The Bio-fermentation technology Transferring Centre for the Soil Improvement [تايلاند]
- تاريخ الإنشاء:
- تحديث:
- جامع المعلومات: Kukiat SOITONG
- المحرر: –
- المراجعون: Rima Mekdaschi Studer, William Critchley
Land Development Learning Centre at Mai ket district
approaches_4234 - تايلاند
عرض الأقسام
توسيع الكل طي الكل1. معلومات عامة
1.2 تفاصيل الاتصال بالأشخاص الرئيسيين لمصدر المعلومات والمؤسسات المعنية بتقييم وتوثيق النهج
الشخص (الأشخاص) الرئيسي لمصدر المعلومات
مستخدم الأرض:
ผู้รวบรวม:
ไผผักแว่น นางสาวปาริชาติ
0-3721-0781 / 08-5920-8429
parichat19@hotmail.com / -
สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 กรมพัฒนาที่ดิน
135/1 ม. 5 ต. เนินหอม อ. เมือง จ.ปราจีนบุรี 25230
تايلاند
مستخدم الأرض:
ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองปราจีนบุรี ผู้นำแนวทางเอสแอลเอ็ม ไปถอดบทเรียนเพื่อจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอน และหลักสูตรการฝึกอบรมในองค์กร และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์:
เหล่าวงศ์วัฒนา นายสมบูรณ์
0-3721-3261 / 08-1723-0421
- / -
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองปราจีนบุรี
ที่อยู่องค์กร ถนนราษฎรดำริ ซอย 5 ต. หน้าเมือง อำเภอ เมืองปราจีนบุรี จังหวัด ปราจีนบุรี รหัสไปรษณีย์ 25230
تايلاند
ด้วงพิมพ์ นายกนก
09-5253-5982 / -
- / -
สวนเติมทรัพย์ไม้เค็ดโฮมสเตย์
27/2 ม. 2 ต. ไม้เค็ด อ.เมือง จ. ปราจีนบุรี
تايلاند
مستخدم الأرض:
พุ่มสุข นางอรุญ
09-8893-0860 / -
- / -
เกษตรกร
42/2 ม. 5 ต. ไม้เค็ด อ. เมือง จ. ปราจีนบุรี
تايلاند
مستخدم الأرض:
บุญยงค์ จ.ส.อ.แมน
08-7128-7051 / -
- / -
ร.2 พัน.1 รอ.
45/2 ม.5 ต.ไม้เค็ด อ. เมือง จ. ปราจีนบุรี
تايلاند
บุญยงค์ จ.ส.อ.แมน
08-7128-7051 / -
- / -
ร.2 พัน.1 รอ.
45/2 ม.5 ต.ไม้เค็ด อ. เมือง จ. ปราจีนบุรี
1.3 الشروط المتعلقة باستخدام البيانات الموثقة من خلال WOCAT
متى تم تجميع البيانات (ميدانيا)؟:
28/09/2018
يوافق جامع المعلومات والشخص (لاشخاص) الرئيسي لمصدر المعلومات على الشروط المتعلقة باستخدام البيانات الموثقة من خلال WOCAT:
نعم
2. وصف نهج الإدارة المستدامة للأراضي
2.1 وصف موجز للنهج
The Bio-fermentation technology Transferring Centre for the Soil Improvement at Mai ket district is a source of learning about the production and the usage of the bio-fermented solution to improve the soil and create a farmers’ network on quality crop production.
2.2 وصف تفصيلي للنهج
وصف تفصيلي للنهج:
The Bio-fermentation technology Transferring Centre for the Soil Improvement at Mai ket district, Muang Prachin Buri is the source of learning about the production and usage of the bio-fermented water in soil degradation deteriorated and improve especially in the sandy soil which has the low abundance. The owners of the centre are knowledgeable, expert, and researchers and proud of the research and technology succession and they are ready to transfer that knowledge to the farmers in neighbouring communities by showing the source / demonstration plots which can come to study / visit / see the work. There are the transmission processes that they have the ability to be as the lecturers.
The purpose of the Bio-fermentation technology Transferring Centre for Soil Improvement is to convey the technology of production and use of bio-fermented solution to the farmers and the general public to build a network of users of the biotechnology to improve the soil.
