เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา Organic Farm on Moderate Hillside Slope [Tailândia]
- Criação:
- Atualização:
- Compilador/a: Kukiat SOITONG
- Editor: –
- Revisores: Rima Mekdaschi Studer, William Critchley
-
technologies_4242 - Tailândia
Veja as seções
Expandir tudo Recolher tudo1. Informação geral
1.2 Detalhes do contato das pessoas capacitadas e instituições envolvidas na avaliação e documentação da tecnologia
usuário de terra:
มงคลกาญจนคุณ นายพัฒน์พงษ์
-
Tailândia
1.3 Condições em relação ao uso da informação documentada através de WOCAT
O/a compilador/a e a(s) pessoa(s) capacitada(s) aceitam as condições relativas ao uso de dados documentados através da WOCAT:
Sim
1.4 Declaração de sustentabilidade da tecnologia descrita
A tecnologia descrita aqui é problemática em relação a degradação da terra de forma que não pode ser declarada uma tecnologia de gestão sustentável de terra?
Não
Comentários:
เกษตรกรสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง
1.5 Referência ao(s) questionário(s) sobre abordagens GST (documentado(s) usando WOCAT)
กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ [Tailândia]
กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เป็นการรวมกลุ่มของเกษตรกรที่ดำเนินการทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยได้จัดให้มีศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย เพื่อเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ร่วมกัน
- Compilador/a: Kukiat SOITONG
2. Descrição da tecnologia de GST
2.1 Descrição curta da tecnologia
Definição da tecnologia:
เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา เป็นการจัดการพื้นที่ ดินและน้ำ ให้สามารถผลิตสินค้าทางการเกษตรที่ปลอดภัยได้อย่างยั่งยืน
2.2 Descrição detalhada da tecnologia
Descrição:
(1)เทคโนโลยีนำไปใช้ที่ไหน(สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของมนุษย์
พื้นที่ทำการเกษตร ที่เป็นที่ลาดเชิงเขา ดินมีลักษณะเป็นดินร่วนปนกรวด ง่ายต่อการชะล้างพังทลาย และยังขาดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำ ทำให้ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง มีการทำการเกษตรเชิงเดี่ยว ได้แก่ การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่มีการใช้ปัจจัยการผลิตและใช้เงินลงทุนมาก เช่น ปุ๋ยเคมี สารกำจัดศัตรูพืชและวัชพืช อย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดสารพิษตกค้างในผลผลิต เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
)(2) อะไรคือลักษณะหรือองค์ประกอบที่สำคัญของเทคโนโลยี
องค์ประกอบที่สำคัญของเทคโนโลยีระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
1.สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน ด้วยการใช้พืชปุ๋ยสด(ปอเทือง สลับกับถั่วพร้า)และการใช้ ปุ๋ยหมัก
2.การจัดการพื้นที่ โดย ปลูกหญ้าแฝก บนที่ลาดเชิงเขา เพื่อชะลอการไหลของน้ำ และแบ่งพื้นที่ทำการเกษตรตามความลาดชัน
3. สร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ เช่น ขุดสระน้ำ หรือ ขุดบ่อบาดาล
4. การจัดทำ Buffer Zone
5. การจัดการ โรคและแมลง ด้วยสารชีวภัณฑ์
6. กำจัดวัชพืช ด้วยวิธีการตัดหญ้าคลุมดิน
(3)อะไรคือจุดประสงค์หรือหน้าที่ของเทคโนโลยี
จุดประสงค์ของ เทคโนโลยีระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
1 เพื่อฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน สร้างสมดุลให้กับระบบนิเวศน์ และเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ
2. เพื่อลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มรายได้
3. เพื่อให้มีสุขภาพดีขึ้น
(4)กิจกรรมที่สำคัญหรือปัจจัยการผลิตที่จำเป็นในการจัดตั้งหรือบำรุงรักษาสภาพเทคโนโลยี
ขั้นตอนการปฏิบัติในการจัดทำระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
