู้เกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่/เศรษฐกิจพอเพียงเป็นอย่างดี สามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในพื้นที่
-กรมพัฒนาที่ดิน ให้การสนับสนุนการขุดบ่อน้ำในไร่นา ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานให้เกษตรกร บริการตรวจวิเคราะห์ดิน สนับสนุนปัจจัยการผลิต ถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการ ผ่านเครือข่ายหมอดินอาสา และจุดเรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดิน ตำบลรำพัน
-สำนักงาน กปร. และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ สนับสนุนและส่งเสริมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่

ຕະຫຼາດ (ໃນການຊື້ວັດຖຸດິບ, ຂາຍຜະລິດຕະພັນ) ແລະ ລາຄາ
  • ອໍານວຍ

มีตลาดหรือแหล่งรับซื้อผลผลิตในราคาสูง เป็นแรงจูงใจให้เกษตรกรหันมาปลูกไม้ผลอินทรีย์มากขึ้น และมีตลาดนัดชุมชน สำหรับขายพืชผักเพิ่มรายได้หมุนเวียน

  • ເຊື່ອງຊ້ອນ

ราคาสินค้าเกษตรบางชนิดตกต่ำมาก โดยเฉพาะยางพารา เนื่องจากการผลิตมากกว่าความต้องการสินค้า ราคาถูกกำหนดโดยพ่อค้าคนกลาง

ວຽກ, ມີກໍາລັງຄົນ
  • ເຊື່ອງຊ້ອນ

แรงงานภาคการเกษตรในพื้นที่มีน้อย ค่าจ้างแรงงานในพื้นที่สูง เกษตรกรที่ทำเกษตรกรทฤษฎีใหม่จึงอาศัยแรงงานในครัวเรือนเป็นหลัก พึ่งพาตนเอง บางครั้งมีการลงแขกช่วยเหลือกันภายในกลุ่ม

3. ການມີສ່ວນຮ່ວມ ແລະ ບົດບາດຂອງພາກສ່ວນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງທີ່ໄດ້ມີສ່ວນຮ່ວມ

3.1 ຜູ້ມີສ່ວນຮ່ວມ ໃນວິທີທາງ ແລະ ພາລະບົດບາດ ຂອງເຂົາເຈົ້າ

  • ຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນໃນທ້ອງຖິ່ນ / ຊຸມຊົນທ້ອງຖິ່ນ

เกษตรกรในชุมชน

เกษตรกรในชุมชน เดิมทำการเกษตรเชิงเดี่ยว ปลูกพืชชนิดเดียว หลังจากได้รับการถ่ายทอดความรู้เรื่องเกษตรทฤษฎีใหม่ ปรับเปลี่ยนมาทำการเกษตรแบบผสมผสาน ปลูกพืชหลากหลายชนิดลดความเสี่ยงเรื่องราคาผลผลิตตกต่ำ และโรคพืช ร่วมกับการเลี้ยงสัตว์ เพื่อบริโภค และจำหน่ายเป็นรายได้ของครัวเรือน ใช้ชีวิตแบบพอเพียงและพึ่งพาตนเอง

  • ຜູ້ຊ່ຽວຊານ ການນຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ / ທີ່ປຶກສາດ້ານກະສິກໍາ

-กรมพัฒนาที่ดิน
-กปร

กรมพัฒนาที่ดิน
-กปร นย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ นำเกษตรกรและเจ้าหน้าที่ไปศึกษาดูงานเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริ เพื่อเรียนรู้และนำมาปฏิบัติใช้ และช่วยเผยแพร่เกษตรทฤษฎีใหม่ผ่านสิ่งพิมพ์

  • ນັກຄົ້ນຄວ້າ

นักวิจัยจากกรมพัฒนาที่ดิน

นักวิจัยจากกรมพัฒนาที่ดิน ใช้พื้นที่แปลงเกษตรทฤษฎีใหม่เป็นแปลงทดลองเพื่อศึกษาวิจัยด้านต่างๆ ดังนี้
-การใช้กรดอินทรีย์จากน้ำหมักชีวภาพเพื่อทดแทนกรดฟอร์มิกสังเคราะห์ในการผลิตยางก้อนถ้วย (นายวิโรจน์ เผ่าวัฒนา)
-ทดสอบการใช้ประโยชน์ของหญ้าแฝกในพื้นที่ปลูกลองกอง เพื่อรักษาความชื้นในดิน เพิ่มความอุดมสมบูรณ์แก่ดิน และลดการชะล้างหน้าดิน (นายวิโรจน์ เผ่าวัฒนา)
-การจัดการดินกรดเพื่อปลูกแก้วมังกร (นางสาวนงปวีณ์ บุตรรามรา)