The Bio-fermentation technology Transferring Centre for Soil Improvement has the working processions are following:
1. Studying and doing the research (experimental) of the bio-fermented water.
2. Technology transferring of the meeting, observing the exhibition, printing media, radio/TV program
3. Creating the Networking
4. Promoting the work
5. Selling the products such as durian or durian products, vegetable (Climbing Wattle)
6. Organizing the outside exhibition (Foundation Day, Department of Land Development, 2017)
The working processions of The Bio-fermentation technology Transferring Centre for Soil Improvement
1. Selecting the farmers who are successful in producing and using Bio-fermentation technology and improvement of soil degradation that established as a technology transferring centre and provide operational support by the Department of Land Development.
2. Promote the public relations to the broadcast centre such as the installation of the PR centre. VDO photography on Youtube, TV shows, radio programs.
3. Develop e the learning points and demonstration plots, including learning points / demonstrations of biological fermentation. Composting Quality of fruit trees Pest control by supporting inputs from the government.
4. Provide training to visit by government agencies, the private and educational institutions. Provide the supporting or farmers interested in self studying as well as being a lecturer both on and off the premises.
5. The Bio-fermentation technology user network is established to improve the soil and produce the quality crops from farmers who come to study. The government has provided the supporting to strengthen to the group / network from learning, such as providing knowledge, supporting inputs as taking to learn.
6. Provide a learning forum to result in technology exchanging by Learning together and technology transferring.
7. Promote and develop the production and usage of biotechnology such as the development of bio-fermented formulas to suit the application.
8. Selling products such as seedling (durian), product (durian, longkong, banana, climbing wattle, etc.) biological extract.
The relevant people of the working processions of The Bio-fermentation technology Transferring Centre for Soil Improvement
- The farmer who is the owner of the centre has the role of researching, experimenting and developing technology, lesson learned / technological knowledge, technology transferring management and development centre.
- The group of students who included the general farmers, the expert of the soil, student / university student and the government officers.
- The group / Network Manufacturers and users of technology which learn how to buy and sell.
- Consumers / customers include farmers and the general public that buy the fruits / fruits / vegetables and various extracts.
- Promoters (budget, inputs, dissemination, exhibition, study, visit) such as the government officers. (Military / civilian / teacher) are massive media.
-The centre of broadcasting that is a great way to learn how to practice to solve problems in the occupation.
- Farmer Centre owner is the researcher. It is a prototype farm for interested farmers.
- Ensuring the professionalism of the technology user community. (The network provides advice / guidance, such as the formula to produce the benefits.
