Bio-fermentation technology for soil improvement
- 创建:
- 更新:
- 编制者: Kukiat SOITONG
- 编辑者: –
- 审查者: Rima Mekdaschi Studer, William Critchley
Num Mak She Wa Parp
technologies_4233
查看章节
全部展开 全部收起1. 一般信息
1.2 参与该技术评估和文件编制的资源人员和机构的联系方式
关键资源人
SLM专业人员:
ผู้รวบรวม:
ดุรงค์กาญจน์ นายสาโรช
สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 กรมพัฒนาที่ดิน
泰国
土地使用者:
สนลอย นางวันเพ็ญ
เกษตรกร และหมอดินอาสาประจำจังหวัดปราจีนบุรี กรมพัฒนาที่ดิน
泰国
SLM专业人员:
สนลอย นางวันเพ็ญ
เกษตรกร และหมอดินอาสาประจำจังหวัดปราจีนบุรี กรมพัฒนาที่ดิน
泰国
SLM专业人员:
สนลอย นางวันเพ็ญ
เกษตรกร และหมอดินอาสาประจำจังหวัดปราจีนบุรี กรมพัฒนาที่ดิน
泰国
1.3 关于使用通过WOCAT记录的数据的条件
编制者和关键资源人员接受有关使用通过WOCAT记录数据的条件。:
是
1.4 所述技术的可持续性声明
这里所描述的技术在土地退化方面是否存在问题,导致无法被认为是一种可持续的土地管理技术?:
否
注释:
การใช้เทคโนโลยีชีวภาพในพื้นที่ดินค่อนข้างเป็นทราย เสื่อมโทรม ช่วยปรับปรุงโครงสร้างดิน เพิ่มจุลินทรีย์ในดิน ทำให้ดินร่วนซุย ช่วยลดการใช้สารเคมี และช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม
2. SLM技术的说明
2.1 技术简介
技术定义:
Bio-fermentation technology for soil improvement is an alternative technology that helps to restore degraded land from intensive land usage which lack of soil improvement to get back to be the soil productivity that can provide effective production.
2.2 技术的详细说明
说明:
The area has chemical and physical degradation problems. The area is the lowland. The soil is quite sandy. The soil structure is poor which the draining system is quite bad. The organic matter, soil nutrients and soil fertility is low.
Farmers use the land to grow rice but have the low rice yield. Farmers have changed their rice fields to grow their crops instead.
Which changing the area from the normal rice field by digging the ditch for 1 meter wide on growing area, 1 meter wide for the drain and 0.80 meters deep)that grow durian, banana, lime, vegetable (Climbing Wattle)
The weed management by using chemicals and chemical fertilizers in the high rate continuously to make the soil degrade or dense and grow the ineffective crops.
Bio-fermentation technology for soil improvement consists of the production of 3 types of biological fermentation and the usage of 3 types of biological fermentation as follows:
1. Product Processions of bio-fermented water
The methods of the 3 types bio-fermented producing are as follows.
1.1 Production of bio-fermented from the fish fraction by using the Microbial Activators from LDD.
1.2. Production of photosynthetic microorganisms
1.3 Production of Bio-Fermented Water from rice flour water
2. How to use the bio-fermentation to improve the soil
Mix the three bio-nutrients at a rate of 1: 1: 1 per 200 litters of water and spray or pour on the ground every 3 days or use sprinkler system by releasing the bio-fermented water mix with water for 10 minutes followed and wash it with water for 3 minutes for 3 years (at the beginning of the growing season).
The usage of Bio-fermentation technology to improve the soil has the objective is to restore the degradation of agricultural land for a long term and using the high rate of chemical fertilizers continuously to be able to do the farm effectively.
The usage of Bio-fermentation technology to improve the soil has the important activities to do are following:
1. Product Processions of Bio-fermentation Solution
The methods of the 3 types bio-fermented producing are as follows.
1.1 Production of bio-fermented from the fish fraction by using the Microbial Activators PD2 by using the fish fraction about 10 kilograms, the fruit and vegetable fraction about 10 kilograms, molasses about 20 kilograms, the rice flour water or the banana fraction about 5 spire and the Microbial Activators PD 1 packet to mix everything in the tank size 120 litters for 3 months.
