Арга барилууд

เครือข่ายหมอดินอาสา ตำบลรำพัน อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี [Тайланд ]

หมอดินอาสา

approaches_4245 - Тайланд

Бүрэн гүйцэд байдал: 97%

1. Ерөнхий мэдээлэл

1.2 Арга барилыг баримтжуулах болон үнэлгээ хийхэд оролцсон хүн эсвэл байгууллагын холбоо барих хаяг

Мэдээлэл өгсөн хүн(с)

Газар ашиглагч :

Тайланд

Газар ашиглагч :

1.3 WOCAT-аар баримтжуулсан өгөгдлийг ашиглахтай холбоотой нөхцөл

Мэдээллийг хэзээ (газар дээр нь) цуглуулсан бэ?

10/10/2018

Эмхэтгэгч болон гол мэдээлэгч хүн(хүмүүс) WOCAT аргачлалаар баримтжуулсан мэдээллийг ашиглахтай холбоотой нөхцлийг хүлээн зөвшөөрсөн.

Тийм

2. ГТМ Арга барилын тодорхойлолт

2.1 Арга барилын товч тодорхойлолт

เครือข่ายหมอดินอาสาตำบลรำพัน อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี น้อมนำแนวพระราชดำริเกษตรทฤษฎีใหม่ และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 มาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการที่ดินและน้ำเพื่อการเกษตรในที่ดินของตนเองให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด สามารถพึ่งพาตนเองได้

2.2 Арга барилын дэлгэрэнгүй тодорхойлолт

Арга барилын дэлгэрэнгүй тодорхойлолт :

(1) อะไรคือลักษณะที่สำคัญหรือคุณลักษณะที่เห็นเด่นชัดของแนวทาง
หมอดินอาสา คือ เกษตรกรที่ทำหน้าที่ เป็นผู้ประสานงานด้านการพัฒนาที่ดิน ให้คำปรึกษาและแนะนำด้าน การจัดการปัญหาความเสื่อมโทรมของที่ดิน การปรับปรุงบำรุงดิน การใช้ที่ดินให้เหมาะสม ตลอดจนให้บริการตรวจวิเคราะห์ดิน แก่เกษตรกรรวมทั้งร่วมดำเนินกิจกรรมต่างๆ กับเจ้าหน้าที่กรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยมีเครือข่ายหมอดินอาสาประมาณ 80,000 กว่าราย ในระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ และจังหวัด ครอบคลุมทั่วประเทศ
เครือข่ายหมอดินอาสา เป็นเครือข่ายของ เกษตรกรที่ทำหน้าที่หมอดินอาสา มีการทำงานร่วมกันแบบเครือข่ายเพื่อสนับสนุนบทบาทภารกิจของหมอดินและกรมพัฒนาที่ดินให้ประสบความสำเร็จตามเป้าหมายมี่กำหนด

(2) อะไรคือเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของแนวทาง
เครือข่ายหมอดินอาสา ตั้งขึ้นเพื่อให้หมอดินอาสาและกรมพัฒนาที่ดิน ร่วมบูรณาการการทำงาน ตามบทบาทภารกิจ มีการเชื่อมโยงการทำงาน สนับสนุน และช่วยเหลืองานซึ่งกันและกัน
(3) วิธีการใดที่ถูกเอามาใช้
เครือข่ายหมอดินอาสา เป็นการสร้างเครือข่ายเกษตรกรที่ทำหน้าที่หมอดินอาสา ให้มีโอกาสแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสนับสนุนการทำงานซึ่งกันและกัน โดยการจัดให้มีโครงสร้างของเครือข่ายครอบคลุมทั้งประเทศ ตามลำดับชั้นของพื้นที่ กล่าวคือ เครือข่ายในระดับ หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด


(4) ขั้นตอนของการเอาไปปฏิบัติใช้มีอันไหนบ้าง
การดำเนินงานของเครือข่ายหมอดินอาสา มีขั้นตอนดังนี้
1.กรมพัฒนาที่ดินได้คัดเลือกและแต่งตั้งเกษตรกรให้ทำหน้าที่ หมอดินอาสา จำนวน 80,000 กว่าราย ในระดับหมู่บ้านครอบคลุมทั่วประเทศ
2. กรมพัฒนาที่ดินและกล่มเกษตรกรที่ทำหน้าที่หมอดินอาสา ระดับหมู่บ้าน จะคัดเลือกผู้แทนหมอดินอาสาในระดับ หมู่บ้าน ให้หน้าที่เป็นประธานหมอดินอาสาในระดับตำบล และประธานระดับ ตำบลจะพิจารณาคัดเลือกให้ทำหน้าที่ประธานระดับอำเภอ และจังหวัด เป็นลำดับชั้น
3.ประธานหมอดินอาสาในระดับต่างๆ จะทำงานร่วมกันแบบเครือข่าย
4 จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของเครือข่ายหมอดินอาสาในแต่ละลำดับชั้นของเครือข่าย
5.เครือข่ายหมอดินอาสาแต่ละลำดับชั้น จะทำหน้าที่เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารต่างๆไปสู่สมาชิก
6.เครือข่ายหมอดินอาสา จะทำหน้าที่ส่งเสริมและให้การสนับสนุนการถ่ายทอดเทคโนโลยีของหมอดินอาสาไปสู่ชุมชนเป้าหมาย
7.กรมพัฒนาที่ดินจัดอบรมให้ความรู้แก่เครือข่ายหมอดินอาสา
8.กรมพัฒนาที่ดิน นิเทศ ติดตามประเมินผล พร้อมให้คำแนะนำ และรายงานผล



(5) ผู้มีส่วนได้เสียมีผู้ใดที่เกี่ยวข้องและบทบาทของบุคคลเหล่านั้นมีอะไรบ้าง
ผู้เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของเครือข่ายหมอดินอาสา
1) หมอดินอาสาในตำบลรำพัน เป็นกลุ่มเกษตรกรที่ทำการเกษตรในรูปแบบเกษตรทฤษฎีใหม่ และถ่ายทอดเทคโนโลยีนี้แก่เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา ตลอดจนเจ้าหน้าที่ที่สนใจเข้ามาศึกษาดูงานในพื้นที่
2) เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป และเจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐ ที่สนใจเข้ามาศึกษาหาความรู้และฝึกปฏิบัติจริงในพื้นที่
3) เจ้าหน้าที่กรมพัฒนาที่ดิน และสำนักงาน ก.ป.ร.ให้การสนับสนุนงบประมาณดำเนินการ วัสดุอุปกรณ์ เอกสารวิชาการ และถ่ายทอดความรู้แก่หมอดินอาสา

(6) สิ่งที่ผู้ใช้ที่ดินชอบเกี่ยวกับแนวทาง
ประโยชน์ที่เกษตรกรได้รับในมุมมองของเกษตรกร
1) ภาครัฐ โดยกรมพัฒนาที่ดินเป็นหน่วยงานหลักในการส่งเสริม ช่วยเหลือและสนับสนุนงบประมาณ ปัจจัยการผลิต เอกสารวิชาการ และองค์ความรู้ต่างๆ ในการดำเนินงานเกษตรทฤษฎีใหม่
2. การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ของกลุ่มเครือข่ายหมอดินอาสามุ่งเน้นการใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมี ทำให้ทรัพยากรดินและสิ่งแวดล้อมดีขึ้น
3).

สิ่งที่ผู้ใช้ที่ดินไม่ชอบเกี่ยวกับแนวทาง
ข้อจำกัดในการดำเนินงาน เกษตรกรเห็นว่า การเกษตรตามแนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่มีข้อจำกัดในด้านการยอมรับจากเกษตรกรทั่วไป เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ทำการเกษตรมุ่งเน้นผลกำไร แต่เกษตรทฤษฎีใหม่มุ่งเน้นให้เกษตรกรพอเพียง สามารถพึ่งพาตนเองได้

2.3 Арга барилын зурагууд

Гэрэл зурагтай холбоотой ерөнхий тэмдэглэл:

-

2.4 Арга барилын бичлэгүүд

Тайлбар, товч тодорхойлолт :

-

Огноо :

13/07/2016

Байршил :

47 ม.3 ต.รำพัน อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี

Зураглаачийн нэр :

กรมพัฒนาที่ดิน

2.5 Арга барил нэвтрүүлсэн улс орон / бүс нутаг / байршил

Улс :

Тайланд

Улс/аймаг/сум:

จันทบุรี

Байршлын дэлгэрэнгүй тодорхойлолт:

47 หมู่ 3 ตำบลรำพัน อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี

Тайлбар:

-

2.6 Арга барилыг эхлэх, дуусах огноо

Эхлэх жилийг тэмдэглэ:

2007

Хэрэв арга барилыг хэрэгжүүлэх жил тодорхойгүй бол ойролцоогоор эхлэх огноог зааж өгнө үү :

10-50 жилийн өмнө

Тайлбар:

-

2.7 Арга барилын төрөл

  • төсөл / хөтөлбөр дээр үндэслэсэн

2.8 Арга барилын үндсэн зорилго, зорилтууд

เครือข่ายหมอดินอาสา ตั้งขึ้นเพื่อให้หมอดินอาสาและกรมพัฒนาที่ดิน ร่วมบูรณาการการทำงาน ตามบทบาทภารกิจ มีการเชื่อมโยงการทำงาน สนับสนุน และช่วยเหลืองานซึ่งกันและกัน

2.9 Арга барилын хүрээнд хэрэгжсэн Технологи/Технологиудад дэмжсэн эсвэл саад учруулсан нөхцлүүд

нийгэм / соёл / шашны хэм хэмжээ, үнэт зүйлс
  • Идэвхижүүлэх

วัฒนธรรมและประเพณีไทย สอนให้มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เกษตรกรที่ประสบปัญหาทางการเกษตรภายในชุมชน

санхүүгийн нөөц, үйлчилгээний хүртээмж / боломж
  • Идэвхижүүлэх

ในชุมชนมีแหล่งเงินทุนหลายแหล่ง เช่น ธกส. กองทุนหมู่บ้าน กองทุนกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ กลุ่มแม่บ้าน ที่สามารถให้กู้ยืมได้

  • Хазаарлалт

เงื่อนไขการให้กู้เงินของแหล่งเงินทุนบางแหล่ง ทำให้เกษตรกรบางรายขาดโอกาสในการได้รับเงินกู้

Бүтэц зохион байгуулалт
  • Идэвхижүүлэх

-

талуудыг хамтын ажиллагаа/зохицуулалт
  • Идэвхижүүлэх

หน่วยงานภายในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ มีการบูรณาการการทำงานร่วมกัน เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรผสมผสาน

Хууль, эрхзүйн хүрээ (газар эзэмшил, газар, ус ашиглах эрх)
  • Идэвхижүүлэх

-

Бодлогууд
  • Идэвхижүүлэх

มีโครงการ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง รัชกาลที่ 9 ซึ่งดำเนินการมาแล้วกว่า 2 ปี หลายภาคส่วนร่วมบูรณาการ ช่วยกันขับเคลื่อน ถ่ายทอดองค์ความรู้ศาสตร์พระราชา/เกษตรทฤษฎีใหม่ สนับสนุนปัจจัยการผลิต ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ มีเอกสารเผยแพร่ และมีการติดตามประเมินผล

Газрын засаглал (шийдвэр гаргах, хэрэгжүүлэх, шаардлага)
  • Идэвхижүүлэх

เกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นทฤษฎีของการใช้ที่ดินที่มีจำกัดให้เหมาะสมและเกิดประโยชน์คุ้มค่า การถ่ายทอดองค์ความรู้อย่างแพร่หลาย จะทำให้เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ГТМ-ийн талаарх мэдлэг, техникийн дэмжлэг авах боломж
  • Идэвхижүүлэх

-ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินมีความรู้เกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่/เศรษฐกิจพอเพียงเป็นอย่างดี สามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในพื้นที่
-กรมพัฒนาที่ดิน ให้การสนับสนุนการขุดบ่อน้ำในไร่นา ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานให้เกษตรกร บริการตรวจวิเคราะห์ดิน สนับสนุนปัจจัยการผลิต ถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการ ผ่านเครือข่ายหมอดินอาสา และจุดเรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดิน ตำบลรำพัน
-สำนักงาน กปร. และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ สนับสนุนและส่งเสริมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่

зах зээл (материал худалдан авах, бүтээгдэхүүн борлуулах), үнэ
  • Идэвхижүүлэх

มีตลาดหรือแหล่งรับซื้อผลผลิตในราคาสูง เป็นแรงจูงใจให้เกษตรกรหันมาปลูกไม้ผลอินทรีย์มากขึ้น และมีตลาดนัดชุมชน สำหรับขายพืชผักเพิ่มรายได้หมุนเวียน

  • Хазаарлалт

ราคาสินค้าเกษตรบางชนิดตกต่ำมาก โดยเฉพาะยางพารา เนื่องจากการผลิตมากกว่าความต้องการสินค้า ราคาถูกกำหนดโดยพ่อค้าคนกลาง