- Make the opportunity to meet and exchange to each other.
The limited of The Bio-fermentation technology Transferring Centre for Soil Improvement is
- Learning Points / Learning base on the relay centre is rare. It should increase the learning points and participation from relevant agencies.
2.3 صور عن النهج
2.4 فيديوهات عن النهج
تعليقات، وصف موجز:
การใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการพัฒนาที่ดิน
التاريخ:
07/03/2018
الموقع:
-
اسم مصور الفيديو:
กรมพัฒนาที่ดิน
تعليقات، وصف موجز:
หมอดินอาสา ต้นแบบวิถีเกษตรอินทรีย์
التاريخ:
05/07/2016
الموقع:
-
اسم مصور الفيديو:
กรมพัฒนาที่ดิน
2.5 البلد/المنطقة/المواقع التي تم تطبيق النهج فيها
البلد:
تايلاند
المنطقة/الولاية/المحافظة:
ปราจีนบุรี
مزيد من التفاصيل حول الموقع:
62/1 ม. 5 ต.ไม้เค็ด อ. เมือง จ. ปราจีนบุรี
التعليقات:
-
Map
×2.6 تواريخ بدء وإنهاء تنفيذ النهج
أشر إلى سنة البدء:
2000
التعليقات:
ริเริ่มถอดบทเรียนตั้งปี 2543 ผ่านทางสื่อวิทยุของกองพลทหารราบ
2.7 نوع النهج
- مبادرة محلية حديثة/مبتكرة
2.8 الغايات/الأهداف الرئيسية للنهج
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุงบำรุงดิน มีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการใช้น้ำหมักชีวภาพ ให้กับเกษตรกรและผู้สนใจทั่วไปและเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงบำรุงดิน
2.9 الظروف التي تمكن أو تعيق تنفيذ التقنية/التقنيات المطبقة بموجب النهج
المعايير والقيم الاجتماعية /الثقافية/ الدينية
- تمكين/تمكيني
วัฒนธรรมในท้องถิ่นมีการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันกัน มีไรก็แบ่งปันกัน ดังนั้นเมื่อเกษตรกรประสบมีปัญหาในการทำการเกษตรสามารถสอบถามวิธีปฏิบัติที่ประสบความสำเร็จจากเกษตรกรต้นแบบได้
توفر/الوصول إلى الموارد والخدمات المالية
- تمكين/تمكيني
มีแหล่งเงินทุนสนับสนุน แต่เกษตรกรสามารถบริหารจัดการเงินทุนทางการเกษตรได้ด้วยตนเอง ไม่สนใจกู้เงินจากสถาบัน
الإطار المؤسساتي
- تمكين/تمكيني
กรมพัฒนาที่ดิน.จัดตั้งเป็นศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ถ่ายทอดองค์ความรู้ จัดพิมพ์เอกสารเผยแพร่ ถ่ายทำวีดีทัศน์ และสนับสนุนงบประมาณเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้สู่เกษตรกร และ ชุมชนอย่างกว้างขวาง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กองพันทหารราบที่ 2 ถอดบทเรียนและถ่ายทอดความรู้ผ่านสื่อการเรียนการสอนและสื่อวิทยุ พร้อมสนับสสนุนงบประมาณอย่างกว้างขวางและวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น
الإطار القانوني (حيازة الأراضي، وحقوق استخدام الأراضي والمياه)
- تمكين/تمكيني
กรมพัฒนาที่ดิน และหน่วยงานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สนับสนุนงบประมาณ และปัจจัยการผลิต ในการฝึกอบรม ให้แก่เกษตรกร
السياسات
- تمكين/تمكيني
ส่งเสริมให้เกษตรกรใช้สารอินทรีย์ชีวภาพ ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร อยู่แบบพอเพียง พึ่งพาตนเองได้ มีภูมิคุ้มกันตนเอง
حوكمة الأراضي (صنع القرار والتنفيذ والإنفاذ)
- تمكين/تمكيني
ภาครัฐส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์
ไม่เป็นระบบ ดูแลไม่ทั่วถึง ได้รับการสนับสนุนปัจจัย แต่เกษตรกรไม่มีความรู้ในเรื่อง การนำไปใช้ และการพัฒนาต่อยอด
المعرفة حول الإدارة المستدامة للأراضي، والوصول إلى الدعم الفني
- تمكين/تمكيني
ภาครัฐหลายหน่วยงาน พร้อมสนับสนุนและส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกร และชุมชน
الأسواق (لشراء المدخلات وبيع المنتجات) والأسعار
- تمكين/تمكيني
ตลาดรับซื้อผลผลิต ที่ให้ราคาสูง เนื่องจาก เพราะเป็นสินค้าเกษตรปลอดภัย
عبء العمل، توفر القوى العاملة
- تمكين/تمكيني
การถ่ายเทคโนโลยีชีวภาพ สอนให้พึ่งพาตนเองได้ ใช้ปัจจัยภายในฟาร์ม ดังนั้นเกษตรกรมักใช้แรงงานตนเองในครัวเรือน มีการแจ้าง้งแรงงานน้อย ทำให้ลดต้นทุนการผลิต