  • ຄູອາຈານ / ນັກຮຽນ / ນັກສຶກສາ

นักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา

นักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี เข้ามาศึกษาดูงาน ฝึกปฏิบัติ และเรียนรู้

  • ອໍານາດ ການປົກຄອງທ້ອງຖິ່ນ

อบต อบจ

-

หน่วยงานทหาร เข้ามาศึกษาดูงาน

-

ຖ້າຫາກມີຫຼາຍພາກສ່ວນທີ່ເຂົ້າຮ່ວມ ໃຫ້ລະບຸ ອົງການທີ່ເປັນຫຼັກ ໃນການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ:

-

3.2 ການມີສ່ວນຮ່ວມຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນໃນທ້ອງຖິ່ນ / ຊຸມຊົນທ້ອງຖິ່ນໃນໄລຍະທີ່ແຕກຕ່າງກັນຂອງແນວທາງ
ການລວບລວມ ເອົາຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນ ໃນທ້ອງຖິ່ນ / ຊຸມຊົນທ້ອງຖິ່ນ ໃຫ້ລະບຸ ຜູ້ໃດທີ່ມີສ່ວນຮ່ວມ ໃນແຕ່ລະກິດຈະກໍາ?
ການເລີ່ມຕົ້ນ / ແຮງຈູງໃຈ ການຮ່ວມມື กรมพัฒนาที่ดินคัดเลือกเป็นหมอดินอาสา จัดตั้งเครือข่าย หมอดินอาสา
ການວາງແຜນ ການຮ່ວມມື -กรมพัฒนาที่ดิน สร้างกลุ่มเครือข่ายหมอดินอาสาระดับหมู่บ้าน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอดความรู้แก่หมอดินอาสาให้สามารถทำการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น -หมอดินอาสา
ການປະຕິບັດ ການຮ່ວມມື -กรมพัฒนาที่ดิน จัดตั้งเป็นจุดเรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดิน -หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ จังหวัดจันทบุรีคัดเลือกเป็นแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ ในโครงการ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง รัชกาลที่ 9 และขับเคลื่อนการดำเนินงาน -สำนักงาน กปร. โดยศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ คัดเลือกเป็นศูนย์เรียนรู้ปลูกพืชผสมผสาน ตามแนวพระราชดำริ -กรมพัฒนาที่ดินเผยแพร่ความสำเร็จ การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ การดำเนินงานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านเอกสารและสื่อวิดิทัศน์หมอดินอาสา
ຕິດຕາມກວດກາ / ການປະເມີນຜົນ ການຮ່ວມມື กรมพัฒนาที่ดินประเมินผลสำเร็จและผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงาน
-

3.3 ແຜນວາດ (ຖ້າມີ)

ການອະທິບາຍ:

-

ຜູ້ຂຽນ:

-

3.4 ການຕັດສິນໃຈກ່ຽວກັບການຄັດເລືອກເຕັກໂນໂລຢີຂອງການຄຸ້ມຄອງທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ / ເຕັກໂນໂລຢີ

ລະບຸ ຄົນທີ່ຕັດສິນໃຈ ກ່ຽວກັບການຄັດເລືອກຂອງ ເຕັກໂນໂລຢີ / ເຕັກໂນໂລຢີ ຈະໄດ້ຮັບການປະຕິບັດ:
  • ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນຫຼັກ, ການສະໜັບສະໜູນ ໂດຍຜູ້ຊ່ຽວຊານ ການນໍາໃຊ້ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ
ອະທິບາຍ:

ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินและเครือข่ายได้รับการถ่ายทอดความรู้ และสนับสนุนปัจจัยการผลิตจากกรมพัฒนาที่ดิน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ

Specify on what basis decisions were made:
  • ປະສົບການສ່ວນບຸກຄົນ ແລະ ຄວາມຄິດເຫັນ (ທີ່ບໍ່ເປັນເອກກະສານ)
  • การสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ

4. ການສະໜັບສະໜູນທາງດ້ານວິຊາການ, ການສ້າງຄວາມສາມາດ, ແລະ ການຈັດການຄວາມຮູ້.

