Подходы

กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ [Таиланд]

-

approaches_4243 - Таиланд

Просмотреть разделы

Развернуть все
Завершённость: 100%

1. Общая информация

1.2 Контактные данные специалистов и организаций, участвующих в описании и оценке Подхода

Ответственный (-ые) специалист (-ы)

co-compiler:
ผู้รวบรวม:
землепользователь:

มงคลกาญจนคุณ นายพัฒน์พงษ์

084-5276227 / -

- / -

-

119/1.....ม.4.....ต.หนองเป็ดอำเภอ.ศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรีรหัสไปรษณีย์ 71250

Таиланд

землепользователь:

เรียงรวบ นายมานพ

086-9865017 / -

- / -

-

1/1.....ม.2....ต.หนองเป็ด....อ.ศรีสวัสดิ์....จ.กาญจนบุรี

Таиланд

землепользователь:

วิสารทเวคิน นายชวลิต

034-696169 / 089-8976212

- / -

-

99…ม.3....ต.หนองเป็ด.....อ.ศรีสวัสดิ์........จ.กาญจนบุรี

Таиланд

землепользователь:

พิศูจน์ นางทิพยมาศ

089-8251578 / -

- / -

-

83…..ม.4.....ต.หนองเป็ด....อ.ศรีสวัสดิ์.....จ.กาญจนบุรี

Таиланд

1.3 Условия, регламентирующие использование собранных ВОКАТ данных

Составитель и ответственный/-ые специалист(-ы) согласны с условиями, регламентирующими использование собранных ВОКАТ данных:

Да

1.4 Ссылка (-и) на Анкету (-ы) по Технологиям УЗП

เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา Organic Farm on Moderate Hillside Slope
technologies

เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา Organic Farm on Moderate Hillside Slope [Таиланд]

เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา เป็นการจัดการพื้นที่ ดินและน้ำ ให้สามารถผลิตสินค้าทางการเกษตรที่ปลอดภัยได้อย่างยั่งยืน

  • Составитель: Kukiat SOITONG

2. Описание Подхода УЗП

2.1 Краткое описание Подхода

กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เป็นการรวมกลุ่มของเกษตรกรที่ดำเนินการทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยได้จัดให้มีศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย เพื่อเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ร่วมกัน

2.2 Подробное описание Подхода

Подробное описание Подхода:

1. อะไรคือลักษณะที่สำคัญหรือคุณลักษณะที่เห็นเด่นชัดของแนวทาง
กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เป็นแนวทางของการจัดการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา เป็นการทำเกษตรที่ให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศการเกษตรในไร่นา ดังนั้นจึงจำเป็นต้องพัฒนาการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติและการบริหารจัดการฟาร์มของตนเ ผลที่ตามมาก็คือเกษตรอินทรีย์จึงเป็นแนวทางการเกษตรที่ตั้งอยู่บนกระบวนการแห่งการเรียนรู้และภูมิปัญญา เพราะเกษตรกรต้องสังเกต ศึกษา วิเคราะห์-สังเคราะห์ และสรุปบทเรียนเกี่ยวกับการทำการเกษตรของฟาร์มตนเอง ซึ่งจะมีเงื่อนไขทั้งทางกายภาพ เช่น ลักษณะของดิน ภูมิอากาศ รวมถึงเศรษฐกิจ-สังคมที่แตกต่างจากพื้นที่อื่น เพื่อคัดสรรและพัฒนาแนวทางเกษตรอินทรีย์ที่เฉพาะและเหมาะสมกับพื้นที่ของตัวเอง

2. อะไรคือเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของแนวทาง
การตั้ง กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์
1.เพื่อ ให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยให้มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันผ่านการจัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย
2. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์และสามารถจัดการสินค้าเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่การผลิตจนถึงการตลาด

3. วิธีการใดที่ถูกเอามาใช้
กระบวนการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนของกลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ ได้นำวิธีการต่อไปนี้มาปรับใช้
1 มีการRaising Farmers’ Awareness
2 การเรียนรู้จากการลงมือทำจริง Learning by Doing
3 การจัดการระบบการเรียนรู้ภายในกลุ่ม Farmers’ Learning System
4 Farmers’ Group Management