1.สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน
1.1 ปลูกพืชปุ๋ยสด โดยใช้ปอเทือง สลับกับถั่วพร้า ปลูก 6 ครั้งต่อปี ต่อเนื่อง 2 ปี
1.1.1 การปลูกปอเทือง
ใช้วิธีการปลูกแบบหว่าน ใช้เมล็ดประมาณ 5 กิโลกรัม/ไร่ แล้วทำการคราดกลบตื้นๆ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ปอเทืองจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.1.2 วิธีการปลูกถั่วพร้า
ใช้วิธีการปลูกแบบโรยเป็นแถว โดยใช้เมล็ดโรยลงในแถว ซึ่งมีระยะระหว่างแถว 75 – 100เซนติเมตร เมื่อโรยเมล็ดลงในแถวแล้วกลบเมล็ดด้วยดินบาง ๆ ในอัตรา 5 - 8 กิโลกรัมต่อไร่ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ถั่วพร้าจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.2 ใช้ปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ในฟาร์ม และใช้น้ำหมักชีวภาพ
2. การจัดการพื้นที่
2.1 ปลูกหญ้าแฝก บนที่ลาดเชิงเขา เพื่อชะลอการไหลของน้ำ ดักตะกอนดิน และเป็นการควบคุมแมลงศัตรูพืช
2.2 ให้จัดการพื้นที่และปลูกพืชตามความลาดชัน เป็น 2 ระดับคือ
-ที่ลาดเชิงเขา ปลูกไผ่ ไม้ผล ป่าใช้สอย
-ที่ราบ ปลูกกล้วย มะละกอ พืชผักสวนครัว ฝรั่ง สมุนไพร ไม้ผล
3. สร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ โดยขุดสระน้ำ และขุดบ่อบาดาล เพื่อใช้ในการอุปโภค และทำการเกษตรครอบคลุมพื้นที่ 34 ไร่ โดยการใช้ระบบสปริงเกอร์ และให้น้ำตามความลาดชันของพื้นที่ นอกจากนี้ มีการให้น้ำหมักชีวภาพ ผ่านระบบสปริงเกอร์
4. การจัดทำ Buffer Zone โดยปลูกไผ่ ป่าไม้ใช้สอย และขึงสแลนสูง 2.50 เมตร ในด้านที่ไม่สามารถปลูกต้นไม้ได้ เพื่อป้องกันสารเคมีที่ปลิวมาจากด้านข้าง
5. การจัดการ โรคและแมลง ใช้สารชีวภัณฑ์ เช่น น้ำหมักชีวภาพ พ.ด 7
6. กำจัดวัชพืช ด้วยวิธีการตัดหญ้าคลุมดิน เพื่อรักษาความชื้นในดินและเพิ่มอินทรยวัตถุให้แก่ดิน
7 การจัดทำบัญชีฟาร์ม เพื่อให้ทราบต้นทุน กำไร-ขาดทุน ในการบริหารและจัดการฟาร์ม
5)ประโยชน์ที่ได้รับหรือผลกระทบของเทคโนโลยีคืออะไรบ้าง
1 พื้นที่ที่ทำการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น
2 สามารถลดต้นทุนการผลิตได้
3 ผลผลิตทางการเกษตรที่ได้มีความปลอดภัย ไม่มีสารพิษตกค้าง ทำให้ขายผลผลิตได้ราคาดีขึ้น
4. ทำให้สุขภาพของเกษตรกร ดีขึ้น
3)โอกาส
3.1 ทำให้เกิดความร่วมมือของผู้ผลิตกับหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งภาครัฐที่เข้ามาร่วมสนับสนุน
3.2 มีโอกาสได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้า ทำให้เป็นที่ต้องการของตลาด
3.3 รัฐมีนโยบายสนันสนุนด้านเกษตรอินทรีย์ ทำให้เกิดความร่วมมือของภาครัฐและเกษตรกร สร้างเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันได้มากขึ้น
2.3 Fotos da tecnologia
2.4 Vídeos da tecnologia
Comentários, breve descrição:
-
Localização:
-
Nome do cinegrafista:
-
2.5 País/região/locais onde a tecnologia foi aplicada e que estão cobertos nesta avaliação
País:
Tailândia
Região/Estado/Província:
กาญจนบุรี
Especificação adicional de localização:
บ้านทุ่งนา ม.4 ต.หนองเป็ด อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี
Especifique a difusão da tecnologia:
- Aplicado em pontos específicos/concentrado numa pequena área
Comentários:
-
Map
×2.6 Data da implementação
Indique o ano de implementação:
2004
2.7 Introdução da tecnologia
Especifique como a tecnologia foi introduzida:
- através de projetos/intervenções externas
Comentários (tipos de projeto, etc.):
กรมส่งเสริมการเกษตร
3. Classificação da tecnologia de GST
3.1 Principal/principais finalidade(s) da tecnologia
- Melhora a produção
- Reduz, previne, recupera a degradação do solo
3.2 Tipo(s) atualizado(s) de uso da terra onde a tecnologia foi aplicada
Terra de cultivo
- Cultura perene (não lenhosa)
- Cultura de árvores e arbustos
- มะม่วง มะละกอ มะพร้าว ฝรั่ง เงาะ ไผ่
Pastagem
Comentários:
-
3.3 O uso do solo mudou devido à implementação da Tecnologia?
Comentários:
-
3.4 Abastecimento de água
Outros (p. ex. pós-inundação):
- บ่อบาดาล
Comentários:
-
3.5 Grupo de GST ao qual pertence a tecnologia
- Quebra-vento/cerca de árvores
- Gestão integrada plantação-criação de animais
- Gestão integrada de fertilidade do solo
3.6 Medidas de GST contendo a tecnologia
Medidas agronômicas
- A2: Matéria orgânica/fertilidade do solo
Medidas vegetativas
- V1: cobertura de árvores/arbustos
Comentários:
-
3.7 Principais tipos de degradação da terra abordados pela tecnologia
Erosão do solo pela água
- Wt: Perda do solo superficial/erosão de superfície
Deteriorização química do solo
- Cn: declínio de fertilidade e teor reduzido de matéria orgânica (não causado pela erosão)
Degradação biológica
- Bq: quantidade/ declínio da biomassa
Comentários:
-
3.8 Redução, prevenção ou recuperação da degradação do solo
Especifique o objetivo da tecnologia em relação a degradação da terra:
- Prevenir degradação do solo
- Reduzir a degradação do solo
4. Especificações técnicas, implementação de atividades, entradas e custos
4.1 Desenho técnico da tecnologia
Especificações técnicas (relacionada ao desenho técnico):
พื้นที่การเกษตร ขนาด 39 ไร่ ทิศเหนือติดเขตรักษาพรรณสัตว์ป่าสลักพระ ทิศใต้ติดถนน
ขั้นตอนการปฏิบัติในการจัดทำระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
2.สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน
1.1 ปลูกพืชปุ๋ยสด โดยใช้ปอเทือง สลับกับถั่วพร้า ปลูก 6 ครั้งต่อปี ต่อเนื่อง 2 ปี
1.1.1 การปลูกปอเทือง
ใช้วิธีการปลูกแบบหว่าน ใช้เมล็ดประมาณ 5 กิโลกรัม/ไร่ แล้วทำการคราดกลบตื้นๆ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ปอเทืองจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.1.2 วิธีการปลูกถั่วพร้า
ใช้วิธีการปลูกแบบโรยเป็นแถว โดยใช้เมล็ดโรยลงในแถว ซึ่งมีระยะระหว่างแถว 75 – 100เซนติเมตร เมื่อโรยเมล็ดลงในแถวแล้วกลบเมล็ดด้วยดินบาง ๆ ในอัตรา 5 - 8 กิโลกรัมต่อไร่ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ถั่วพร้าจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.2 ใช้ปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ในฟาร์ม และใช้น้ำหมักชีวภาพ
2. การจัดการพื้นที่
2.1 ปลูกหญ้าแฝก บนที่ลาดเชิงเขา เพื่อชะลอการไหลของน้ำ ดักตะกอนดิน และเป็นการควบคุมแมลงศัตรูพืช
2.2 ให้จัดการพื้นที่และปลูกพืชตามความลาดชัน เป็น 2 ระดับคือ
-ที่ลาดเชิงเขา ปลูกไผ่ ไม้ผล ป่าใช้สอย
-ที่ราบ ปลูกกล้วย มะละกอ พืชผักสวนครัว ฝรั่ง สมุนไพร ไม้ผล
3. สร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ โดยขุดสระน้ำ และขุดบ่อบาดาล เพื่อใช้ในการอุปโภค และทำการเกษตรครอบคลุมพื้นที่ 34 ไร่ โดยการใช้ระบบสปริงเกอร์ และให้น้ำตามความลาดชันของพื้นที่ นอกจากนี้ มีการให้น้ำหมักชีวภาพ ผ่านระบบสปริงเกอร์
4. การจัดทำ Buffer Zone โดยปลูกไผ่ ป่าไม้ใช้สอย และขึงสแลนสูง 2.50 เมตร ในด้านที่ไม่สามารถปลูกต้นไม้ได้ เพื่อป้องกันสารเคมีที่ปลิวมาจากด้านข้าง
5. การจัดการ โรคและแมลง ใช้สารชีวภัณฑ์ เช่น น้ำหมักชีวภาพ พ.ด 7