3. المشاركة وأدوار الأطراف المعنية
3.1 أصحاب المصلحة المعنيون بالنهج وأدوارهم
- مستخدمو الأراضي المحليون/المجتمعات المحلية
เกษตรกรในชุมชน พื้นที่ใไกล้เคียง และจากพื้นที่อื่นทั่วประเทศ
เดินทางมาเรียนรู้ ฝึกอบรม ศึกษาดูงาน ในศูนย์ฯ และนำความรู้ไปปฏิบัติในพื้นที่ของตนเอง
- المنظمات المجتمعية
องค์กรปกครองส่วนท้อนถิ่น
พัฒนาพื้นที่ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
- متخصصون في الإدارة المستدامة للأراضي / مستشارون زراعيون
กรมพัฒนาที่ดิน
คัดเลือกให้เป็นหมอดินอาสาประจำจังหวัดปราจีนบุรี และเชิญเป็นวิทยากรความรู้ ด้านการใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการพัฒนาที่ดินแก่เกษตรกรและหมอดินอาสา
- المعلمون / أطفال المدارس / الطلاب
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี
ถอดบทเรียนด้านการใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตพืช และจัดทำเป็นหลักสูตรการเรียนการสอนของหน่วยงาน
- القطاع الخاص
ธกส
สนับสนุนงบประมาณก่อสร้างอาคารศูนย์เรียนรู้
หน่วยงานพัฒนาของทหาร
-
إذا كان هناك العديد من الأطراف المعنية، قم بالإشارة إلى الوكالة الرائدة:
-
3.2 انخراط مستخدمي الأراضي المحليين/المجتمعات المحلية في المراحل المختلفة للنهج
انخراط مستخدمي الأراضي المحليين/المجتمعات المحلية | حدد من شارك وصف الأنشطة | |
---|---|---|
المبادرة/التحفيز | التعبئة الذاتية | นางวันเพ็ญ สนลอย เผยแพร่แนวทางการดำเนินชีวิตของตนเอง ผ่านสื่อรายการวิทยุของหน่วยงานทหาร พ.ท. วีระ ใจหนักแน่น กรมพัฒนาที่ดินสนับสนุนเชื้อจุลินทรีย์สารเร่ง พด.2 กากน้ำตาล ถังหมัก |
التخطيط | تفاعلي | กรมพัฒนาที่ดิน สนับสนุนปัจจัยการผลิต จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ และเชิญเป็นวิทยากร กศน. สนับสนุนเอกสาร เชิญเป็นวิทยากร นำองค์ความรู้ไปขยายผลเคยออกรายการทีวี เรื่อง การใช้เทคโนโลยี เพื่อการทำการเกษตรที่ยั่งยืนหน่วยงานทหาร เชิญไปเป็นวิทยากรบรรยาย |
التنفيذ | تفاعلي | พด. สนับสนุนงบประมาณสร้างโรงเรือนผลิตปุ๋ยหมัก สนับปัจจัยการผลิตปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ วัสดุปรับปรุงบำรุงดิน บอร์ด ป้าย สำหรับจัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดิน สนับสนุนงบประมาณถ่ายทำวีดีทัศน์เรื่อง การใช้เทคโนโลยีชีวภาพปรับปรุงบำรุงดิน เผยแพร่องค์ความรู้ให้อย่างกว้าง ธกส. สนับสนุนงบประมาณก่อสร้างอาคารศูนย์เรียนรู้ กศน. สนับสนุนเอกสาร สำหรับเผยแพร่ (สอน และสร้างแรงจูงใจ) เพื่อให้การขยายผลเร็วขึ้น เกษตรกรเจ้าของเทคโนโลยี(คุณวันเพ็ญ) มีการจำหน่าย แจกจ่ายผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพให้เกษตรกรที่สนใจนำไปทดลองใช้ โฮมสเตย์ไม้เค็ด นำนักท่องเที่ยวมาศึกษาดูงาน พร้อมเรียนรู้ควบคู่กับการลงมือปฏิบติ เพื่อนำไปใช้ในพื้นที่ตนเอง |
الرصد/التقييم | تفاعلي | กศน พด และหน่วยงานทหาร มีการติดตามประเมินผล |
3.3 مخطط التدفق (إذا كان متاحًا)
3.4 اتخاذ القرار بشأن اختيار تقنية/تقنيات الإدارة المستدامة للأراضي
حدد من الذي قرر اختيار التقنية/التقنيات التي سيتم تنفيذها:
- مستخدمو الأراضي وحدهم (المبادرة الذاتية)
اشرح:
ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพียงผู้เดียว ( ริเริ่มด้วยตัวเอง)
ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินโดยการสนับสนุนจากผู้เชี่ยวชาญเอสแอลเอ็มเป็นหลัก
ผู้ลงมือปฏิบัติทั้งหมดที่เกี่ยวข้องในฐานะที่เป็นส่วนร่วมของแนวทาง
حدد على أي أساس تم اتخاذ القرارات:
- تقييم المعرفة الموثقة جيدًا بشأن الإدارة المستدامة للأراضي(اتخاذ القرارات القائمة على الأدلة)
4. الدعم الفني وبناء القدرات وإدارة المعرفة
4.1 بناء القدرات/التدريب
هل تم تقديم التدريب لمستخدمي الأراضي / الأطراف المعنيين الآخرين؟:
نعم
حدد من تم تدريبه:
- مستخدمو الأراضي
- موظفون ميدانيون/ مستشارون
إذا كان ذلك على صلة، حدد الجنس والعمر والوضع والعرق وما إلى ذلك.
ฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้ ให้แก่ ทหาร หมอดินอาสาประจำตำบล/หมู่บ้าน เกษตรกร ครู นักเรียน/นักศึกษา ผู้พิการ และผู้สนใจทั่วไป
شكل التدريب:
- من مزارع إلى مزارع
- مناطق العرض
- اجتماعات عامة
المواضيع المغطاة:
โครงการประชุมถอดองค์ความรู้ภูมิปัญญา การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต โครงการส่งเสริมการผลิตและการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อการปรับปรุงบำรุงดิน
التعليقات:
-
4.2 خدمة استشارية
هل يملك مستخدمو الأراضي وصولا إلى خدمة استشارية؟:
نعم
حدد ما إذا كانت الخدمة الاستشارية متوفرة:
- في مراكز دائمة
- เฟสบุ๊กFb สวนวันเพ็ญ พันธุ์ไม้
وصف/تعليقات:
เกษตรกรที่สนใจ สามารถเข้ามาศึกษา ขอคำแนะนำ ได้ที่ศูนย์เรียนรู้และสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ทางเฟสบุ๊ก
4.3 تعزيز المؤسسات (التطوير التنظيمي)
هل تم إنشاء أو تعزيز مؤسسات من خلال هذا النهج؟:
- لا
4.4 الرصد والتقييم
هل يشكل الرصد والتقييم جزءا من النهج؟:
نعم
إذا كانت الإجابة بنعم، فهل من المقصود استخدام هذه الوثائق للمراقبة والتقييم؟:
نعم
4.5 البحوث
هل كانت البحوث جزءًا من النهج؟:
كلا
5. التمويل والدعم المادي الخارجي
5.1 الميزانية السنوية لمكون الإدارة المستدامة للأراضي في النهج المذكور
إذا لم تكن الميزانية السنوية الدقيقة معروفة، قم بالإشارة إلى نطاقها:
- 1,000000-100،000
التعليقات (على سبيل المثال المصادر الرئيسية للتمويل/الجهات المانحة الرئيسية):
ธกส. สนับสนุนงบประมาณ 100,000 บาท ก่อสร้างอาคารสำหรับเป็นศูนย์เรียนรู้ พด. สนับสนุนงบประมาณก่อตั้งโรงงเรียนผลิตปุ๋ยหมัก และ– น้ำหมักชีวภาพ
5.2 الدعم المالي/المادي المقدم لمستخدمي الأراضي
هل حصل مستخدمو الأراضي على دعم مالي/ مادي لتنفيذ التقنية/ التقنيات؟:
نعم
إذا كانت الإجابة بنعم، حدد نوع (أنواع) الدعم والشروط والمزودين:
พด. สนับสนุนปัจจัยการผลิตน้ำหมักชีวภาพ ประกอบด้วย จุลินทรีย์สารเร่ง พด.2ถังหมัก และกากน้ำตาล
5.3 إعانات لمدخلات محددة (بما في ذلك العمالة)
- زراعة
حدد المدخلات التي تم دعمها | إلى أي مدى | حدد الإعانات |
---|---|---|
ถังหมัก กากน้ำตาล | ممول جزئيا | |
- بناء
حدد المدخلات التي تم دعمها | إلى أي مدى | حدد الإعانات |
---|---|---|
حجر | ممول جزئيا | ธกส. 100,000 บาท (สนับสนุนเป็นวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้างอาคารศูนย์เรียนรู้ |
خشب | ممول جزئيا | - |
กระเบื้อง ปูน เหล็ก | ممول جزئيا | - |
- غير ذلك
غير ذلك(حدد) | إلى أي مدى | حدد الإعانات |