4. ขั้นตอนของการเอาไปปฏิบัติใช้มีอันไหนบ้าง
1.จัดตั้ง กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์
2.เชิญชวนเกษตรกร ที่มีความสนใจและมีความต้องการปรับเปลี่ยนมาจัดตั้งกลุ่ม
3.จัดตั้งคณะกรรมการบริหารกลุ่ม เพื่อดำเนินการขับเคลื่อนกิจกรรมกลุ่ม
4. อบรม สมาชิกในกลุ่มให้มีความรู้ด้านการผลิต และกระบวนการจัดการสินค้าเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำจนถึงปลายน้ำ ให้ได้มาตรฐานการผลิดสินค้าเกษตรอินทรีย์ –
5. สร้างกระบวนการถ่ายทอดความรู้ ผ่านการปฏิบัติจริงภายในศูนย์เรียนรู้ การวางแผนและการบริหารจัดการฟาร์มด้วยตนเอง
6.จัดให้มีระบบตรวจสอบภายในกลุ่ม เพื่อรักษามาตรฐานการผลิตตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย
7. ศึกษาดูงาน
8. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยใช้สื่อต่างๆ ได้แก่ แผ่นพับ วิดีโอ youtube การให้สัมภาษณ์ผ่านสื่อโทรทัศน์ และวิทยุ
9. ส่งเสริมและสนับสนุน จากหน่วยงาน ได้แก่ กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริมการเกษตร กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิต


5 ผู้มีส่วนได้เสียมีผู้ใดที่เกี่ยวข้องและบทบาทของบุคคลเหล่านั้นมีอะไรบ้าง
5.1 เกษตรกรสมาชิกและผู้นำเกษตรรกร มีบทบาทในการถ่ายทอดความรู้ การจัดตั้งกลุ่มที่มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน
5.2 หน่วยงานของรัฐ มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณและปัจจัยการผลิต และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
5.3 หน่วยงานเอกชน มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
5.4 ผู้ส่งออกสินค้าเกษตรอินทรีย์ มีบทบาทในการช่วยกระจายสินค้าเกษตรอินทรียำปยังต่างประเทศ

(6) สิ่งที่ผู้ใช้ที่ดินชอบหรือไม่ชอบเกี่ยวกับแนวทาง
จุดแข็งของกลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์
1) กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ มีการบูรณาการ ร่วมกันทั้งเกษตรกร ภาครัฐ และเอกชน
2 การดำเนินงานแบบกลุ่มทำให้มีอำนาจต่อรองและ สามารถติดต่อกับตลาดได้โดยตรง
3) การรวมกล่มเรียนรู้ทำให้เกิดมีความรู้ทักษะและประสบการณ์ในด้านเกษตรอินทรีย์ได้ดีขึ้น
4) ความซือสัตย์ของเกษตรกรที่เป็นสมาชิก จะทำให้กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์มีความเข้มแข็ง
5) การถ่ายทอดความรู้ และการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ทำให้เกษตรกรสามารถนำความรู้ไปใช้ในพื้นที่ของตนเองได้อย่างเหมาะสม

2.3 Фотографии, иллюстрирующие Подход

Общие замечания к фотографиям:

-

2.4 Видеоматериалы по применению Подхода

Комментарий, краткое описание:

-

Место:

-

Автор съемки:

-

2.5 Страна/ регион/ место, где применялся Подход

Страна:

Таиланд

Административная единица (Район/Область):

กาญจนบุรี

Более точная привязка места:

บ้านหนองเป็ด..ม.4...ต.หนองเป็ด....อ.ศรีสวัสดิ์...จ.กาญจนบุรี

Комментарии:

-

2.6 Даты начала и окончания реализации Подхода

Год начала реализации:

2006

Комментарии:

เกษตรกรมีการทำเกษตรอินทรีย์อย่างต่อเนื่อง

2.7 Тип Подхода

  • в рамках проекта/ программы

2.8 Каковы цели/ задачи Подхода

การตั้ง กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์
1.เพื่อ ให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยให้มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันผ่านการจัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย

2. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์และสามารถจัดการสินค้าเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่การผลิตจนถึงการตลาด