6. กำจัดวัชพืช ด้วยวิธีการตัดหญ้าคลุมดิน เพื่อรักษาความชื้นในดินและเพิ่มอินทรยวัตถุให้แก่ดิน
7 การจัดทำบัญชีฟาร์ม เพื่อให้ทราบต้นทุน กำไร-ขาดทุน ในการบริหารและจัดการฟาร์ม
Autor:
-
Data:
2016
4.2 Informação geral em relação ao cálculo de entradas e custos
Especifique como custos e entradas foram calculados:
- por área de tecnologia
Indique o tamanho e a unidade de área:
39 ไร่
Outro/moeda nacional (especifique):
Thai Baht
Se for relevante, indique a taxa de câmbio do USD para moeda local (por exemplo, 1 USD = 79,9 Real): 1 USD =:
32,0
Indique a média salarial da mão-de-obra contratada por dia:
300บาท
4.3 Atividades de implantação
Atividade | Periodicidade (estação do ano) | |
---|---|---|
1. | ปรับปรุง | ก่อนปลูก |
2. | ระบบน้ำ | ฤดูแล้ง |
3. | การกำจัดวัชพืช | ระหว่างปลูก |
4. | การกำจัดศัตรูพืช | ระหว่างปลูก |
5. | แนวกันชน | ฤดูฝน |
6. | การใช้หญ้าแฝก | ฤดูฝน |
7. | การทำบัญชีฟาร์ม | ตลอดปี |
4.4 Custos e entradas necessárias para a implantação
Especifique a entrada | Unidade | Quantidade | Custos por unidade | Custos totais por entrada | % dos custos arcados pelos usuários da terra | |
---|---|---|---|---|---|---|
Mão-de-obra | 1.1การปลูกปอเทือง | ครั้ง | 2,0 | 900,0 | 1800,0 | 100,0 |
Mão-de-obra | 1.2สับกลบปอเทือง | ครั้ง | 2,0 | 900,0 | 1800,0 | 100,0 |
Mão-de-obra | 1.3ฉีดน้ำหมักชีวภาพ | ครั้ง | 2,0 | 900,0 | 1800,0 | 100,0 |
Mão-de-obra | 1.4ใส่ปุ๋ยหมัก | ครั้ง | 1,0 | 1800,0 | 1800,0 | 100,0 |
Equipamento | 1.5ใส่ปูนโดโลไมท์ | ครั้ง | 1,0 | 1600,0 | 1600,0 | 100,0 |
Equipamento | 2.ใส่ปุ๋ยหมักปรับปรุงดิน | ครั้ง | 1,0 | 9000,0 | 9000,0 | 100,0 |
Equipamento | 3.กำจัดวัชพืช | ครั้ง | 8,0 | 9600,0 | 76800,0 | 100,0 |
Equipamento | 4.กำจัดศัตรูพืช | ครั้ง | 24,0 | 600,0 | 14400,0 | 100,0 |
Equipamento | 5.ใช้ตาข่ายพรางแสงเป็นแนวกันชน | ม้วน | 2,0 | 600,0 | 1200,0 | 100,0 |
Equipamento | 6.ปลูกต้นไม้เป็นแนวกันชน | ครั้ง | 2,0 | 600,0 | 1200,0 | 100,0 |
Equipamento | 7.ดูแลรักษาตัดแต่งหญ้าแฝก | ครั้ง | 8,0 | 900,0 | 7200,0 | 100,0 |
Equipamento | อุปกรณ์ต่อบ่อบาดาล | บ่อ | 3,0 | 30000,0 | 90000,0 | 100,0 |
Material vegetal | ตาข่ายพรางแสง | ม้วน | 2,0 | 1700,0 | 3400,0 | 100,0 |
Material vegetal | ค่าเมล็ดพันธุ์ปอเทือง | กก. | 63,0 | 33,0 | 2079,0 | 100,0 |
Material vegetal | ค่าต้นไม้ปลูกแนวกันชน | ต้น | 100,0 | 10,0 | 1000,0 | 100,0 |
Material vegetal | พันธุ์กล้าหญ้าแฝก | กล้า | 150000,0 | 0,73 | 109500,0 | 100,0 |
Fertilizantes e biocidas | 1.การปรับปรุงพื้นที่ทำการเกษตร | |||||
Fertilizantes e biocidas | 1.1น้ำหมักชีวภาพ | ลิตร | 50,0 | 20,0 | 1000,0 | 100,0 |
Fertilizantes e biocidas | 1.2โดโลไมท์ | กก. | 4200,0 | 4,0 | 16800,0 | 100,0 |
Fertilizantes e biocidas | 2.ปุ๋ยหมักปรับปรุงดิน | กก. | 5500,0 | 4,0 | 22000,0 | 100,0 |
Fertilizantes e biocidas | 3.สารไล่แมลง | ลิตร | 50,0 | 30,0 | 1500,0 | 100,0 |
Outros | 1.การปจัดการพื้นที่ทำการเกษตร | |||||
Outros | 1.1ค่าไถพื้นที่ | ไร่ | 21,0 | 500,0 | 10500,0 | 100,0 |