1.2. Production of photosynthetic microorganisms made by 5 eggs, 3 tablespoons of MSG, 1 tablespoon of fish sauce, 1 tablespoon of filtered water and 20 liters of pure water mixed in a homogeneous mixture at the rate of 1.5 liters per 200 liters of water for 7 days and it will be red (in case of using the pure water) and 1 month (in case of using clear water).
1.3 Production of bio-fermented solution from using 100 liter of rice flour water, 10 kilogram of sugar, 1 yakult bottle (curd) and 10 milliliters of fermented soy sauce in a 120 liters pot size fermentation tank for 3 months
2. The using steps of bio-fermented solution to improve the soil to improve the soil in the crop land for the different periods of cultivation as follows.
2.1. The early stage before the production period (1-3 years)
Mix the three types ofBio-fermentation solution at a rate of 1: 1: 1 per 200 litters of water and spray or pour on the ground every 3 days or use sprinkler system to release the bio-fermented water for 10 minutes and use the clear water later for 30 minutes
2.2 The yield period (more than 4 years)
To dissolve the bio-fermented which from the fish for 5 liters: 200 liters of water and spray or pour on the ground every 3 days or use sprinkler system to release the bio-fermented water for 10 minutes, followed by 30 minutes of the clear water.
1. Make the soil more fertile, organic matter and microorganisms in soil (earthworm). The benefits of nutrients in the soil increase. It can grow durian which can be sold at high prices (180 baht / tree).
2. Reduce the plant production costs due to using the waste materials from the land to be the fermentation materials. The farmers have increased income, lives are not dependent on themselves and the using the biotechnology does not have an impact on the environment.
1. This technology is the knowledge that is derived from experiential / practical experiments in the area of farmer prototype technology users which can see the real results from using it.
2. The methods / procedures are not complicated.
3. It is easy to use, not difficult mosquitoes.
4. There are multichannel technology has been released that the farmers can access it easily.
1. This technology (bio-fermentation / bio-extract) does not have any nutritional status checking which cannot be shown the quantity.
2. Farmers generally lack of the motivation to do and use.
2.3 技术照片
2.4 技术视频
注释、简短说明:
การใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการพัฒนาที่ดิน
日期:
07/03/2018
摄影师的名字:
กรมพัฒนาที่ดิน
2.5 已应用该技术的、本评估所涵盖的国家/地区/地点
区域/州/省:
ภาคตะวันออก/จังหวัดปราจีนบุรี
有关地点的进一步说明:
62/1 หมู่ 5 ตำบลไม้เค็ด อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี
Map
×2.6 实施日期
注明实施年份:
1997
如果不知道确切的年份,请说明大概的日期:
- 10-50年前
2.7 技术介绍
详细说明该技术是如何引入的:
- 通过土地使用者的创新
3. SLM技术的分类
3.1 该技术的主要目的
- 改良生产
- 减少、预防、恢复土地退化
- 保护生态系统
- 保持/提高生物多样性
3.2 应用该技术的当前土地利用类型
农田
- 乔木与灌木的种植
- การปลูกพืชผสมผสาน
每年的生长季节数:
- 2
具体说明:
-
注释:
-
3.3 由于技术的实施,土地使用是否发生了变化?