---|---|---|
พด. 15,000 บาท (สนับสนุนในรูปปัจจัยการผลิตน้ำหมักชีวภาพ) |
إذا كان العمل من قبل مستخدمي الأراضي مدخلاً جوهريًا، فهل كان:
- مقابل دعم مادي آخر
التعليقات:
-
5.4 الائتمان
هل تم توفير ائتمان في إطار نهج أنشطة الإدارة المستدامة للأراضي؟:
كلا
5.5 حوافز أو وسائل أخرى
هل تم استخدام حوافز أو أدوات أخرى لتشجيع تنفيذ تقنيات الإدارة المستدامة للأراضي؟:
نعم
إذا كانت الإجابة بنعم، حدد:
ได้จำหน่ายผลิตภัณฑ์ของตนเอง
-มีค่าตอบแทนวิทยากร ได้ชื่อเสียง ได้ความภาคภูมิใจ
6. تحليل الأثر والتصريحات الختامية
6.1 آثار النهج
هل ساهم النهج في تمكين مستخدمي الأراضي المحليين وتحسين مشاركة الأطراف المعنية؟:
- لا
- نعم، قليلا
- نعم، باعتدال
- نعم، إلى حد كبير
เกษตรกรพึ่งพาตนเองได้ ใช้ปัจจัยในฟาร์มมาปรับปรุงดิน เห็นผลจริงสังเกตจากกายภาพของดิน จึงมีการนำความรู้ไปขยายผลอย่างกว้างขวาง
هل مكّن النهج من اتخاذ القرارات المبنية على الأدلة؟:
- لا
- نعم، قليلا
- نعم، باعتدال
- نعم، إلى حد كبير
ผู้มาศึกษาดูงาน เห็นผลจริงจากพื้นที่และการได้รับรางวัลต่างๆ ทำให้เกิดความเชื่อถือกล้านำเทคโนโลยีไปทดลองปฏิบัติใช้ในพื้นที่ของตนเอง
هل ساعد النهج مستخدمي الأراضي على تنفيذ وصيانة تقنيات الإدارة المستدامة للأراضي؟:
- لا
- نعم، قليلا
- نعم، باعتدال
- نعم، إلى حد كبير
เทคโนโลยีที่ใช้เห็นผลจริง เกษตรกรบางส่วนจึงนำปฏิบัติ
هل نجح النهج في تحسين التنسيق والتنفيذ الفعال من حيث التكلفة لأنشطة الإدارة المستدامة للأراضي؟:
- لا
- نعم، قليلا
- نعم، باعتدال
- نعم، إلى حد كبير
หน่วยงานรัฐ เครื่อข่ายกลุ่มการท่องเที่ยว ถอดบทเรียน นำไปขยายผล และมีการติดตามผล
هل نجح النهج في تعبئة/تحسين الوصول إلى الموارد المالية لتنفيذ الإدارة المستدامة للأراضي؟:
- لا
- نعم، قليلا
- نعم، باعتدال
- نعم، إلى حد كبير
หน่วยงานภาครัฐ เห็นผลสำเร็จของเทคโนโลยี จึงสนับสนุนเงินทุน ปัจจัยการผลิต และวัสดุอุปกรณ์
هل أدى النهج إلى تحسين معرفة وقدرات مستخدمي الأراضي على تنفيذ الإدارة المستدامة للأراضي؟:
- لا
- نعم، قليلا
- نعم، باعتدال
- نعم، إلى حد كبير
หน่วยงานภาครัฐ นำเกษตรกรมาศึกษาดูงาน เจ้าของเทคโนโลยีมีการพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง
هل أدى النهج إلى تحسين معرفة وقدرات الأطراف المعنية الأخرى؟:
- لا
- نعم، قليلا
- نعم، باعتدال
- نعم، إلى حد كبير
มีปัญหาด้านการปรับปรุงดิน การเพิ่มผลผลิตพืช โรคพืชสามารถปรึกษาได้โดยผ่านช่องทาง เฟสบ๊ก ไลน์ หรือโทรศัพท์สอบถาม
هل ساهم النهج في بناء/تعزيز المؤسسات والتعاون بين الأطراف المعنية؟:
- لا
- نعم، قليلا
- نعم، باعتدال
- نعم، إلى حد كبير
มีกลุ่มเครือข่าย ถ่ายทอดองค์ความรู้ และร่วมมือกันพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อปรับปรุงบำรุงดิน เพิ่มผลผลิตพืช
หากการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในฟาร์ม มีการขยายผลมากขึ้น จะช่วยลดการปนเปื้อนสารพิษ/สารเคมีทางการเกษตรในระบบนิเวศน์ บรรเทาความขัดแย้งของคนในชุมชน
هل ساهم النهج في تمكين الفئات المحرومة اجتماعيا واقتصاديا؟:
- لا
- نعم، قليلا
- نعم، باعتدال
- نعم، إلى حد كبير
เปิดโอกาสให้คนทุกเพศ วัย คนพิการ มาร่วมศึกษาดูงานได้ตลอด
هل شجع النهج الشباب/الجيل القادم من مستخدمي الأراضي على الانخراط في الإدارة المستدامة للأراضي؟:
- لا
- نعم، قليلا
- نعم، باعتدال
- نعم، إلى حد كبير
หลายหน่วยงาน นำพานักเรียน นักศึกษาเยาวชนมา เข้ามาดูงาน
ผลิตอาหารปลอดภัย แก่ผู้บริโภค
هل أدى النهج إلى تحسين الوصول إلى الأسواق؟:
- لا
- نعم، قليلا
- نعم، باعتدال
- نعم، إلى حد كبير
สินค้าการเกษตรปลอดภัย และมีคุณภาพ ทำให้มีตลาดรองรับกว้างขวาง
هل أدى النهج إلى توفير فرص عمل ودخل؟:
- لا
- نعم، قليلا
- نعم، باعتدال
- نعم، إلى حد كبير
สมาชิกกลุ่มเครือข่ายเน้นการพึ่งพาตนเอง
6.2 المحفز الرئيسي لقيام مستخدمي الأراضي بتنفيذ الإدارة المستدامة للأراضي
- زيادة الإنتاج
ดินดีขึ้นทำให้ผลผลิตพืชเพิ่มขึ้น
- زيادة الربح (القدرة)، وتحسين نسبة التكلفة إلى العائد
รายได้เพิ่มขึ้น เพราะเทคโนโลยีช่วยลดต้นทุนการผลิต
- الحد من تدهور الأراضي
เทคโนโลยีช่วยฟื้นฟูดินเสื่อมโทรม
- الوعي البيئي
เน้นการใช้สารอินทรีย์ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม
- تعزيز المعرفة والمهارات في مجال الإدارة المستدامة للأراضي
มีการศึกษาเรียนรู้และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ
6.3 استدامة أنشطة النهج
هل يمكن لمستخدمي الأراضي المحافظة على استدامة ما تم تنفيذه من خلال النهج (بدون دعم خارجي)؟:
- نعم
إذا كانت الإجابة بنعم، صف كيف:
เกษตรกรสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้ได้เอง เนื่องจากปัจจัยการผลิตสามารถหาได้ในท้องถิ่น ราคาไม่แพง
6.4 نقاط قوة/مزايا النهج
نقاط القوة/ المزايا/ الفرص من وجهة نظر مستخدمي الأراضي |
---|
- การจัดทำศูนย์ถ่ายทอดฯ ทำให้เกิดแหล่งเรียนรู้ ศึกษาดูงาน เพื่อศึกษาหาความรู้ ฝึกปฏิบัติ ได้ข้อมูลไปปฏิบัติ เพื่อแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพ |
-เกษตรกรเจ้าของศูนย์ฯ เป็นนักคิดค้น/วิจัย เป็นเกษตรกรต้นแบบให้แก่เกษตรกรผู้สนใจมาเรียนรู้ |
