แนวทาง

The Bio-fermentation technology Transferring Centre for the Soil Improvement [ไทย]

  • ผู้สร้างสรรค์:
  • การอัพเดท:
  • ผู้รวบรวม:
  • ผู้เรียบเรียง:
  • ผู้ตรวจสอบ: ,

Land Development Learning Centre at Mai ket district

approaches_4234 - ไทย

สมบูรณ์: 97%

1. ข้อมูลทั่วไป

1.2 รายละเอียดที่ติดต่อได้ของผู้รวบรวมและองค์กรที่เกี่ยวข้องในการประเมินและการจัดเตรียมทำเอกสารของแนวทาง

วิทยากรหลัก

ผู้ใช้ที่ดิน:
ผู้รวบรวม:

ไผผักแว่น นางสาวปาริชาติ

0-3721-0781 / 08-5920-8429

parichat19@hotmail.com / -

สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 กรมพัฒนาที่ดิน

135/1 ม. 5 ต. เนินหอม อ. เมือง จ.ปราจีนบุรี 25230

ไทย

ผู้ใช้ที่ดิน:
ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองปราจีนบุรี ผู้นำแนวทางเอสแอลเอ็ม ไปถอดบทเรียนเพื่อจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอน และหลักสูตรการฝึกอบรมในองค์กร และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์:

เหล่าวงศ์วัฒนา นายสมบูรณ์

0-3721-3261 / 08-1723-0421

- / -

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองปราจีนบุรี

ที่อยู่องค์กร ถนนราษฎรดำริ ซอย 5 ต. หน้าเมือง อำเภอ เมืองปราจีนบุรี จังหวัด ปราจีนบุรี รหัสไปรษณีย์ 25230

ไทย

ด้วงพิมพ์ นายกนก

09-5253-5982 / -

- / -

สวนเติมทรัพย์ไม้เค็ดโฮมสเตย์

27/2 ม. 2 ต. ไม้เค็ด อ.เมือง จ. ปราจีนบุรี

ไทย

ผู้ใช้ที่ดิน:

พุ่มสุข นางอรุญ

09-8893-0860 / -

- / -

เกษตรกร

42/2 ม. 5 ต. ไม้เค็ด อ. เมือง จ. ปราจีนบุรี

ไทย

ผู้ใช้ที่ดิน:

บุญยงค์ จ.ส.อ.แมน

08-7128-7051 / -

- / -

ร.2 พัน.1 รอ.

45/2 ม.5 ต.ไม้เค็ด อ. เมือง จ. ปราจีนบุรี

ไทย

บุญยงค์ จ.ส.อ.แมน

08-7128-7051 / -

- / -

ร.2 พัน.1 รอ.

45/2 ม.5 ต.ไม้เค็ด อ. เมือง จ. ปราจีนบุรี

1.3 เงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการใช้ข้อมูลที่ได้บันทึกไว้ผ่านทาง WOCAT

วันที่เก็บรวบรวมข้อมูล (ภาคสนาม):

28/09/2018

ผู้รวบรวมและวิทยากรหลักยอมรับเงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลที่ถูกบันทึกผ่านทาง WOCAT:

ใช่

2. คำอธิบายของแนวทาง SLM

2.1 การอธิบายแบบสั้น ๆ ของแนวทาง

The Bio-fermentation technology Transferring Centre for the Soil Improvement at Mai ket district is a source of learning about the production and the usage of the bio-fermented solution to improve the soil and create a farmers’ network on quality crop production.

2.2 การอธิบายอย่างละเอียดของแนวทาง

การอธิบายอย่างละเอียดของแนวทาง:

The Bio-fermentation technology Transferring Centre for the Soil Improvement at Mai ket district, Muang Prachin Buri is the source of learning about the production and usage of the bio-fermented water in soil degradation deteriorated and improve especially in the sandy soil which has the low abundance. The owners of the centre are knowledgeable, expert, and researchers and proud of the research and technology succession and they are ready to transfer that knowledge to the farmers in neighbouring communities by showing the source / demonstration plots which can come to study / visit / see the work. There are the transmission processes that they have the ability to be as the lecturers.
The purpose of the Bio-fermentation technology Transferring Centre for Soil Improvement is to convey the technology of production and use of bio-fermented solution to the farmers and the general public to build a network of users of the biotechnology to improve the soil.
The Bio-fermentation technology Transferring Centre for Soil Improvement has the working processions are following:
1. Studying and doing the research (experimental) of the bio-fermented water.
2. Technology transferring of the meeting, observing the exhibition, printing media, radio/TV program
3. Creating the Networking
4. Promoting the work
5. Selling the products such as durian or durian products, vegetable (Climbing Wattle)
6. Organizing the outside exhibition (Foundation Day, Department of Land Development, 2017)