Outros | 2.บ่อบาดาล | บ่อ | 3,0 | 70000,0 | 210000,0 | 100,0 |
Custos totais para a implantação da tecnologia | 586379,0 | |||||
Custos totais para o estabelecimento da Tecnologia em USD | 18324,34 |
Se o usuário da terra arca com menos que 100% dos custos, indique quem cobre os custos remanescentes:
-
Comentários:
-
4.5 Atividades recorrentes/manutenção
Atividade | Periodicidade/frequência | |
---|---|---|
1. | 1. ระบบน้ำ | 2 ครั้งต่อปี ก่อน-หลังฤดูฝน |
2. | 2.การกำจัดวัชพืช | 12 ครั้งต่อปี ระหว่างฤดูปลูกพืช |
3. | 3. การกำจัดศัตรูพืช | 12 ครั้งต่อปีระหว่างฤดูปลูกพืช |
4. | 4.แนวกันชน | 2 ครั้งต่อปี ก่อนและหลังฤดูปลูก |
5. | 5.การใช้หญ้าแฝก | 12 ครั้งต่อปี ระหว่างฤดูปลูก |
Comentários:
-
4.6 Custos e entradas necessárias pata a manutenção/atividades recorrentes (por ano)
Especifique a entrada | Unidade | Quantidade | Custos por unidade | Custos totais por entrada | % dos custos arcados pelos usuários da terra | |
---|---|---|---|---|---|---|
Mão-de-obra | 1.ค่ากำจัดวัชพืชในแปลง | ครั้ง | 8,0 | 1200,0 | 9600,0 | 100,0 |
Mão-de-obra | 2.ค่ากำจัดศัตรูพืช | ครั้ง | 24,0 | 600,0 | 14400,0 | 100,0 |
Mão-de-obra | 3.ค่าซ่อมแซมแนวกันชน | ครั้ง | 6,0 | 300,0 | 1800,0 | 100,0 |
Mão-de-obra | 4.ค่าตัดแต่งแนวหญ้าแฝก | ครั้ง | 8,0 | 900,0 | 7200,0 | 100,0 |
Outros | 1.ค่าไฟฟ้าเกี่ยวกับระบบน้ำ | เดือน | 12,0 | 500,0 | 6000,0 | 100,0 |
Custos totais para a manutenção da tecnologia | 39000,0 | |||||
Custos totais de manutenção da Tecnologia em USD | 1218,75 |
Se o usuário da terra arca com menos que 100% dos custos, indique quem cobre os custos remanescentes:
-
Comentários:
-
4.7 Fatores mais importantes que afetam os custos
Descreva os fatores mais determinantes que afetam os custos:
ค่าสาธารณูปโภค1.ค่าไฟฟ้า 2. ค่าเจาะบ่อบาดาลพร้อมวางระบบน้ำ 3. ค่าแรงงานและขนส่ง
5. Ambiente natural e humano
5.1 Clima
Precipitação pluviométrica anual
- <250 mm
- 251-500 mm
- 501-750 mm
- 751-1.000 mm
- 1.001-1.500 mm
- 1.501-2.000 mm
- 2.001-3.000 mm
- 3.001-4.000 mm
- > 4.000 mm
Especifique a média pluviométrica anual em mm (se conhecida):
1600,00
Especificações/comentários sobre a pluviosidade:
เป็นพื้นที่เงาฝน (rain shadow) ทำให้มีฝนตกน้อย อากาศร้อนจัดในฤดูร้อน และหนาวจัดในฤดูหนาว โดยมีอุณหภูมิสูงสุดประมาณ 44-45 องศาเซล-เซียสในเดือนเมษายน อุณหภูมิต่ำสุดในเดือนธันวาคมประมาณ 8-9 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 27 องศาเซล-เซียส ช่วงฤดูฝนเริ่มตกจากกลางเดือนเมษายน และสิ้นสุดในช่วงกลางเดือนตุลาคม
Indique o nome da estação meteorológica de referência considerada:
-
Zona agroclimática
- úmido
-
5.2 Topografia
Declividade média:
- Plano (0-2%)
- Suave ondulado (3-5%)
- Ondulado (6-10%)
- Moderadamente ondulado (11-15%)
- Forte ondulado (16-30%)
- Montanhoso (31-60%)
- Escarpado (>60%)
Formas de relevo:
- Planalto/planície
- Cumes
- Encosta de serra
- Encosta de morro
- Sopés
- Fundos de vale
Zona de altitude:
- 0-100 m s.n.m.