4.1 ການສ້າງຄວາມສາມາດ / ການຝຶກອົບຮົມ

ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ ຫຼື ພາກສ່ວນກ່ຽວຂ້ອງອື່ນໆ ໄດ້ຮັບການຝຶກອົບຮົມບໍ່?

ແມ່ນ

ໃຫ້ລະບຸ ຜູ້ໃດທີ່ໄດ້ຮັບການຝຶກອົບຮົມ:
  • ຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນ
ຖ້າເປັນໄປໄດ້, ໃຫ້ລະບຸເພດ, ອາຍຸ, ສະຖານະພາບ, ຊົນເຜົ່າ, ແລະ ອື່ນໆ:

-

ຮູບແບບຂອງການຝຶກອົບຮົມ:
  • ການເຮັດຕົວຈິງ
  • ຕົວຕໍ່ຕົວ
  • ກອງປະຊຸມ
ໃນຫົວຂໍ້:

การปรับแนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่ ภายใต้โครงการ “5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวงรัชกาลที่ 9” . ชื่อหัวข้อวิชาประกอบด้วย ศาสตร์พระราชา เกษตรทฤษฎีใหม่ และการจัดทำแผนผังแปลง แผนการผลิตของเกษตรกร การลดต้นทุนการผลิต ลดรายจ่าย การผลิตการสร้างผลผลิต/ การสร้างรายได้ การจัดทำบัญชีครัวเรือน

ຄວາມຄິດເຫັນ:

เพิ่มพูนความรู้ศาตร์พระราชา และหลักการทำเกษตรทฤษฎีใหม่

4.2 ການບໍລິການໃຫ້ຄໍາປຶກສາ

ເຮັດຜູ້ໃຊ້ທີ່ດິນມີການເຂົ້າເຖິງການບໍລິການໃຫ້ຄໍາປຶກສາ?

ແມ່ນ

ລະບຸວ່າການສະໜອງ ການບໍລິການ ໃຫ້ຄໍາປຶກສາ:
  • ໃນພື້ນທີ່ຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນ
ອະທິບາຍ / ຄວາມຄິດເຫັນ:

เกษตรกรที่สนใจเกษตรทฤษฎีใหม่ สามารถเข้ามาศึกษาเรียนรู้ และขอคำแนะนำได้ ณ ที่ตั้งแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ (คุณมะลิ คันธีระ) ตำบลรำพัน อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี หรือสอบถามได้ทางหมายเลขโทรศัพท์ 065-6903985

4.3 ສະຖາບັນການສ້າງຄວາມເຂັ້ມແຂງ (ການພັດທະນາອົງການຈັດຕັ້ງ)

ສະຖາບັນ ໄດ້ຮັບການສ້າງຕັ້ງຂື້ນ ຫຼື ໄດ້ຮັບການສ້າງຄວາມເຂັ້ມແຂງ ໂດຍການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງບໍ່?
  • ບໍ່ມີ

4.4 ຕິດຕາມກວດກາ ແລະ ປະເມີນຜົນ

ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ ໄດ້ມີການປະເມີນຜົນ ແລະ ຕິດຕາມບໍ?

ແມ່ນ

ຄວາມຄິດເຫັນ:

การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ ภายใต้โครงการ “5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวงรัชกาลที่ 9” มีการตรวจและติดตามผล จากหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ

ຄວາມຄິດເຫັນ:

-

4.5 ການຄົ້ນຄວ້າ

ນີ້້ແມ່ນສ່ວນໜຶ່ງ ການຄົ້ນຄວ້າ ຂອງວິທີທາງບໍ່?