注释:
-
3.4 供水
该技术所应用土地的供水:
- 雨养
注释:
-
3.5 该技术所属的SLM组
- 土壤肥力综合管理
- 病虫害综合管理(包括有机农业)
3.6 包含该技术的可持续土地管理措施
其它措施
具体说明:
others การผลิตและการใช้น้ำหมักชีวภาพ
注释:
มีการทำเกษตรแบบผสมผสานทั้งไม้ผลและพืชผักสวนครัว
3.7 该技术强调的主要土地退化类型
化学性土壤退化
- Cn:肥力下降和有机质含量下降(非侵蚀所致)
物理性土壤退化
- Pc:压实
生物性退化
- Bl:土壤寿命损失
注释:
เกิดจากการใช้ปุ๋ยเคมีมากเกินความจำเป็น เกินความต้องการของพืชต่อเนื่อง เป็นระยะเวลานาน ทำให้ดินเสื่อมโทรม
3.8 防止、减少或恢复土地退化
具体数量名该技术与土地退化有关的目标:
- 减少土地退化
- 修复/恢复严重退化的土地
注释:
การใช้ปุ๋ยเคมีต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ทำให้สมบัติทางเคมีและชีวภาพของดิน เสื่อมโทรมลง จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟู
4. 技术规范、实施活动、投入和成本
4.1 该技术的技术图纸
技术规范(与技术图纸相关):
1.กระบวนการผลิต น้ำหมักชีวภาพ
วิธีการผลิตน้ำหมักชีวภาพ 3 สูตร มีดังนี้
1.1 การผลิตน้ำหมักชีวภาพจากเศษปลาด้วยสารเร่ง พด 2 ผลิตโดยใช้ เศษปลา 10 กก. เศษผัก/ผลไม้ 10 กก. กากน้ำตาล 20 กก. น้ำซาวข้าว/หน่อกล้วยสับ 5 หน่อ และสารเร่ง พด.2 1 ซอง หมักในถังหมักขนาด 120 ลิตร นาน 3 เดือน
2. วิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน
ให้นำน้ำหมักชีวภาพทั้งสามสูตรผสมกันในอัตรา1:1:1 ต่อน้ำ200 ลิตร ฉีดพ่นหรือรดลงดินทุกๆ 3 วัน หรือใช้ระบบสปริงเกอร์ โดยปล่อยน้ำหมักชีวภาพไปกับน้ำ 10 นาที ตามด้วยการล้างด้วยน้ำเปล่าอีก 30 นาที เป็นเวลา 3 ปี (ช่วงเริ่มต้นของการปลูกปลูกไม้ผล
作者:
นายสาโรช ดุรงค์กาญจน์
日期:
02/10/2018
技术规范(与技术图纸相关):
1.2.การผลิตจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง ผลิตโดยใช้ส่วนผลมไข่ไก่ ผงชูรส 3 ช้อนโต๊ะ น้ำปลา 1 แก้ว กะปิ 1 ช้อนโต๊ะ และน้ำกรองสะอาด 20 ลิตร ผสมจนเป็นเนื้อเดียวกัน ผสมนำในอัตรา 1.5 ลิตร ต่อน้ำ 200 ลิตร กรอกใส่ขวดพลาสติกใส วางตากแดด ใช้เวลา 7 วัน จะเกิดสีแดง (ในกรณีที่ใช้น้ำบริสุทธิ์) และใช้เวลา 1 เดือน (ในกรณีใช้น้ำประปาทั่วไป)
2. วิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน
ให้นำน้ำหมักชีวภาพทั้งสามสูตรผสมกันในอัตรา1:1:1 ต่อน้ำ200 ลิตร ฉีดพ่นหรือรดลงดินทุกๆ 3 วัน หรือใช้ระบบสปริงเกอร์ โดยปล่อยน้ำหมักชีวภาพไปกับน้ำ 10 นาที ตามด้วยการล้างด้วยน้ำเปล่าอีก 30 นาที เป็นเวลา 3 ปี (ช่วงเริ่มต้นของการปลูกปลูกไม้ผล
作者:
นายสาโรช ดุรงค์กาญจน์
日期:
02/10/2018
技术规范(与技术图纸相关):
1.3 การผลิตน้ำหมักชีวภาพจาก น้ำซาวข้าว ผลิตโดยใช้ น้ำซาวข้าว 100 ลิตร น้ำตาลทราย 10 กก. ยาคูลท์ 1 ขวด และซีอิ๊วดำ 10 มล. หมักในถังหมักขนาด 120 ลิตร นาน 3 เดือน
2. วิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน
ให้นำน้ำหมักชีวภาพทั้งสามสูตรผสมกันในอัตรา1:1:1 ต่อน้ำ200 ลิตร ฉีดพ่นหรือรดลงดินทุกๆ 3 วัน หรือใช้ระบบสปริงเกอร์ โดยปล่อยน้ำหมักชีวภาพไปกับน้ำ 10 นาที ตามด้วยการล้างด้วยน้ำเปล่าอีก 30 นาที เป็นเวลา 3 ปี (ช่วงเริ่มต้นของการปลูกปลูกไม้ผล
作者:
นายสาโรช ดุรงค์กาญจน์
日期:
02/10/2018
技术规范(与技术图纸相关):
1.3 การผลิตน้ำหมักชีวภาพจาก น้ำซาวข้าว ผลิตโดยใช้ น้ำซาวข้าว 100 ลิตร น้ำตาลทราย 10 กก. ยาคูลท์ 1 ขวด และซีอิ๊วดำ 10 มล. หมักในถังหมักขนาด 120 ลิตร นาน 3 เดือน
2. วิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน
ให้นำน้ำหมักชีวภาพทั้งสามสูตรผสมกันในอัตรา1:1:1 ต่อน้ำ200 ลิตร ฉีดพ่นหรือรดลงดินทุกๆ 3 วัน หรือใช้ระบบสปริงเกอร์ โดยปล่อยน้ำหมักชีวภาพไปกับน้ำ 10 นาที ตามด้วยการล้างด้วยน้ำเปล่าอีก 30 นาที เป็นเวลา 3 ปี (ช่วงเริ่มต้นของการปลูกปลูกไม้ผล
作者:
นายสาโรช ดุรงค์กาญจน์
4.2 有关投入和成本计算的一般信息
具体说明成本和投入是如何计算的:
- 每个技术区域
注明尺寸和面积单位:
1 ไร่
如果使用本地面积单位,注明转换系数为1公顷(例如1公顷=2.47英亩):1公顷=:
-
其它/国家货币(具体说明):
Thai Baht
如相关,注明美元与当地货币的汇率(例如1美元=79.9巴西雷亚尔):1美元=:
32.0
注明雇用劳工的每日平均工资成本:
แรงงานต่อวันคือ 300 บาท
4.3 技术建立活动
活动 | 时间(季度) | |
---|---|---|
1. | กระบวนการผลิตน้ำหมักชีวภาพ | - |
2. | วิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพ | - |
注释:
เป็นการใช้เทคโนโลยีระหว่างการบำรุงและดูแลไม้ผลก่อนเก็บเกี่ยวผลผลิต
4.4 技术建立所需要的费用和投入
对投入进行具体说明 | 单位 | 数量 | 单位成本 | 每项投入的总成本 | 土地使用者承担的成本% | |
---|---|---|---|---|---|---|
劳动力 | จ้างผลิตน้ำหมักชีวภาพพด.2,จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงน้ำหมักชีวภาพน้ำซาวข้าว | คน | 2.0 | 300.0 | 600.0 | 100.0 |
劳动力 | ต่อท่อน้ำสปริงเกอร์ | คน | 2.0 | 300.0 | 600.0 | 100.0 |
设备 | ท่อน้ำและข้อต่อ | ตัว | 50.0 | 40.0 | 2000.0 | 100.0 |
设备 | ปั๊มน้ำ | ปั๊ม | 1.0 | 8000.0 | 8000.0 | 100.0 |
肥料和杀菌剂 | ถังหมัก | ใบ | 3.0 | 500.0 | 1500.0 | 80.0 |
肥料和杀菌剂 | กากน้ำตาล | ลิตร | 120.0 | 12.0 | 1440.0 | 80.0 |
肥料和杀菌剂 | เศษปลา/เศษผักผลไม้Waste | กิโลกรัม | 40.0 | 10.0 | 400.0 | 100.0 |
肥料和杀菌剂 | ผงชูรส/กะปิ/ไข่/Yakult/ซีอิ๋ว/น้ำตาลทราย | - | 1.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 |
肥料和杀菌剂 | สารเร่วพด2 | ซอง | 1.0 | 14.0 | 14.0 | 100.0 |
技术建立所需总成本 | 14654.0 | |||||
技术建立总成本,美元 | 457.94 |
如果土地使用者负担的费用少于100%,请注明由谁负担其余费用:
สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี
注释:
สถานีพัฒนาที่ดินสนับสนุนปัจจัยการผลิต ได้แก่ ถังหมัก กากน้ำตาล และเชื้อจุลินทรีย์สารเร่ง พด.2
4.5 维护/经常性活动
活动 | 时间/频率 | |
---|---|---|
1. | 1. การใช้น้ำหมักชีวภาพ | สัปดาห์ละ1ครั้ง |
2. | 2. การผลิตน้ำหมักชีวภาพ | 3 เดือน/ครั้ง |
注释:
เป็นการดูแลรักษาเครื่องมือ เช่น ข้อต่อ หัวฉีด ไม่ให้อุดตัน
4.6 维护/经常性活动所需要的费用和投入(每年)
对投入进行具体说明 | 单位 | 数量 | 单位成本 | 每项投入的总成本 | 土地使用者承担的成本% | |
---|---|---|---|---|---|---|
劳动力 | จ้างผลิตน้ำหมักชีวภาพพด.2,จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง,น้ำหมักชีวภาพน้ำซาวข้าว | คน | 4.0 | 300.0 | 1200.0 | 100.0 |
设备 | ท่อน้ำและข้อต่อ | ตัว | 50.0 | 40.0 | 2000.0 | 100.0 |
肥料和杀菌剂 | กากน้ำตาล | ลิตร | 120.0 | 12.0 | 1440.0 | 80.0 |
肥料和杀菌剂 | เศษปลา/เศษผักผลไม้Waste | กิโลกรัม | 40.0 | 10.0 | 400.0 | 100.0 |
肥料和杀菌剂 | ผงชูรส/กะปิ/ไข่/Yakult/ซีอิ๋ว/น้ำตาลทราย | กิโลกรัม | 1.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 |
肥料和杀菌剂 | สารเร่วพด2 | ซอง | 1.0 | 14.0 | 14.0 | |
技术维护所需总成本 | 5154.0 | |||||
技术维护总成本,美元 | 161.06 |
如果土地使用者负担的费用少于100%,请注明由谁负担其余费用:
-
注释:
เป็นค่ารักษาซ่อมแซมในกรณีที่ชำรุดเสียหาย
4.7 影响成本的最重要因素
描述影响成本的最决定性因素:
ราคาวัตถุดิบในการผลิคน้ำหมักชีวภาพ เช่นกากน้ำตาล
5. 自然和人文环境
5.1 气候
年降雨量
- < 250毫米
- 251-500毫米
- 501-750毫米
- 751-1,000毫米
- 1,001-1,500毫米
- 1,501-2,000毫米
- 2,001-3,000毫米
- 3,001-4,000毫米
- > 4,000毫米
有关降雨的规范/注释:
-
注明所考虑的参考气象站名称:
-
农业气候带
- 潮湿的
-
5.2 地形
平均坡度:
- 水平(0-2%)
- 缓降(3-5%)
- 平缓(6-10%)
- 滚坡(11-15%)
- 崎岖(16-30%)
- 陡峭(31-60%)
- 非常陡峭(>60%)
地形:
- 高原/平原
- 山脊
- 山坡
- 山地斜坡
- 麓坡
- 谷底
垂直分布带:
- 0-100 m a.s.l.
- 101-500 m a.s.l.
- 501-1,000 m a.s.l.
- 1,001-1,500 m a.s.l.
- 1,501-2,000 m a.s.l.
- 2,001-2,500 m a.s.l.
- 2,501-3,000 m a.s.l.
- 3,001-4,000 m a.s.l.
- > 4,000 m a.s.l.
说明该技术是否专门应用于:
- 不相关
关于地形的注释和进一步规范:
-
5.3 土壤
平均土层深度:
- 非常浅(0-20厘米)
- 浅(21-50厘米)
- 中等深度(51-80厘米)
- 深(81-120厘米)
- 非常深(> 120厘米)
土壤质地(表土):
- 粗粒/轻(砂质)
土壤质地(地表以下> 20厘米):
- 粗粒/轻(砂质)
表土有机质:
- 低(<1%)
如有可能,附上完整的土壤描述或具体说明可用的信息,例如土壤类型、土壤酸碱度、阳离子交换能力、氮、盐度等。:
-
5.4 水资源可用性和质量
地下水位表:
5-50米
地表水的可用性:
中等
水质(未处理):
仅供农业使用(灌溉)
水的盐度有问题吗?:
否
该区域正在发生洪水吗?:
是
关于水质和水量的注释和进一步规范:
คุณภาพน้ำดีสามารถนำมาใช้ทางการเกษตรได้ แต่ยังไม่เหมาะสำหรับการดื่มกินต้องได้รับบำบัดก่อนจึงจะนำมาบริโภคได้
5.5 生物多样性
物种多样性:
- 高
栖息地多样性:
- 中等
关于生物多样性的注释和进一步规范:
เนื่องจากมีการปลูกพืชหลายชนิด เช่น ทุเรียน ลองกอง ส้มโอ มะนาว ถั่ว ชะอม ทำให้มีความหลากหลายทางพันธุกรรมพืชสูง ส่วนแหล่งที่อยู่อาศัยมีไม่มากทำให้มีความหลากหลายในระดับปานกลาง
5.6 应用该技术的土地使用者的特征
定栖或游牧:
- 定栖的
生产系统的市场定位:
- 混合(生计/商业)
非农收入:
- 低于全部收入的10%
相对财富水平:
- 丰富
个人或集体:
- 个人/家庭
机械化水平:
- 手工作业
性别:
- 女人
土地使用者的年龄:
- 老年人
说明土地使用者的其他有关特征:
-
5.7 应用该技术的土地使用者使用的平均土地面积
- < 0.5 公顷
- 0.5-1 公顷
- 1-2 公顷
- 2-5公顷
- 5-15公顷
- 15-50公顷
- 50-100公顷
- 100-500公顷
- 500-1,000公顷
- 1,000-10,000公顷
- > 10,000公顷
这被认为是小规模、中规模还是大规模的(参照当地实际情况)?:
- 中等规模的
注释:
เนื่องจากเป็นการประเมินราคาที่ดินในเขตเมือง
5.8 土地所有权、土地使用权和水使用权
土地所有权:
- 个人,有命名
土地使用权:
- 个人
用水权:
- 自由进入(无组织)
具体说明:
สิทธิในการใช้น้ำเป็นแบบเปิดเนื่องจากเป็นประปาของชุมชนไม่มีระเบียบว่าอย่างไรแต่เสียค่าใช้จ่ายตามปริมาณใช้จริงและส่วนใหญ่การใช้น้ำในพื้นที่มาจากบ่อของตนเองเป็นหลัก
5.9 进入服务和基础设施的通道
健康:
- 贫瘠
- 适度的
- 好
教育:
- 贫瘠
- 适度的
- 好
技术援助:
- 贫瘠
- 适度的
- 好
就业(例如非农):
- 贫瘠
- 适度的
- 好
市场:
- 贫瘠
- 适度的
- 好
能源:
- 贫瘠
- 适度的
- 好
道路和交通:
- 贫瘠
- 适度的
- 好
饮用水和卫生设施:
- 贫瘠
- 适度的
- 好
金融服务:
- 贫瘠
- 适度的
- 好
注释:
-
6. 影响和结论性说明
6.1 该技术的现场影响
社会经济效应
生产
作物生产
SLM之前的数量:
10
SLM之后的数量:
30
注释/具体说明:
ผลทุเรียนเพิ่มขึ้น
作物质量
注释/具体说明:
-
收入和成本
农业投入费用
注释/具体说明:
ปัจจัยบางอย่างนามาใช้ในปีถัดไปได้ เช่น ถังหมัก
农业收入
注释/具体说明:
รายได้จากการจำหน่ายต้นพันธุ์ และผลทุเรียน
社会文化影响
食品安全/自给自足
注释/具体说明:
ดีขึ้นสามารถพึ่งพาตนเองได้
健康状况
土地使用权/用水权
社区机构
注释/具体说明:
สถาบันครอบครัว
SLM/土地退化知识
注释/具体说明:
ดินมีอินทรีย์วัตถุเพิ่มขึ้น โครงสร้างดินดีขึ้น
生态影响
水循环/径流
水质
注释/具体说明:
ลดการปนเปื้อนเนื่องจากเป็นการใช้สารอินทรีย์ ลดการใช้สารเคมี
地表径流
地下水位/含水层
土壤
土壤水分
土壤覆盖层
注释/具体说明:
มีหญ้าปกคลุมมีไส้เดือน
土壤流失
土壤结壳/密封
注释/具体说明:
ดินร่วนซุยขึ้น
土壤压实
养分循环/补给
酸度
SLM之前的数量:
4.0-4.5
SLM之后的数量:
5.5-6.0
注释/具体说明:
pH เพิ่มขึ้น
生物多样性:植被、动物
植物多样性
有益物种
注释/具体说明:
ไส้เดือนเพิ่มขึ้น
害虫/疾病控制
注释/具体说明:
ลดลง
减少气候和灾害风险
洪水影响
6.2 该技术的场外影响已经显现
水资源可用性
地下水/河流污染
注释/具体说明:
ลดลงเนื่องจากลดการใช้สารเคมี
对公共/私人基础设施的破坏
6.3 技术对渐变气候以及与气候相关的极端情况/灾害的暴露和敏感性(土地使用者认为的极端情况/灾害)
渐变气候
渐变气候
季节 | 增加或减少 | 该技术是如何应对的? | |
---|---|---|---|
年温度 | 增加 | 适度 | |
季节性温度 | 夏季 | 增加 | 不好 |
年降雨量 | 增加 | 适度 | |
季雨量 | 湿季/雨季 | 增加 | 不好 |
气候有关的极端情况(灾害)
水文灾害
该技术是如何应对的? | |
---|---|
山洪暴发 | 适度 |
注释:
ปีนี้ฝนประจำปีมาเร็วขึ้นทำให้ผลไม้ติดผลลดลงเนื่องจากฝนตกลงมาช่วงออกดอก
6.4 成本效益分析
技术收益与技术建立成本相比如何(从土地使用者的角度看)?