ажлын багтаамж, хүн хүчний нөөц бололцоо
  • Хазаарлалт

แรงงานภาคการเกษตรในพื้นที่มีน้อย ค่าจ้างแรงงานในพื้นที่สูง เกษตรกรที่ทำเกษตรกรทฤษฎีใหม่จึงอาศัยแรงงานในครัวเรือนเป็นหลัก พึ่งพาตนเอง บางครั้งมีการลงแขกช่วยเหลือกันภายในกลุ่ม

3. Оролцогч талуудын оролцоо ба үүргүүд

3.1 Арга барилд оролцогч талууд болон тэдгээрийн үүргүүд

  • Орон нутгийн газар ашиглагч / орон нутгийн иргэд

เกษตรกรในชุมชน

เกษตรกรในชุมชน เดิมทำการเกษตรเชิงเดี่ยว ปลูกพืชชนิดเดียว หลังจากได้รับการถ่ายทอดความรู้เรื่องเกษตรทฤษฎีใหม่ ปรับเปลี่ยนมาทำการเกษตรแบบผสมผสาน ปลูกพืชหลากหลายชนิดลดความเสี่ยงเรื่องราคาผลผลิตตกต่ำ และโรคพืช ร่วมกับการเลี้ยงสัตว์ เพื่อบริโภค และจำหน่ายเป็นรายได้ของครัวเรือน ใช้ชีวิตแบบพอเพียงและพึ่งพาตนเอง

  • ГТМ-ийн мэргэжилтэн/ хөдөө аж ахуйн зөвлөх

-กรมพัฒนาที่ดิน
-กปร

กรมพัฒนาที่ดิน
-กปร นย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ นำเกษตรกรและเจ้าหน้าที่ไปศึกษาดูงานเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริ เพื่อเรียนรู้และนำมาปฏิบัติใช้ และช่วยเผยแพร่เกษตรทฤษฎีใหม่ผ่านสิ่งพิมพ์

  • Судлаачид

นักวิจัยจากกรมพัฒนาที่ดิน

นักวิจัยจากกรมพัฒนาที่ดิน ใช้พื้นที่แปลงเกษตรทฤษฎีใหม่เป็นแปลงทดลองเพื่อศึกษาวิจัยด้านต่างๆ ดังนี้
-การใช้กรดอินทรีย์จากน้ำหมักชีวภาพเพื่อทดแทนกรดฟอร์มิกสังเคราะห์ในการผลิตยางก้อนถ้วย (นายวิโรจน์ เผ่าวัฒนา)
-ทดสอบการใช้ประโยชน์ของหญ้าแฝกในพื้นที่ปลูกลองกอง เพื่อรักษาความชื้นในดิน เพิ่มความอุดมสมบูรณ์แก่ดิน และลดการชะล้างหน้าดิน (นายวิโรจน์ เผ่าวัฒนา)
-การจัดการดินกรดเพื่อปลูกแก้วมังกร (นางสาวนงปวีณ์ บุตรรามรา)

  • Багш/ сурагч/ оюутан

นักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา

นักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี เข้ามาศึกษาดูงาน ฝึกปฏิบัติ และเรียนรู้

  • Орон нутгийн захиргаа

อบต อบจ

-

หน่วยงานทหาร เข้ามาศึกษาดูงาน

-

Хэрэв хэд хэдэн оролцогч талууд оролцсон бол голлох төлөөлөгчийг зааж өгнө үү:

-

3.2 Арга барилын янз бүрийн үе шатанд орон нутгийн газар ашиглагчид / бүлэглэлүүдийг татан оролцуулах
Орон нутгийн газар ашиглагч / орон нутгийн иргэдийн оролцоо Хэн оролцсоныг тодорхойлж, үйл ажиллагааг тайлбарлана уу
санаачлага/идэвхжүүлэлт интерактив กรมพัฒนาที่ดินคัดเลือกเป็นหมอดินอาสา จัดตั้งเครือข่าย หมอดินอาสา
Төлөвлөгөө интерактив -กรมพัฒนาที่ดิน สร้างกลุ่มเครือข่ายหมอดินอาสาระดับหมู่บ้าน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอดความรู้แก่หมอดินอาสาให้สามารถทำการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น -หมอดินอาสา
Хэрэгжилт интерактив -กรมพัฒนาที่ดิน จัดตั้งเป็นจุดเรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดิน -หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ จังหวัดจันทบุรีคัดเลือกเป็นแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ ในโครงการ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง รัชกาลที่ 9 และขับเคลื่อนการดำเนินงาน -สำนักงาน กปร. โดยศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ คัดเลือกเป็นศูนย์เรียนรู้ปลูกพืชผสมผสาน ตามแนวพระราชดำริ -กรมพัฒนาที่ดินเผยแพร่ความสำเร็จ การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ การดำเนินงานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านเอกสารและสื่อวิดิทัศน์หมอดินอาสา
Мониторинг/ үнэлгээ интерактив กรมพัฒนาที่ดินประเมินผลสำเร็จและผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงาน
-