- 101-500 m s.n.m.
- 501-1.000 m s.n.m.
- 1.001-1.500 m s.n.m.
- 1.501-2.000 m s.n.m.
- 2.001-2.500 m s.n.m.
- 2.501-3.000 m s.n.m.
- 3.001-4.000 m s.n.m.
- > 4.000 m s.n.m.
Indique se a tecnologia é aplicada especificamente em:
- Posições côncavas
Comentários e outras especificações sobre a topografia:
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบบนภูเขา ติดอ่างเก็บน้ำเขื่อนศรีนครินทร์ สภาพภูมิประเทศเป็นภูเขาหินปูนและหินตะกอนเป็นส่วนใหญ่ ระดับความสูง สูงสุดประมาณ 1,100 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง โดยมีความสูงเฉลี่ยประมาณ 400 เมตร
5.3 Solos
Profundidade do solo em média:
- Muito raso (0-20 cm)
- Raso (21-50 cm)
- Moderadamente profundo (51-80 cm)
- Profundo (81-120 cm)
- Muito profundo (>120 cm)
Textura do solo (solo superficial):
- Médio (limoso, siltoso)
Textura do solo (>20 cm abaixo da superfície):
- Fino/pesado (argila)
Matéria orgânica do solo superficial:
- Médio (1-3%)
5.4 Disponibilidade e qualidade de água
Lençol freático:
> 50 m
Disponibilidade de água de superfície:
Bom
Qualidade da água (não tratada):
apenas para uso agrícola (irrigação)
A salinidade da água é um problema?
Não
Ocorre inundação da área?
Não
Comentários e outras especificações sobre a qualidade e a quantidade da água:
-
5.5 Biodiversidade
Diversidade de espécies:
- Médio
Diversidade de habitat:
- Médio
Comentários e outras especificações sobre biodiversidade:
-
5.6 Características dos usuários da terra que utilizam a tecnologia
Sedentário ou nômade:
- Sedentário
Orientação de mercado do sistema de produção:
- misto (subsistência/comercial)
Rendimento não agrícola:
- Menos de 10% de toda renda
Nível relativo de riqueza:
- Média
Indivíduos ou grupos:
- Indivíduo/unidade familiar
Nível de mecanização:
- Trabalho manual
Gênero:
- Homens
Idade dos usuários da terra:
- meia-idade
Indique outras características relevantes dos usuários da terra:
-
5.7 Área média de terrenos utilizados pelos usuários de terrenos que aplicam a Tecnologia
- < 0,5 ha
- 0,5-1 ha
- 1-2 ha
- 2-5 ha
- 5-15 ha
- 15-50 ha
- 50-100 ha
- 100-500 ha
- 500-1.000 ha
- 1.000-10.000 ha
- > 10.000 ha
É considerado pequena, média ou grande escala (referente ao contexto local)?