ບໍ່ແມ່ນ

5. ການສະໜັບສະໜູນທາງດ້ານການເງິນ ແລະ ອຸປະກອນຈາກພາຍນອກ

5.1 ງົບປະມານປະຈໍາປີ ສໍາລັບວິທີທາງ ຂອງການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ

ຖ້າຫາກບໍ່ຮູ້ຈັດງົບປະມານທີ່ແນ່ນອນ ແມ່ນໃຫ້ປະມານເອົາ:
  • < 2,000
ຄໍາເຫັນ (ຕົວຢ່າງ: ແຫຼ່ງຂໍ້ມູນຫຼັກ ຂອງການສະໜອງທຶນ / ຜູ້ໃຫ້ທຶນທີ່ສໍາຄັນ):

กรมพัฒนาที่ดิน

5.2 ການສະໜັບສະໜູນ ທາງດ້ານການເງິນ / ອຸປະກອນ ສະໜອງໃຫ້ແກ່ຜູ້ນໍາທີ່ດິນ

ຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນ ໄດ້ຮັບການສະໜັບສະໜູນ ທາງດ້ານ ການເງິນ / ອຸປະກອນ ໃນການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ເຕັກໂນໂລຢີບໍ?

ແມ່ນ

ຖ້າແມ່ນ, ໃຫ້ລະບຸປະເພດ (ຫຼາຍ) ຂອງການສະໜັບສະໜູນ, ເງື່ອນໄຂ ແລະ ຜູູ້ສະໜອງ (ຫຼາຍ):

กรมพัฒนาที่ดิน สนับสนุนการดำเนินงานเกษตรทฤษฎีใหม่ สนับสนุนงบประมาณก่อสร้างบ่อน้ำในไร่นา และปัจจัยการผลิต

5.3 ເງິນສົມທົບສໍາລັບການນໍາໃຊ້ສະເພາະປັດໃຈຂາເຂົ້າໃນການຜະລີດກະສິກໍາ (ລວມທັງແຮງງານ)

  • ກະສິກໍາ
ໃຫ້ລະບຸໄດ້ຮັບການສະໜັບສະໜູນປັດໃຈຂາເຂົ້າຫຍັງແດ່ ທີ່ຂອບເຂດ ລະບຸ ການອຸດໜູນ
ແນວພັນ, ແກ່ນພັນ ງົບປະມານບາງສ່ວນ 5,000
ปูนโดโลไมท์ ปูนมาร์ล 50,800
ຖ້າແຮງງານ ຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນ ໄດ້ຮັບການສະໜັບສະໜູນ ປັດໃຈຂາເຂົ້າ, ແມ່ນບໍ່:
  • ໄດ້ຮັບການສະໜັບສະໜູນ ອຸປະກອນດ້ານອື່ນ
ຄວາມຄິດເຫັນ:

กรมพัฒนาที่ดิน สนับสนุนปัจจัยการผลิต ได้แก่ ปูนมาร์ล ปูนโลไมท์ เมล็ดพันธุ์ถั่วพร้า เชื้อจุลินทรีย์สารเร่ง พด. สำหรับผลิตปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพ แผ่นป้ายจุดเรียนรู้ แก่เจ้าของจุดเรียนรู้ (นางมะลิ คันธีระ วิทยากรหลัก) เกษตรกรผู้ใช้ที่ดินได้รับการสนับสนุนปูนโดโลไมท์ และปูนมาร์ล

5.4 ສິນເຊື່ອ

ໄດ້ປ່ອຍສິນເຊື່ອ ສະໜອງໃຫ້ພາຍໃຕ້ ວິທີການສໍາລັບກິດຈະກໍາ ການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນນຍົງບໍ່?

ແມ່ນ

ເງື່ອນໄຂກໍານົດ (ອັດຕາດອກເບ້ຍ, ຈ່າຍຄືນ, ແລະ ອື່ນໆ) :

-

ລະບຸ ການໃຫ້ບໍລິການ ການປ່ອຍສິນເຊື່ອ:

กองทุนหมู่บ้าน กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ และกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (สมาชิกออมเดือนละ 100 บาท และสมาชิกสามารถกู้เงินได้)

ລະບຸ ຜູ້ທີ່ໄດ້ຮັບສິນເຊື່ອ:

กลุ่มเกษตรกร

5.5 ສິ່ງຈູງໃຈ ຫຼື ເຄື່ອງມືອື່ນໆ

ການສົ່ງເສີມ ຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ເຕັກໂນໂລຢີ ໃນການຄຸ້ມຄອງ ດິນແບບຍືນຍົງ ໄດ້ສະໜອງສິ່ງກະຕຸກຊຸກຍູ້ບໍ່?