2.9 Условия содействующие применению Технологии/ Технологий в рамках Подхода или затрудняющие его

Социальные/ культурные/ религиозные нормы и ценности
  • затрудняют

คนในสังคมส่วนมากยังเห็นต่างยังทำเกษตรสารเคมีทำให้ยากต่อการป้องกันการปนเปื่อนของสารเคมีจากแปลงรอบข้าง

Наличие/ доступность финансовых ресурсов и услуг
  • содействуют

มีหน่วยงานทางการเงินมาให้แหล่งทุนเช่น ธกส.และกองทุนหมู่บ้าน

Институциональные условия
  • содействуют

มีหน่วยงานที่เข้าร่วมสนับสนุนหลายหน่วยงาน ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร สถานีพัฒนาที่ดิน และการไฟฟ้าเขื่อนศรีนครินทร์

Сотрудничество/ координация действий
  • содействуют

หน่วยงานต่างๆร่วมบูรณาการในพื้นที่

Нормативно-правовая база (землевладение, права на земле- и водопользование)
  • затрудняют

ยังขาดเอกสารสิธิ์อยู่ในพื้นที่เขตป่าไม้ถาวรทำให้ขาดสิทธิในใช้ประโยชน์ที่ดินด้านต่างๆ

Программные документы/ руководящие установки
  • содействуют

เป็นวาระแห่งชาติ

Осведомленность в области УЗП, доступность технической поддержки
  • содействуют

เกษตรกรสามารถติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ได้สะดวก รวดเร็วมีหน่วยงานสนับสนุน

Рынки (для приобретения материалов и услуг, продажи продукции) и цены
  • содействуют

เป็นผลผลิตที่เป็นความต้องการของตลาด

другие
  • затрудняют

ขาดแคลนแรงงานและค่าแรงขั้นต่ำมีราคาสูง

3. Участие и распределение ролей заинтересованных сторон

3.1 Заинтересованные стороны, участвующие в реализации Подхода и их роли

  • местные землепользователи/ местные сообщества

เกษตรกรเจ้าของพื้นที่และสมาชิกกล่ม

-

  • учителя/ преподаватели/ школьники / студенты

ครู นักเรียน-โรงเรียน มหาวิทยาลัย

-

  • частный сектор

การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

-

  • государственные власти (отвечающие за планирование или принятие решений)

หน่วยงานภาครัฐ กพด ,กสก,-กระทรวงพลังงาน กรมพัฒนาชุมชน

-

  • международные организации

มีองค์กร FAO เข้ามาเยี่ยมเยียนให้คำปรึกษาและแนะนำ

-

Если участвовало несколько заинтересованных сторон, назовите ведущую организацию:

-

3.2 Участие местных землепользователей/ местных сообществ на разных стадиях реализации Подхода
Участие местных землепользователей/ местных сообществ Перечислите участников и опишите их вовлеченность
инициирование/ мотивация самоорганизация หน่วยงานของรัฐ กสก กพด ให้การสนับสนุนมีการประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารต่างๆ.
планирование интерактивное หน่วยงานของรัฐและเกษตรกร ร่วมกันดำเนินการวางแผนประชุม ตรวจสอบพื้นที่ในขั้นตอนการทำเกษตรอินทรีย์
выполнение интерактивное เกษตรกรและหน่วยงานภาครัฐ เอกชน
мониторинг/ оценка интерактивное หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน และสมาชิกภายในกล่ม

3.3 Схема реализации (если имеется)

Описание:

เป็นขั้นตอนต่างๆในการจัดตั้งกล่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เชิญชวนเกษตรกร ที่มีความสนใจและมีความต้องการปรับเปลี่ยนมาจัดตั้งกลุ่ม จัดตั้งคณะกรรมการบริหารกลุ่ม เพื่อดำเนินการขับเคลื่อนกิจกรรมกลุ่ม อบรม สมาชิกในกลุ่มให้มีความรู้ด้านการผลิต และกระบวนการจัดการสินค้าเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำจนถึงปลายน้ำ ให้ได้มาตรฐานการผลิดสินค้าเกษตรอินทรีย์ สร้างกระบวนการถ่ายทอดความรู้ ผ่านการปฏิบัติจริงภายในศูนย์เรียนรู้ การวางแผนและการบริหารจัดการฟาร์มด้วยตนเอง จัดให้มีระบบตรวจสอบภายในกลุ่ม เพื่อรักษามาตรฐานการผลิตตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย มีการศึกษาดูงาน เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยใช้สื่อต่างๆ ได้แก่ แผ่นพับ วิดีโอ youtube การให้สัมภาษณ์ผ่านสื่อโทรทัศน์ และวิทยุส่งเสริมและสนับสนุน จากหน่วยงาน ได้แก่ กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริมการเกษตร กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