- Grande escala
Comentários:
-
5.8 Propriedade de terra, direitos de uso da terra e de uso da água
Propriedade da terra:
- Indivíduo, intitulado
Direitos do uso da terra:
- Indivíduo
Direitos do uso da água:
- Indivíduo
Especifique:
-
Comentários:
-
5.9 Acesso a serviços e infraestrutura
Saúde:
- Pobre
- Moderado
- Bom
Educação:
- Pobre
- Moderado
- Bom
Assistência técnica:
- Pobre
- Moderado
- Bom
Emprego (p. ex. não agrícola):
- Pobre
- Moderado
- Bom
Mercados:
- Pobre
- Moderado
- Bom
Energia:
- Pobre
- Moderado
- Bom
Vias e transporte:
- Pobre
- Moderado
- Bom
Água potável e saneamento:
- Pobre
- Moderado
- Bom
Serviços financeiros:
- Pobre
- Moderado
- Bom
Comentários:
-
6. Impactos e declarações finais
6.1 Impactos no local mostrados pela tecnologia
Impactos socioeconômicos
Produção
Produção agrícola
Comentários/especificar:
-
Qualidade da safra
Comentários/especificar:
-
Produção animal
Comentários/especificar:
-
Diversidade de produtos
Comentários/especificar:
-
Gestão de terra
Comentários/especificar:
-
Disponibilidade e qualidade de água
Qualidade da água potável
Comentários/especificar:
-
Renda e custos
Despesas com insumos agrícolas
Comentários/especificar:
-
Rendimento agrícola
Comentários/especificar:
-
Diversidade de fontes de rendimento
Carga de trabalho
Comentários/especificar:
-
Impactos socioculturais
Segurança alimentar/auto-suficiência
Comentários/especificar:
-
Estado de saúde
Comentários/especificar:
-
Instituições comunitárias
Comentários/especificar:
-
Conhecimento de GST/ degradação da terra
Comentários/especificar:
-
Impactos ecológicos
Solo
Umidade do solo
Comentários/especificar:
-
Perda de solo
Comentários/especificar:
-
Ciclo e recarga de nutrientes
Comentários/especificar:
-
Matéria orgânica do solo/carbono abaixo do solo
Comentários/especificar:
-
Biodiversidade: vegetação, animais
Diversidade vegetal
Comentários/especificar:
-
Clima e redução de riscos de desastre
Impactos da seca
Comentários/especificar:
-
Emissão de carbono e gases de efeito estufa
Comentários/especificar:
-
Risco de incêndio
Comentários/especificar:
-
Velocidade do vento
Comentários/especificar:
-
Especificar a avaliação dos impactos no local (medidas):
-
6.2 Impactos externos mostrados pela tecnologia
Sedimentação a jusante
Comentários/especificar:
-
Poluição de água subterrânea/rio
Comentários/especificar:
-
Danos em áreas vizinhas
Comentários/especificar:
-
Especificar a avaliação dos impactos fora do local (medidas):
-
6.3 Exposição e sensibilidade da tecnologia às mudanças climáticas graduais e extremos/desastres relacionados ao clima (conforme o ponto de vista dos usuários da terra)
Mudança climática gradual
Mudança climática gradual
Estação do ano | aumento ou diminuição | Como a tecnologia lida com isso? | |
---|---|---|---|
Temperatura anual | redução/diminuição | moderadamente | |
Temperatura sazonal | redução/diminuição | moderadamente | |
Precipitação pluviométrica anual | moderadamente | ||
Precipitação pluviométrica sazonal | moderadamente |
Extremos (desastres) relacionados ao clima
Desastres meteorológicos
Como a tecnologia lida com isso? | |
---|---|
Temporal local | moderadamente |
Desastres climatológicos
Como a tecnologia lida com isso? | |
---|---|
Seca | bem |
Incêndio florestal | moderadamente |
Desastres biológicos
Como a tecnologia lida com isso? | |
---|---|
Doenças epidêmicas | não bem |
Outras consequências relacionadas ao clima
Outras consequências relacionadas ao clima
Como a tecnologia lida com isso? | |
---|---|
Período de crescimento alogado | não bem |
Período de crescimento reduzido | bem |
Comentários:
-
6.4 Análise do custo-benefício
Como os benefícios se comparam aos custos de implantação (do ponto de vista dos usuários da terra)?
Retornos a curto prazo:
levemente negativo
Retornos a longo prazo:
positivo
Como os benefícios se comparam aos custos recorrentes/de manutenção(do ponto de vista dos usuários da terra)?
Retornos a curto prazo:
neutro/balanceado
Retornos a longo prazo:
positivo
Comentários:
-
6.5 Adoção da tecnologia
- 1-10%
Se disponível, determine a quantidade (número de unidades familiares e/ou área abordada):
10 ครัวเรือน
De todos aqueles que adotaram a Tecnologia, quantos o fizeram espontaneamente, ou seja, sem receber nenhum incentivo/ pagamento material?
- 0-10%
Comentários:
-
6.6 Adaptação
A tecnologia foi recentemente modificada para adaptar-se as condições variáveis?