- ทำให้เกิดความมั่นคงในอาชีพของกลุ่มเครือข่ายผู้ใช้เทคโนโลยี (มีเครือข่ายคอยให้คำปรึกษา/แนะนำ เช่น ให้ข้อมูลสูตร การผลิต การนำไปใช้ประโยชน์ |
- ทำให้มีโอกาสพบปะและแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน |
- การจัดทำศูนย์ถ่ายทอดฯ ทำให้เกิดแหล่งเรียนรู้ ศึกษาดูงาน เพื่อศึกษาหาความรู้ ฝึกปฏิบัติ ได้ข้อมูลไปปฏิบัติ เพื่อแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพ |
نقاط القوة/ المزايا/ الفرص من وجهة نظر جامع المعلومات أو غيره من الاشخاص الرئيسيين لمصدر المعلومات |
---|
มีการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ศึกษาหาความรู้ตลอดเวลา พร้อมที่จะถ่ายทอดความรู้ให้แก่เกษตรกร และผู้สนใจ |
ลงมือทดลอง และทดสอบเทคโลยีชีวภาพในพื้นที่จริง รับทราบปัญหาอุปสรรคทุกอย่างในการดำเนินงาน จึงสามารถตอบข้อซักถามของเกษตรกรได้ชัดเจนว่า วิธีไหนมีประสิทธิภาพหรือไม่อย่างไร |
- |
6.5 نقاط الضعف/ العيوب في المنهج وطرق التغلب عليها
نقاط الضعف/ المساوىء/ المخاطر من وجهة نظر مستخدم الأراضي | كيف يمكن التغلب عليها؟ |
---|---|
จุดเรียนรู้ / ฐานการเรียนรู้ ในศูนย์ถ่ายทอดยังมีน้อย | ควรจะเพิ่มจุดเรียนรู้และการมีส่วนร่วมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
เกษตรกรบางรายยังขาดแรงจูงใจขาดการตื่นตัวตื่น/รับรู้ไม่ขยันและอดทน | สร้างแรงบันดาลใจจากกรณีคุณวันเพ็ญ โดยเขียนเรื่องราวการดำเนินชีวิต การต่อสู้ จนประสบผลสำเร็จ สามารถพึ่งพาตนเองได้ |
- | - |
نقاط الضعف/ المساوىء/ المخاطر من وجهة نظر جامع المعلومات أو غيره من الاشخاص الرئيسيين لمصدر المعلومات | كيف يمكن التغلب عليها؟ |
---|---|
ขาดองค์ความรู้ทางวิชาการ/งานวิจัย ที่มาสนับสนุนเทคโนโลยีชีวภาพที่นำมาเผยแพร่ | ให้ศึกษาพิสูจน์ทราบทางวิทยาศาสตร์ประกอบว่า เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้อยู่ ประกอบด้วยธาตุอาหาร ฮอร์โมทใดเป็นส่วนประกอบ มีประโยชน์อะไร |
- | - |
- | - |
7. المراجع والروابط
7.1 طرق جمع/مصادر المعلومات
- زيارات ميدانية، مسوحات ميدانية
-
- مقابلات مع مستخدمي الأراضي
5ราย
- التجميع من التقارير والوثائق الأخرى الموجودة
เอกสารการถ่ายทอดองค์ความรู้ภูมิปัญญา
7.2 المراجع للمنشورات المتاحة
العنوان، المؤلف، السنة، النظام القياسي الدولي لترقيم الكتب ISBN:
-
متاح من أين؟كم التكلفة؟:
-
7.3 روابط للمعلومات ذات الصلة المتوفرة على الإنترنت
العنوان/الوصف:
-
عنوان الرابط URL:
-
الروابط والوحدات المواضيعية
توسيع الكل طي الكلالروابط
لا يوجد روابط
الوحدات المواضيعية
لا يوجد وحدات مواضيعية