ແມ່ນ

ຖ້າແມ່ນ, ໃຫ້ລະບຸ:

ใช้พื้นที่เป็นจุดเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ โดยมีหมอดินอาสา (นางสาวมะลิ คันธีระ) เป็นวิทยากรหลักในการถ่ายทอดความรู้ร่วมกับเครือข่ายหมอดินอาสาตำบลรำพัน

6. ວິເຄາະຜົນກະທົບ ແລະ ສັງລວມບັນຫາ

6.1 ຜົນກະທົບຂອງແນວທາງ

ວິທີທາງ ຊ່ວຍຊຸກຍູ້ ຜູ້ນຳໃຊ້ທີ່ດິນທ້ອງຖີ່ນ, ໃນການປັບປຸງ ການມີສ່ວນຮ່ວມ ຂອງຜູ້ທີ່ກ່ຽວຂ້ອງ ບໍ່?
  • ບໍ່
  • ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
  • ມີ, ພໍສົມຄວນ
  • ມີ, ຫຼາຍ

เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ (มีรายได้จากขายผลผลิตทางการเกษตรหลากหลายชนิด) มีการรวมกลุ่มเกษตรกร

ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ດັ່ງກ່າວນີ້ ສາມາດເປັນຫຼັກຖານ ທີ່ສະໜັບສະໜູນ ໃຫ້ການຕັດສິນໃຈໄດ້ບໍ່?
  • ບໍ່
  • ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
  • ມີ, ພໍສົມຄວນ
  • ມີ, ຫຼາຍ

เกษตกรบางรายหันมาปรับเปลี่ยนการใช้ที่ดินจากการปลูกเชิงเดี่ยวเป็นเกษตรทฤษฎีใหม่ /เกษตรผสมผสาน มุ่งเน้นการพึ่งพาตนเองได้

ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ ສາມາດຊ່ວຍຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ ໃນການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ແລະ ບໍາລຸງຮັກສາ ເຕັກໂນໂລຢີ ການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງໄດ້ບໍ?
  • ບໍ່
  • ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
  • ມີ, ພໍສົມຄວນ
  • ມີ, ຫຼາຍ

เกษตรกรในชุมชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ และนำไปปฏิบัติใช้ในพื้นที่ของตนเอง

ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ສາມາດປັບປຸງ ການປະສານງານ ແລະ ຄ່າໃຊ້ຈ່າຍ ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ທີ່ມີປະສິດທິພາບ ຂອງການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືດຍົງໄດ້ບໍ່?
  • ບໍ່
  • ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
  • ມີ, ພໍສົມຄວນ
  • ມີ, ຫຼາຍ

มีเครื่อข่ายหมอดินอาสา กลุ่มเกษตรกร กลุ่มแปรรูปสินค้าเกษตร และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ສາມາດລະດົມ ຫຼື ປັບປຸງ ການເຂົ້າເຖິງຊັບພະຍາກອນ ການເງິນ ສໍາລັບການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືດຍົງໄດ້ບໍ່?
  • ບໍ່
  • ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
  • ມີ, ພໍສົມຄວນ
  • ມີ, ຫຼາຍ

เครือข่ายช่วยให้เข้าถึงแหล่งเงินทุน โดยเฉพาะกองทุนต่างๆ เกษตรกรสามารถกู้เงินในอัตราดอกเบี้ยต่ำเพื่อนำมาใช้ทางการเกษตรได้

ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ສາມາດປັບປຸງຄວາມຮູ້ ແລະ ຄວາມສາມາດຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ ໃນການປະຕິບັດ ການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືດຍົງໄດ້ບໍ່?
  • ບໍ່
  • ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
  • ມີ, ພໍສົມຄວນ
  • ມີ, ຫຼາຍ

หน่วยงานภาครัฐ จัดฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้เรื่องเกษตรทฤษฎีใหม่แก่เกษตรกร

ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ສາມາດປັບປຸງຄວາມຮູ້ ແລະ ຄວາມສາມາດ ຂອງພາກສ່ວນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງໄດ້ບໍ່?
  • ບໍ່
  • ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
  • ມີ, ພໍສົມຄວນ
  • ມີ, ຫຼາຍ