Sim
Outros (especificar):
ปรับเปลี่ยนเรื่องค่าใช้จ่ายต้องประหยัดมากขึ้น ต้องมีความละเอียดมากขึ้น (สังเกตมากขึ้น)
Especifique a adaptação da tecnologia (desenho, material/espécie, etc):
ปรับลดการใช้พลังงานโดยการใช้โซล่าร์เซลล์ในการใช้น้ำบาดาล
6.7 Pontos fortes/vantagens/oportunidades da tecnologia
Pontos fortes/vantagens/oportunidades na visão do usuário da terra |
---|
1.1 พื้นที่ที่ทำการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น |
1.2 สามารถลดต้นทุนการผลิตได้ |
1.3 ผลผลิตทางการเกษตรที่ได้มีความปลอดภัยไม่มีสารพิษตกค้าง |
2.1 ขายผลผลิตได้ราคาดีขึ้น |
2.2 ทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง |
2.3 เป็นพื้นที่ที่สามารถส่งผลผลิตสู่ตลาดอย่างง่าย เส้นทางคมนาคมสะดวก |
2.4 เกษตรกรได้รับความรู้และมีประสบการณ์ในการทำการเกษตรดีกว่าเกษตรกรรายอื่นๆ |
3.1 มีการร่วมมือของผู้ผลิตกับหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งภาครัฐที่เข้ามาร่วมสนับสนุน |
3.2 ได้รับตราสัญลักษณ์รับรองมาตรฐานสินค้าทำให้ผู้บริโภคเชื่อมั่นเป็นที่ต้องการของตลาด |
Pontos fortes/vantagens/oportunidades na visão do/a compilador/a ou de outra pessoa capacitada |
---|
1)ได้มีนโยบายของภาครัฐที่ช่วยสนันสนุนด้านการเกษตรอินทรีย์ |
2)ได้มีการร่วมมือของภาครัฐและผู้ผลิตทำให้สามารถแข่งขันได้มากขึ้น |
6.8 Pontos fracos, desvantagens/riscos da tecnologia e formas de superá-los
Pontos fracos/desvantagens/riscos na visão do usuário da terra | Como eles podem ser superados? |
---|---|
1.1 ต้องใช้เวลาเพิ่มมากขึ้นในการทำการเกษตรแบบระบบอินทรีย์ | 1.1 หานวัตรกรรมและเทคโนโลยีต่างๆเข้ามาช่วย |
1.2 ต้องทำแนวกันชนแปลงตัวเองเพิ่มมากขึ้นเพื่อป้องกันสารพิษของแปลงเพื่อนบ้าน | 1.2 ต้องมีการออกกฏหมายคุ้มครองสำหรับการทำเกษตรอินทรีย์ |
2.1 ต้องเสียเวลานานและมีหลายขั้นตอนในการขอใบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ | 2.1 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปรับหลักเกณฑ์ทำให้เหมาะสม |
2.2 ต้องใช้เวลาและแรงงานพร้อมจัดหาวัสดุในการทำปุ๋ยอิทรีย์ใช้เอง | 2.2 หาวัสดุในพื้นที่นำมาใช้เพื่อลดต้นทุนการผลิต |
3.1 ผู้บริโภคยังสับสนไม่รู้ว่าเกษตรอินทรีย์คืออะไร | 3.1 ให้ความรู้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น |
3.2อุปสรรคเรื่องของราคา เนื่องจากมีต้นทุนสูง | 3.2 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยประชาสัมพันธ์และหาตลาดรองรับ |
Pontos fracos/vantagens/riscos na visão do/a compilador/a ou de outra pessoa capacitada | Como eles podem ser superados? |
---|---|
1)เกษตรกรยังขาดการวางแผนในเรื่องของการใช้ที่ดินอย่างเป็นระบบ | 1.ให้ความรู้และข้อมูลต่างๆมากขึ้น |
2.เกษตรกรยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการปรับปรุงบำรุงดิน | 2.ให้หน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องให้ความรู้ที่ครอบคลุมรอบด้าน |
3)เกษตรกรยังขาดความเข้าใจในเรื่องของความต่อเนื่องของการผลิตและการตลาด | 3. ให้เรียนรู้ในเรื่องของการผลิตและการตลาดให้รู้ทันเหตุการณ์ |
4)การกำหนดราคายังเป็นปัญหาใหญ่เนื่องจากมีการผันผวนของราคราอยู่มาก | 4.ให้ภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยกำกับดูแลอย่างแท้จริง |
7. Referências e links
7.1 Métodos/fontes de informação
7.2 Referências às publicações disponíveis
Título, autor, ano, ISBN:
-
Disponível de onde? Custos?
-
7.3 Links para informações on-line relevantes
Título/ descrição:
-
7.4 Comentários gerais
-
Links e módulos
Expandir tudo Recolher tudoLinks
กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ [Tailândia]
กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เป็นการรวมกลุ่มของเกษตรกรที่ดำเนินการทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยได้จัดให้มีศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย เพื่อเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ร่วมกัน
- Compilador/a: Kukiat SOITONG
Módulos
Não há módulos