Автор:

-

3.4 Принятие решений по выбору Технологии/ Технологий УЗП

Укажите, кто принимал решение по выбору применяемой Технологии/ Технологий:
  • все участники как часть процесса совместных действий
Поясните:

-

Поясните на чём было основано принятие решений:
  • личный опыт и мнения (незадокументированные)

4. Техническая поддержка, повышение компетенций и управление знаниями

4.1 Повышение компетенций/ обучение

Проводилось ли обучение землепользователей/ других заинтересованных лиц?

Да

Укажите, кто проходил обучение:
  • землепользователи
  • นักศึกษา
Если существенно, укажите гендерный и возрастной состав, статус, этническую принадлежность и т.д.

-

Тип обучения:
  • обмен опытом между фермерами
  • курсы
Рассматриваемые темы:

เทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน

Комментарии:

เป็นการให้ความรู้ในเรื่องของการทำเกษตรอินทรีย์อย่างเป็นระบบ

4.2 Консультационные услуги

Есть ли у землепользователей возможность получать консультации?

Да

Укажите, где именно оказываются консультационные услуги:
  • в постоянно функционирующих центрах
Описание/ комментарий:

มีเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวห้องให้คำแนะนำอย่างสม่ำเสมอ

4.3 Институциональная (организационная) поддержка

В ходе реализации Подхода были ли организованы новые институциональные структуры или поддержаны уже существующие?
  • да, умеренно
Укажите уровень, на котором структуры были укреплены или вновь созданы:
  • местные
Опишите организацию, функции и ответственность, членство и т.д.

-

Укажите тип поддержки:
  • финансовая
  • повышение компетенций/ обучение
Подробнее:

กรมพัฒนาที่ดินและไฟฟ้าเขื่อนศรีนครินทร์ให้การสนับสนุนงบประมาณ

4.4 Мониторинг и оценка

Являются ли мониторинг и оценка частью Подхода?

Да

Комментарии:

มีการติดตามตรวจสอบประเมินผล

Если да, будет ли данный документ использоваться для мониторинга и оценки?

Да

4.5 Научные исследования

Были ли научные исследования частью Подхода?

Нет

5. Финансирование и внешняя материальная поддержка

5.1 Годовой бюджет мероприятий по УЗП в рамках Подхода

Если точный годовой бюжет неизвестен, укажите примерный диапазон затрат:
  • > 1 000 000
Комментарий (например, основные источники финансирования/ ключевые доноры):

กรมพัฒนาที่ดินและไฟฟ้าฝ่ายผลิต กระทรวงพลังงาน

5.2 Финансирование и внешняя материальная поддержка, предоставляемая землепользователям

Предоставлялась ли землепользователям финансовая/ материальная поддержка для применения Технологии /Технологий?

Да

Если да, укажите тип(-ы) поддержки, кто ее предоставил и условия предоставления:

อาคาร อุปกรณ์การเกษตร โรงแปรรูป ผลิตภัณฑ์และเครื่องบรรจุภัณฑ์

5.3 Субсидии на отдельные затраты (включая оплату труда)

  • оборудование
Укажите, какие ресурсы были субсидированы В какой степени Опишите субсидии подробнее
техника профинансированы полностью 1.อาคารโรงเรือน 500,000บาท 2.โรงแปรรูป 60,000บาท 3.เครื่องบรรจุภัณฑ์ 190,000บาท 4.แผงโซล่าเซลล์ 160,000บาท
инвентарь/ инструменты профинансированы полностью
  • сельскохозяйственные
Укажите, какие ресурсы были субсидированы В какой степени Опишите субсидии подробнее
семена профинансированы полностью 1.กรมพัฒนาที่ดินสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ปอเทือง 2,000บาท 2.กรมพัฒนาที่ดินสนับสนุนกล้าหญ้าแฝกจำนวน20000กล้าเป็นเงิน14600บาท 3.กรมพัฒนาที่ดินสนับสนุนปูนโดโลไมท์จำนวน4200กิโลกรัมเป็นเงิน16800บาท
Если труд землепользователя был существенным вкладом, укажите, был ли этот вклад:
  • добровольный
Комментарии:

-

5.4 Кредитование

Предоставлялись ли в рамках Подхода кредиты на мероприятия УЗП?