3.3 Диаграм (хэрэв боломжтой бол)

Тодорхойлолт :

-

Зохиогч :

-

3.4 ГТМ-ийн технологи/технологиуд сонгох шийдвэр

Хэрэгжүүлэх Технологи/Технологиудын сонголтыг хийж шийдвэр гаргасан хүнийг тодорхойлно уу:
  • ГТМ-ийн мэргэжилтнүүдийн дэмжлэгтэйгээр, голчлон газар ашиглагчид
Тайлбар :

ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินและเครือข่ายได้รับการถ่ายทอดความรู้ และสนับสนุนปัจจัยการผลิตจากกรมพัฒนาที่ดิน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ

Шийдвэрийг юунд үндэслэн гаргасан:
  • Хувь хүний туршлага ба санал бодол (баримтжуулаагүй)
  • การสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ

4. Техникийн дэмжлэг, чадавхи бүрдүүлэх, мэдлэгийн менежмент

4.1 Чадавхи бэхжүүлэх/сургалт

Газар эзэмшигчид / бусад оролцогч талуудад сургалт явуулсан уу?

Тийм

Хэн сургалтанд хамрагдсан бэ:
  • Газар ашиглагчид
Хэрэв шаардлагатай бол хүйс, нас, яс үндэс, гэх мэт. нэмнэ үү:

-

Сургалтын хэлбэр :
  • Ажил дээр
  • фермерээс -фермер
  • Олон нийтийн уулзалт
Хамрагдсан сэвдүүд:

การปรับแนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่ ภายใต้โครงการ “5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวงรัชกาลที่ 9” . ชื่อหัวข้อวิชาประกอบด้วย ศาสตร์พระราชา เกษตรทฤษฎีใหม่ และการจัดทำแผนผังแปลง แผนการผลิตของเกษตรกร การลดต้นทุนการผลิต ลดรายจ่าย การผลิตการสร้างผลผลิต/ การสร้างรายได้ การจัดทำบัญชีครัวเรือน

Тайлбар:

เพิ่มพูนความรู้ศาตร์พระราชา และหลักการทำเกษตรทฤษฎีใหม่

4.2 Зөвлөх үйлчилгээ

Газар ашиглагчдад зөвлөх үйлчилгээ авах боломжтой байдаг уу?

Тийм

Зөвлөх үйлчилгээ үзүүлсэн эсэхийг тогтоо:
  • Газар ашиглагчийн талбай дээр
Тодорхойлолт / тайлбар:

เกษตรกรที่สนใจเกษตรทฤษฎีใหม่ สามารถเข้ามาศึกษาเรียนรู้ และขอคำแนะนำได้ ณ ที่ตั้งแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ (คุณมะลิ คันธีระ) ตำบลรำพัน อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี หรือสอบถามได้ทางหมายเลขโทรศัพท์ 065-6903985

4.3 Институцийг бэхжүүлэх (байгууллагын хөгжил)

Арга барилаар дамжуулан институц байгуулагдаж эсвэл бэхжсэн үү?
  • Үгүй

4.4 Мониторинг ба үнэлгээ

Мониторинг болон үнэлгээ нь арга барилын хэсэг үү?

Тийм

Тайлбар:

การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ ภายใต้โครงการ “5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวงรัชกาลที่ 9” มีการตรวจและติดตามผล จากหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ

Тайлбар:

-

4.5 Судалгаа

Судалгаа арга барилын хэсэг нь байсан уу?