หน่วยงานภาครัฐ จัดฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้เรื่องเกษตรทฤษฎีใหม่แก่เกษตรกร

ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ ສາມາດຊຸກຍູ້ ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນທີ່ເປັນຊາວໜຸ່ມ / ຄົນລຸ້ນໃໝ່ ໃນການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງໄດ້ບໍ?
  • ບໍ່
  • ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
  • ມີ, ພໍສົມຄວນ
  • ມີ, ຫຼາຍ

เกษตรทฤษฎีใหม่มีการเผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ เช่น สื่อทีวี วิทยุ ยูทูป เยาวชนรุ่นใหม่ที่สนใจสามารถศึกษาหาความรู้ได้ และสามารถเข้ามาเรียนรู้ในแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ของคุณมะลิ คันธีระ เพื่อนำไปปรับใช้ในพื้นที่ของตนเองได้

ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ໄດ້ປັບປຸງ ການຄໍ້າປະກັນສະບຽງອາຫານ ຫຼື ປັບປຸງໂຄສະນາການໄດ້ບໍ່?
  • ບໍ່
  • ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
  • ມີ, ພໍສົມຄວນ
  • ມີ, ຫຼາຍ

การผลิตสินค้าเกษตรทั้งพืชและสัตว์ ในแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นการเกษตรโดยใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมี ทำให้ได้ผลผลิตที่ปลอดภัย

ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ ສາມາດປັບປຸງ ການເຂົ້າເຖິງຕະຫຼາດໄດ້ບໍ?
  • ບໍ່
  • ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
  • ມີ, ພໍສົມຄວນ
  • ມີ, ຫຼາຍ

มีผลผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยหลากหลายชนิด เป็นที่ต้องการของตลาด

6.2 ແຮງຈູງໃຈຫຼັກຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນໃນການປະຕິບັດການຄຸ້ມຄອງທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ

  • ການຜະລິດເພີ່ມຂຶ້ນ

รูปแบบการผลิตหลากหลายชนิด

  • ກໍາໄລເພີ່ມຂຶ້ນ (ຄວາມສາມາດ), ການປັບປຸງຄ່າໃຊ້ຈ່າຍ, ຜົນປະໂຫຍດ, ອັດຕາສ່ວນ

มีรายได้หมุนเวียน เกษตรกรใช้ชีวิตแบบพอเพียง

  • ຫຼຸດຜ່ອນດິນເຊື່ອມໂຊມ

รูปแบบการทำเกษตรทฤษฎีใหม่เน้นการใช้สารอินทรีย์
ช่วยลดและฟื้นฟูความเสื่อมโทรมของดินทางเคมี

  • ລວມເຂົ້ານໍາກັນກັບການເຄື່ອນໄຫວ / ໂຄງການ / ກຸ່ມ / ເຄືອຂ່າຍ

มีเครือข่ายหมอดินอาสาเข้มแข็ง

  • ການປັບປຸງ ຄວາມຮູ້ ແລະ ຄວາມສາມາດ ຂອງການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ

ได้จากการปฏิบัติเป็นประจำ และการไปศึกษาดูงานต่างพื้นที่

6.3 ຄວາມຍືນຍົງຂອງກິດຈະກໍາວິທີທາງ

ຜູ້ນໍາໃຊ້ ທີ່ດິນ ສາມາດສືບຕໍ່ ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ຜ່ານວິທີທາງໄດ້ບໍ່ (ໂດຍປາດສະຈາກ ການຊ່ວຍເຫຼືອ ຈາກພາກສ່ວນພາຍນອກ)?
  • ແມ່ນ
ຖ້າ ໄດ້, ອະທິບາຍເຫດຜົນ:

เครือข่ายหมอดินอาสานำแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ไปปฏิบัติใช้ในพื้นที่ของตนเอง สามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยใช้แรงงานตนเอง/แรงงานในครัวเรือน อยู่แบบพอเพียง และนำไปบอกต่อแก่เกษตรกรแปลงข้างเคียงให้นำแนวทางนี้ไปใช้ได้