短期回报:
积极
长期回报:
非常积极
技术收益与技术维护成本/经常性成本相比如何(从土地使用者的角度看)?
短期回报:
中性/平衡
长期回报:
非常积极
注释:
คิดเห็น การทำน้ำหมักและการวางระบบกระจายน้ำในแปลงจะเป็นการลงทุนในปีแรกที่สูงแต่ในปีถัดไปค่าใช้จ่ายจะลดลงเพราะไม่ได้ซื้อเพิ่ม เช่น ถังหมัก ท่อน้ำ ปั๊มน้ำ มีแต่ค่าดูแลรักษาเวลาชำรุด เสียหาย เช่น ท่อน้ำแตก อุดตัน และมีระยะเวลาการใช้ ประมาณ 4-5 ปี
6.5 技术采用
- 1-10%
如若可行,进行量化(住户数量和/或覆盖面积):
เฉพาะอำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี
在所有采用这项技术的人当中,有多少人是自发的,即未获得任何物质奖励/付款?:
- 0-10%
注释:
ประมาณจากจำนวนผู้ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เข้ามาศึกษาที่ศูนย์เรียนรู้
6.6 适应
最近是否对该技术进行了修改以适应不断变化的条件?:
是
若是,说明它适应了哪些变化的条件:
- 不断变化的市场
具体说明技术的适应性(设计、材料/品种等):
ความต้องการสินค้าเกษตรปลอดภัยหรือเกษตรอินทรีย์มีเพิ่มขึ้น ทำให้เทคโนโลยีสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้
6.7 该技术的优点/长处/机会
土地使用者眼中的长处/优势/机会 |
---|
มีองค์ความรู้จากผู้ปฏิบัติจริง/เห็นผลจริง |
เทคโนโลยีนี้เผยแพร่หลายช่องทาง |
มีสถานที่และอุปกรณ์พร้อมในการเผยแพร่ |
มีองค์ความรู้จากผู้ปฏิบัติจริง/เห็นผลจริง |
编制者或其他关键资源人员认为的长处/优势/机会 |
---|
วิธีการ/ขั้นตอนการผลิตไม่ยุ่งยากซับซ้อน |
วิธีการใช้ นำไปใช้ได้ง่าย สะดวกไม่ยุงยาก |
- |
6.8 技术的弱点/缺点/风险及其克服方法
土地使用者认为的弱点/缺点/风险 | 如何克服它们? |
---|---|
ไม่ทราบปริมาณธาตุอาหารพืชในน้ำหมัก | ให้มีกาตรวจวิเคราะห์ |
编制者或其他关键资源人员认为的弱点/缺点/风险 | 如何克服它们? |
---|---|
เกษตรกรยังขาดแรงจูงใจในการทำ | ให้เกษตรกรเห็นว่าลดต้นทุนได้อย่างไร ส่งผลดีต่อพืชอย่างไร |
การใช้เทคโนโลยีนี้ เเกษตรกรที่จะปฏิบัติตามต้องมีความเชื่อมั่น ขยันและอดทน...เนื่องจากต้องใช้เวล าในการพิสูจน์ให้เก็นผลจากการใช้ |
รัฐและเกษตรกรต้องร่วมมือกันสร้างความเชื่อมั่นให้แก่เกษตรกร ด้วยการให้ความรู้ และเผยแพร่ |
7. 参考和链接
7.1 信息的方法/来源
- 实地考察、实地调查
5 ราย
- 与土地使用者的访谈
5 ราย
(现场)数据是什么时候汇编的?:
10/10/2018
注释:
-
7.2 参考可用出版物
标题、作者、年份、ISBN:
-
可以从哪里获得?成本如何?
-
7.3 链接到网络上的相关信息
标题/说明:
-
URL:
-
7.4 一般注释
-
链接和模块
全部展开 全部收起链接
无链接
模块
无模块