Үгүй

5. Санхүүгийн болон гадаад материаллаг дэмжлэг

5.1 ГТМ-ийн Арга барилын бүрэлдэхүүн хэсгийн жилийн төсөв

Хэрэв жилийн төсөв тодорхойгүй бол хягаарыг тодруулна уу:
  • < 2,000
Тайлбар (жнь: санхүүжилтийн гол эх үүсвэр / гол хандивлагчид):

กรมพัฒนาที่ดิน

5.2 Газар ашиглагчдад санхүүгийн / материаллаг дэмжлэг үзүүлсэн

Технологи / технологийг хэрэгжүүлэхэд газар ашиглагчид санхүүгийн / материаллаг дэмжлэг авсан уу?

Тийм

Хэрэв тийм бол дэмжлэгийн төрөл(үүд), нөхцөл, болон нийлүүлэгч(чид) бичнэ үү:

กรมพัฒนาที่ดิน สนับสนุนการดำเนินงานเกษตรทฤษฎีใหม่ สนับสนุนงบประมาณก่อสร้างบ่อน้ำในไร่นา และปัจจัยการผลิต

5.3 Тодорхой зардлыг даахад чиглэсэн дэмжлэгт (хөдөлмөрийн хүчийг оролцуулаад)

  • Хөдөө аж ахуй
Ямар хөрөнгө оруулалт татаасаар олгогдсоныг заана уу Ямар талбайн хэмжээнд Тэтгэмж, урамшууллыг тодорхойлно уу
Үр, үрсэлгээ хэсэгчлэн санхүүждэг 5,000
ปูนโดโลไมท์ ปูนมาร์ล 50,800
Хэрэв газар ашиглагчийн хөдөлмөрийн хүч чухал байсан бол энэ нь аль хэлбэр байсан:
  • бусад материаллаг дэмжлэгээр шагнагдсан
Тайлбар:

กรมพัฒนาที่ดิน สนับสนุนปัจจัยการผลิต ได้แก่ ปูนมาร์ล ปูนโลไมท์ เมล็ดพันธุ์ถั่วพร้า เชื้อจุลินทรีย์สารเร่ง พด. สำหรับผลิตปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพ แผ่นป้ายจุดเรียนรู้ แก่เจ้าของจุดเรียนรู้ (นางมะลิ คันธีระ วิทยากรหลัก) เกษตรกรผู้ใช้ที่ดินได้รับการสนับสนุนปูนโดโลไมท์ และปูนมาร์ล

5.4 Кредит

Арга барилын хүрээнд ГТМ-ийн үйл ажиллагаанд зориулж зээлд хамрагдсан уу?

Тийм

Нөхцөл байдлын тодорхойлолт (хүүгийн хэмжээ, эргэн төлөлт гэх мэт):

-

Зээлийн үйлчилгээ үзүүлэгчдийг тодорхойлно уу:

กองทุนหมู่บ้าน กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ และกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (สมาชิกออมเดือนละ 100 บาท และสมาชิกสามารถกู้เงินได้)

Зээлийн хүлээн авагчийг тодорхойлно уу:

กลุ่มเกษตรกร

5.5 Бусад урамшуулал, хэрэгсэл

ГТМ-ийн технологийг хэрэгжилтийг дэмжихэд ашигласан бусад урамшуулал, хэрэгсэл байсан уу?

Тийм

Хэрэв тийм бол, тодруулна уу:

ใช้พื้นที่เป็นจุดเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ โดยมีหมอดินอาสา (นางสาวมะลิ คันธีระ) เป็นวิทยากรหลักในการถ่ายทอดความรู้ร่วมกับเครือข่ายหมอดินอาสาตำบลรำพัน

6. Нөлөөллийн дүн шинжилгээ ба дүгнэлт

6.1 Арга барилын нөлөөллүүд

Арга барил нь орон нутгийн газар ашиглагчдыг чадваржуулах, оролцогч талуудын оролцоог сайжруулсан уу?
  • Үгүй
  • Тийм, бага зэрэг
  • Тийм, зарим
  • Тийм, их

เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ (มีรายได้จากขายผลผลิตทางการเกษตรหลากหลายชนิด) มีการรวมกลุ่มเกษตรกร

Арга барил нь нотолгоонд суурилсан шийдвэр гаргах боломж олгосон уу?
  • Үгүй
  • Тийм, бага зэрэг
  • Тийм, зарим
  • Тийм, их

เกษตกรบางรายหันมาปรับเปลี่ยนการใช้ที่ดินจากการปลูกเชิงเดี่ยวเป็นเกษตรทฤษฎีใหม่ /เกษตรผสมผสาน มุ่งเน้นการพึ่งพาตนเองได้