Нет

5.5 Другие методы или инструменты стимулирования

Использовались ли другие методы или инструменты стимулирования для продвижения Технологий УЗП?

Да

Если да, поясните:

กรมพัฒนาที่ดินและไฟฟ้าเขื่อนศรีนครินทร์ช่วยส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรอินทรีย์ทั้งวัสดุและอุปกรณ์พร้อมกับภาครัฐมีนโยบายช่วยส่งเสริม

6. Анализ влияния и заключительные положения

6.1 Влияние Подхода

Сумел ли Подход расширить возможности местных землепользователей, повысить участие заинтересованных сторон?
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

เกษตรกรมีการทำการเกษตรอย่างต่อเนื่องและมีรายได้หมุนเวียน

Сумел ли Подход дать возможность принимать решения на основе подтвержденных фактов?
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

มีการนำความรู้ต่อยอดและมีรายได้เสริม

Сумел ли Подход помочь землепользователям внедрить и поддерживать технологии УЗП?
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

เกษตรกรประยุกต์ใช้เทคโนโลยีต่างๆ

Сумел ли Подход улучшить согласованность действий и повысить рентабельность применения практик УЗП:
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น/ได้แนะนำ/แรงจูงใจและมีหน่วยงานสนับสนุน

Сумел ли Подход расширить знания и возможности землепользователей в применении практик УЗП?
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นทำให้มีประสบการณ์ด้านเกษตรอินทรีย์

Сумел ли Подход расширить знания и возможности других заинтересованных сторон?
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

ได้แนะนำให้เพื่อนบ้านและผู้ใช้เกษตรอินทรีย์ปรับใช้ตาม

Сумел ли Подход укрепить сотрудничество между заинтересоваными сторонами/ выстроить механизмы сотрудничества?
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

มีการติดต่อประสานงานและมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน

Сумел ли Подход стимулировать молодежь/ будущее поколение землепользователей заниматься УЗП?
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

มีการติดต่อประสานงานและมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน

Сумел ли Подход способствовать улучшению продовольственой безопасности/ качества питания?
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

มีการติดต่อประสานงานและมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน

Сумел ли Подход улучшить способность землепользователей адаптироваться к изменениям климата и смягчать последствия катастрофических погодных явлений?
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

ปรับการแก้ปัญหาเรื่องภัยแล้งโดยการขุดบ่อบาดาล

6.2 Основные причины, побуждающие землепользователей внедрять УЗП

  • рост продуктивности

ปลูกพืชหลากหลายและเป็นที่ต้องการของตลาด

  • рост прибыли (доходности) и рентабельности

ผลผลิตที่ได้ปลอดภัย มีคุณภาพเป็นที่ต้องการของ
ตลาด

  • снижение риска катастрофических погодных явлений

ลดการชะล้างพังทลายของดิน

  • экологическая сознательность

ทำให้ปลอดภัยจากสารเคมี สิ่งแวดล้อมดีขึ้น

  • приобретение знаний и опыта в области УЗП

มีหน่วยงานหลายหน่วยงานช่วยสนับสนุนและให้ความรู้ทำให้มีทักษะและประสบการณ์มากยิ่งขึ้น

6.3 Долгосрочная устойчивость мероприятий в рамках Подхода

Могут ли землепользователи самостоятельно (без внешней поддержки) продолжать применение того, что было реализовано в рамках Подхода?
  • да
Если да, опишите как:

ทำให้สามารถปลูกพืชได้ผลผลิตที่ปลอดภัย มีใบรับรองจากภาครัฐ ทำให้สินค้าเป็นที่ต้องการของตลาดและขายรายได้สูง