6.4 ຈຸດແຂງ / ຂໍ້ດີ ຂອງວິທີທາງ

ຈຸດແຂງ / ຂໍ້ດີ / ໂອກາດໃນການນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ
1) เกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สามารถพึ่งพาตนเองได้
2) หน่วยงานภาครัฐให้การสนับสนุนการดำเนินงานเกษตรทฤษฎีใหม่ของเครือข่ายหมอดินอาสา/กลุ่มสมาชิก
3) การรวมกลุ่มเกษตรกรทำให้เกิดความเข้มแข็ง รัก และสามัคคีกัน
ຈຸດແຂງ / ຈຸດດີ / ໂອກາດ ຈາກທັດສະນະຂອງຜູ້ປ້ອນຂໍ້ມູນ ຫຼື ບຸກຄົນສຳຄັນ
1 หน่วยงานภาครัฐถือเป็นหน่วยงานหลักที่ช่วยสนับสนุน ส่งเสริมเกษตรกรในโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
2)ทฤษฎีใหม่มุ่งเน้นการใช้สารอินทรีย์/วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในแปลงมาเป็นวัตถุดิบในการทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพไว้ใช้เอง ช่วยลดต้นทุนการผลิต

6.5 ຈຸດອ່ອນ / ຂໍ້ເສຍຂອງແນວທາງ ແລະ ວິທີການແກ້ໄຂໃຫ້ເຂົາເຈົ້າ

ຈຸດອ່ອນ / ຂໍ້ເສຍ / ຄວາມສ່ຽງໃນມູມມອງຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ ມີວິທີການແກ້ໄຂຄືແນວໃດ?
1) แรงงานไม่พอ ค่าแรงงานสูง ใช้แรงงานในครัวเรือน และใช้เครื่องทุนแรง เช่น เครื่องตัดหญ้า
2) ขาดความรู้เรื่องการผลิตพืช ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม
3)น้ำมีไม่เพียงพอสำหรับใช้ทำการเกษตร -เพิ่มพื้นที่กักเก็บน้ำ/ขุดบ่อน้ำในไร่นา ขุดลอกคลองธรรมชาติ โดยใช้แรงงานในครัวเรือน หรือขอสนับสนุนงบประมาณดำเนินการจากหน่วยงานภาครัฐ/ท้องถิ่น
-สูบน้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติมากักเก็บไวในบ่อน้ำในไร่นา
ຈຸດອ່ອນ ຫຼື ຂໍ້ເສຍ ຫຼື ຄວາມສ່ຽງ ໃນມຸມມອງຂອງ ຜູ້ສັງລວມຂໍ້ມູນ ຫຼື ບັນດາຜູ້ຕອບແບບສອບຖາມ ມີວິທີການແກ້ໄຂຄືແນວໃດ?
1)แนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่ มีข้อจำกัดในด้านการยอมรับจากเกษตรกร เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่มุ่งเน้นผลกำไร แต่ทฤษฎีใหม่คือการใช้ชีวิตแบบพอเพียง เน้นให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้ เร่งสร้างความตระหนักรู้แก่เกษตรกร ในเรื่องการใช้ชีวิตแบบพอเพียงตามแนวทฤษฎีใหม่ และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

7. ເອກກະສານອ້າງອີງ ແລະ ຂໍ້ມູນການເຊື່ອມໂຍງ

7.1 ວິທີການ / ແຫຼ່ງຂໍ້ມູນ

  • ການໄປຢ້ຽມຢາມພາກສະໜາມ, ການສໍາຫຼວດພາກສະໜາມ

-

  • ການສໍາພາດ ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ

5

  • ສໍາພາດ ຊ່ຽວຊານ ການຄຸ້ມຄອງ ດິນແບບຍືນຍົງ

1

7.2 ເອກະສານທົ່ວໄປທີ່ສາມາດໃຊ້ໄດ້

ຫົວຂໍ້, ຜູ້ຂຽນ, ປີ, ISBN:

-

ມີຢູ່ໃສ?ມູນຄ່າເທົ່າໃດ?

-

7.3 ການເຊື່ອມຕໍ່ກັບຂໍ້ມູນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງທີ່ສາມາດໃຊ້ອອນໄລນ໌

ຫົວຂໍ້ / ພັນລະນາ:

-

URL:

-

ຂໍ້ມູນການເຊື່ອມຕໍ່ ແລະ ເນື້ອໃນ

ຂະຫຍາຍທັງໝົດ ຍຸບທັງໝົດ

ເນື້ອໃນ