Арга барил нь ГТМ-ийн технологийг хэрэгжүүлж, хадгалахад газар ашиглагчдад тусласан уу?
  • Үгүй
  • Тийм, бага зэрэг
  • Тийм, зарим
  • Тийм, их

เกษตรกรในชุมชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ และนำไปปฏิบัติใช้ในพื้นที่ของตนเอง

Арга барил нь ГТМ-ийн зардал хэмнэсэн хэрэгжилт, зохицуулалтыг сайжруулсан уу?
  • Үгүй
  • Тийм, бага зэрэг
  • Тийм, зарим
  • Тийм, их

มีเครื่อข่ายหมอดินอาสา กลุ่มเกษตรกร กลุ่มแปรรูปสินค้าเกษตร และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

Арга барил нь ГТМ-ийн хэрэгжилтийн санхүүгийн эх үүсвэрийн хүртээмжийг сайжруулах / эргэлтэнд оруулахад чиглэсэн үү?
  • Үгүй
  • Тийм, бага зэрэг
  • Тийм, зарим
  • Тийм, их

เครือข่ายช่วยให้เข้าถึงแหล่งเงินทุน โดยเฉพาะกองทุนต่างๆ เกษตรกรสามารถกู้เงินในอัตราดอกเบี้ยต่ำเพื่อนำมาใช้ทางการเกษตรได้

Арга барил нь ГТМ хэрэгжүүлэхэд газар ашиглагчдын мэдлэг, чадварыг сайжруулахад хүргэсэн үү?
  • Үгүй
  • Тийм, бага зэрэг
  • Тийм, зарим
  • Тийм, их

หน่วยงานภาครัฐ จัดฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้เรื่องเกษตรทฤษฎีใหม่แก่เกษตรกร

Энэ арга барил бусад сонирхогч талуудын мэдлэг, чадавхийг сайжруулсан уу?
  • Үгүй
  • Тийм, бага зэрэг
  • Тийм, зарим
  • Тийм, их

หน่วยงานภาครัฐ จัดฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้เรื่องเกษตรทฤษฎีใหม่แก่เกษตรกร

Арга барил нь газар ашиглагч залуучууд / дараагийн үеийн хүмүүсийг ГТМ-д оролцохыг хөхүүлэн дэмжсэн үү?
  • Үгүй
  • Тийм, бага зэрэг
  • Тийм, зарим
  • Тийм, их

เกษตรทฤษฎีใหม่มีการเผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ เช่น สื่อทีวี วิทยุ ยูทูป เยาวชนรุ่นใหม่ที่สนใจสามารถศึกษาหาความรู้ได้ และสามารถเข้ามาเรียนรู้ในแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ของคุณมะลิ คันธีระ เพื่อนำไปปรับใช้ในพื้นที่ของตนเองได้

Арга барил нь чанаржуулсан шим тэжээл/ хүнсний аюулгүй байдалд хүргэсэн үү?
  • Үгүй
  • Тийм, бага зэрэг
  • Тийм, зарим
  • Тийм, их

การผลิตสินค้าเกษตรทั้งพืชและสัตว์ ในแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นการเกษตรโดยใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมี ทำให้ได้ผลผลิตที่ปลอดภัย

Арга барил нь зах зээлийн хүртээмжийг сайжруулсан уу?
  • Үгүй
  • Тийм, бага зэрэг
  • Тийм, зарим
  • Тийм, их

มีผลผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยหลากหลายชนิด เป็นที่ต้องการของตลาด

6.2 ГТМ-ийг хэрэгжүүлэх газар ашиглагчидын гол санаачилга

  • үйлдвэрлэл нэмэгдсэн

รูปแบบการผลิตหลากหลายชนิด

  • Ашиг нэмэгдсэн (боломж), зардал-үр ашгийн харьцаа сайжирсан

มีรายได้หมุนเวียน เกษตรกรใช้ชีวิตแบบพอเพียง

  • Газрын доройтол буурсан

รูปแบบการทำเกษตรทฤษฎีใหม่เน้นการใช้สารอินทรีย์
ช่วยลดและฟื้นฟูความเสื่อมโทรมของดินทางเคมี