6.4 Сильные стороны/ преимущества Подхода

Сильные стороны/ преимущества/ возможности по мнению землепользователей
1) กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ มีการบูรณาการ ร่วมกันทั้งเกษตรกร ภาครัฐ และเอกชน
2 การดำเนินงานแบบกลุ่มทำให้มีอำนาจต่อรองและ สามารถติดต่อกับตลาดได้โดยตรง
3) การรวมกล่มเรียนรู้ทำให้เกิดมีความรู้ทักษะและประสบการณ์ในด้านเกษตรอินทรีย์ได้ดีขึ้น
4) ความซือสัตย์ของเกษตรกรที่เป็นสมาชิก จะทำให้กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์มีความเข้มแข็ง
5) การถ่ายทอดความรู้ และการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ทำให้เกษตรกรสามารถนำความรู้ไปใช้ในพื้นที่ของตนเองได้อย่างเหมาะสม
Сильные стороны/ преимущества/ возможности по мнению составителя или других ключевых специалистов
1 ทำให้เกิดการวางแผนการใช้ที่ดินอย่างเป็นระบบ
2) ทำให้เกิดสินค้าที่มีมาตรฐานและได้รับการรับรอง จากหน่วยงาน ทำให้สินค้าเป็นที่ต้องการของตลาด
3) การที่รัฐกำหนดให้ เกษตรอินทรีย์ เป็นนโยบายแห่งชาติ ทำให้เป็นที่รู้จักและมีผู้สนใจมากขึ้น
4)มีช่องทางจำหน่ายผลผลิตที่หลากหลาย ทำให้ผู้บริโภคเข้าถึงได้ง่าย
5) ทำให้คนรุ่นใหม่เข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น
6) ทำให้เกิดพฤติกรรมต้องการบริโภคอาหารสุขภาพ มากขึ้น

6.5 Слабые стороны/ недостатки Подхода и пути их преодоления

Слабые стороны/ недостатки/ риски по мнению землепользователей Возможные пути их преодоления/снижения?
1)หน่วยงานภาครัฐยังขาดประชาสัมพันธ์และให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ให้ภาครัฐมีนโยบายและสนันสนุนอย่างต่อเนื่อง
2ต้องใช้เวลาและความอดทนในการทำเกษตรอินทรีย์ หาเครื่องเมือเครื่องจักรเข้ามาช่วยดำเนินการ
3)พื้นที่ทำการเกษตรอย่าห่างไกลจากตลาดทำให้การขนส่งไม่สะดวกและไกล เพิ่มตลาดในพื้นที่ใกล้เคียงให้มากขึ้น
4)ผู้บริโภคยังขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องผลผลิตจากเกษตรอินทรีย์ ให้หน่วยงานภาครัฐช่วยส่งเสริมอย่างจริงจัง
5)การบรรจุภัณฑ์ยังไม่สวยงานและทันสมัยที่จะดึงดูดผู้บริโภคได้. ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยในการออกแบบและส่งเสริมให้เป็นที่ต้องการของผู้บริโภค
Слабые стороны/ недостатки/ риски по мнению составителя или ответственных специалистов Возможные пути их преодоления/снижения?
1)ผลผลิตจากการทำเกษตรอินทรีย์มีปริมาณน้อยกว่าระบบเกษตรใช้สารเคมี รวมกลุ่มสมาชิกผู้สนใจเรื่องเกษตรอินทรีย์เพิ่มผลิตให้มากขึ้นให้หน่วยงานภาครัฐมีการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง

7. Справочные материалы и ссылки

7.1 Методы сбора/источники информации

  • опросы землепользователей
  • опросы специалистов/экспертов по УЗП

-

7.2 Ссылки на опубликованные материалы

Название, автор, год публикации, ISBN:

กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

Где опубликовано? Стоимость?

http://www.ldd.go.th/www/lek_web/

Название, автор, год публикации, ISBN:

กรมวิชาการเกษตร

Где опубликовано? Стоимость?

http://www.doa.go.th/main/

Название, автор, год публикации, ISBN:

กรมส่งเสริมการเกษตร

Где опубликовано? Стоимость?

www.doae.go.th

7.3 Ссылки на материалы, доступные онлайн

Название/ описание:

-

Адрес в сети Интернет:

-

Модули