  • Сүлжээ/ бүлэг төсөл/ хөдөлгөөнд гишүүнээр элсүүлэх

มีเครือข่ายหมอดินอาสาเข้มแข็ง

  • ГТМ-ийн мэдлэг, туршлага дээшилсэн

ได้จากการปฏิบัติเป็นประจำ และการไปศึกษาดูงานต่างพื้นที่

6.3 Арга барилын үйл ажиллагааны тогтвортой байдал

Газар ашиглагчид арга барилаар дамжуулан хэрэгжүүлсэн арга хэмжээг тогтвортой хадгалж чадах уу (гадны дэмжлэггүйгээр)?
  • Тийм
Хэрэв тийм бол яаж гэдгийг тайлбарлана уу:

เครือข่ายหมอดินอาสานำแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ไปปฏิบัติใช้ในพื้นที่ของตนเอง สามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยใช้แรงงานตนเอง/แรงงานในครัวเรือน อยู่แบบพอเพียง และนำไปบอกต่อแก่เกษตรกรแปลงข้างเคียงให้นำแนวทางนี้ไปใช้ได้

6.4 Арга барилын тогтвортой/давуу тал/боломжууд

Газар ашиглагчдын тодорхойлсон давуу тал/боломжууд
1) เกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สามารถพึ่งพาตนเองได้
2) หน่วยงานภาครัฐให้การสนับสนุนการดำเนินงานเกษตรทฤษฎีใหม่ของเครือข่ายหมอดินอาสา/กลุ่มสมาชิก
3) การรวมกลุ่มเกษตรกรทำให้เกิดความเข้มแข็ง รัก และสามัคคีกัน
Эмхэтгэгч, бусад мэдээлэл өгсөн хүмүүсийн өнцгөөс тодорхойлсон давуу тал/боломжууд
1 หน่วยงานภาครัฐถือเป็นหน่วยงานหลักที่ช่วยสนับสนุน ส่งเสริมเกษตรกรในโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
2)ทฤษฎีใหม่มุ่งเน้นการใช้สารอินทรีย์/วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในแปลงมาเป็นวัตถุดิบในการทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพไว้ใช้เอง ช่วยลดต้นทุนการผลิต

6.5 Арга барилын дутагдалтай/сул тал/аюул болон тэдгээрийн хэрхэн даван туулах арга замууд

Газар ашиглагч нарын тодорхойлсон сул тал/ дутагдал/ эрсдэл Тэдгээрийг хэрхэн даван туулах вэ?
1) แรงงานไม่พอ ค่าแรงงานสูง ใช้แรงงานในครัวเรือน และใช้เครื่องทุนแรง เช่น เครื่องตัดหญ้า
2) ขาดความรู้เรื่องการผลิตพืช ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม
3)น้ำมีไม่เพียงพอสำหรับใช้ทำการเกษตร -เพิ่มพื้นที่กักเก็บน้ำ/ขุดบ่อน้ำในไร่นา ขุดลอกคลองธรรมชาติ โดยใช้แรงงานในครัวเรือน หรือขอสนับสนุนงบประมาณดำเนินการจากหน่วยงานภาครัฐ/ท้องถิ่น
-สูบน้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติมากักเก็บไวในบ่อน้ำในไร่นา
Эмхэтгэгч, бусад мэдээлэл өгсөн хүмүүсийн өнцгөөс тодорхойлсон сул тал/ дутагдал/ эрсдэл Тэдгээрийг хэрхэн даван туулах вэ?
1)แนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่ มีข้อจำกัดในด้านการยอมรับจากเกษตรกร เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่มุ่งเน้นผลกำไร แต่ทฤษฎีใหม่คือการใช้ชีวิตแบบพอเพียง เน้นให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้ เร่งสร้างความตระหนักรู้แก่เกษตรกร ในเรื่องการใช้ชีวิตแบบพอเพียงตามแนวทฤษฎีใหม่ และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

7. Суурь мэдээлэл болон холбоосууд

7.1 Мэдээллийн эх үүсвэр/аргууд

  • Хээрийн уулзалт, судалгаа

-

  • Газар ашиглагчтай хийсэн ярилцлага

5

  • ГТМ-ийн мэргэжилтэн/шинжээчтэй хийсэн ярилцлага

1

7.2 Холбогдох бүтээлийн ишлэл

Гарчиг, зохиогч, он, ISBN:

-

Хаанаас авч болох вэ? Зардал?

-

7.3 Холбогдох мэдээллийн интернет дэх нээлттэй холбоосууд

Гарчиг/ тодорхойлолт :

-

URL:

-

Модулууд