The working processions of The Bio-fermentation technology Transferring Centre for Soil Improvement
1. Selecting the farmers who are successful in producing and using Bio-fermentation technology and improvement of soil degradation that established as a technology transferring centre and provide operational support by the Department of Land Development.
2. Promote the public relations to the broadcast centre such as the installation of the PR centre. VDO photography on Youtube, TV shows, radio programs.
3. Develop e the learning points and demonstration plots, including learning points / demonstrations of biological fermentation. Composting Quality of fruit trees Pest control by supporting inputs from the government.
4. Provide training to visit by government agencies, the private and educational institutions. Provide the supporting or farmers interested in self studying as well as being a lecturer both on and off the premises.
5. The Bio-fermentation technology user network is established to improve the soil and produce the quality crops from farmers who come to study. The government has provided the supporting to strengthen to the group / network from learning, such as providing knowledge, supporting inputs as taking to learn.
6. Provide a learning forum to result in technology exchanging by Learning together and technology transferring.
7. Promote and develop the production and usage of biotechnology such as the development of bio-fermented formulas to suit the application.
8. Selling products such as seedling (durian), product (durian, longkong, banana, climbing wattle, etc.) biological extract.
The relevant people of the working processions of The Bio-fermentation technology Transferring Centre for Soil Improvement
- The farmer who is the owner of the centre has the role of researching, experimenting and developing technology, lesson learned / technological knowledge, technology transferring management and development centre.
- The group of students who included the general farmers, the expert of the soil, student / university student and the government officers.
- The group / Network Manufacturers and users of technology which learn how to buy and sell.
- Consumers / customers include farmers and the general public that buy the fruits / fruits / vegetables and various extracts.
- Promoters (budget, inputs, dissemination, exhibition, study, visit) such as the government officers. (Military / civilian / teacher) are massive media.
-The centre of broadcasting that is a great way to learn how to practice to solve problems in the occupation.
- Farmer Centre owner is the researcher. It is a prototype farm for interested farmers.
- Ensuring the professionalism of the technology user community. (The network provides advice / guidance, such as the formula to produce the benefits.
- Make the opportunity to meet and exchange to each other.
The limited of The Bio-fermentation technology Transferring Centre for Soil Improvement is
- Learning Points / Learning base on the relay centre is rare. It should increase the learning points and participation from relevant agencies.

2.3 รูปภาพของแนวทาง

ข้อสังเกตทั่วไปเกี่ยวกับรูปภาพ:

-

2.4 วีดีโอของแนวทาง

ความคิดเห็น อธิบายสั้นๆ:

การใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการพัฒนาที่ดิน

วันที่:

07/03/2018

สถานที่:

-

ชื่อของผู้ถ่ายวีดีโอ:

กรมพัฒนาที่ดิน

ความคิดเห็น อธิบายสั้นๆ:

หมอดินอาสา ต้นแบบวิถีเกษตรอินทรีย์

วันที่:

05/07/2016

สถานที่:

-

ชื่อของผู้ถ่ายวีดีโอ:

กรมพัฒนาที่ดิน

2.5 ประเทศ ภูมิภาค หรือสถานที่ตั้งที่ได้นำแนวทางไปใช้

ประเทศ:

ไทย

ภูมิภาค/รัฐ/จังหวัด: :

ปราจีนบุรี

ข้อมูลเฉพาะเพิ่มเติมของสถานที่ตั้ง:

62/1 ม. 5 ต.ไม้เค็ด อ. เมือง จ. ปราจีนบุรี

ความคิดเห็น:

-

2.6 วันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดของแนวทาง

ระบุปีที่เริ่ม:

2000

ความคิดเห็น:

ริเริ่มถอดบทเรียนตั้งปี 2543 ผ่านทางสื่อวิทยุของกองพลทหารราบ

2.7 ประเภทของแนวทาง

  • เป็นนวัตกรรมท้องถิ่นล่าสุด/ นวัตกรรมใหม่

2.8 เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์หลักของแนวทาง

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุงบำรุงดิน มีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการใช้น้ำหมักชีวภาพ ให้กับเกษตรกรและผู้สนใจทั่วไปและเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงบำรุงดิน

2.9 เงื่อนไขที่เอื้ออำนวยหรือเป็นอุปสรรคต่อการนำเทคโนโลยีภายใต้แนวทางนี้ไปปฏิบัติใช้

บรรทัดฐานและค่านิยมทางสังคม วัฒนธรรม ศาสนา
  • เอื้ออำนวย

วัฒนธรรมในท้องถิ่นมีการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันกัน มีไรก็แบ่งปันกัน ดังนั้นเมื่อเกษตรกรประสบมีปัญหาในการทำการเกษตรสามารถสอบถามวิธีปฏิบัติที่ประสบความสำเร็จจากเกษตรกรต้นแบบได้

การมีไว้ให้หรือการเข้าถึงแหล่งการเงินและบริการ
  • เอื้ออำนวย

มีแหล่งเงินทุนสนับสนุน แต่เกษตรกรสามารถบริหารจัดการเงินทุนทางการเกษตรได้ด้วยตนเอง ไม่สนใจกู้เงินจากสถาบัน

การจัดตั้งระดับองค์กร
  • เอื้ออำนวย

กรมพัฒนาที่ดิน.จัดตั้งเป็นศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ถ่ายทอดองค์ความรู้ จัดพิมพ์เอกสารเผยแพร่ ถ่ายทำวีดีทัศน์ และสนับสนุนงบประมาณเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้สู่เกษตรกร และ ชุมชนอย่างกว้างขวาง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กองพันทหารราบที่ 2 ถอดบทเรียนและถ่ายทอดความรู้ผ่านสื่อการเรียนการสอนและสื่อวิทยุ พร้อมสนับสสนุนงบประมาณอย่างกว้างขวางและวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น

กรอบแนวทางในการดำเนินการด้านกฎหมาย (การถือครองที่ดิน สิทธิในการใช้ที่ดินและน้ำ)
  • เอื้ออำนวย

กรมพัฒนาที่ดิน และหน่วยงานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สนับสนุนงบประมาณ และปัจจัยการผลิต ในการฝึกอบรม ให้แก่เกษตรกร

นโยบาย
  • เอื้ออำนวย

ส่งเสริมให้เกษตรกรใช้สารอินทรีย์ชีวภาพ ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร อยู่แบบพอเพียง พึ่งพาตนเองได้ มีภูมิคุ้มกันตนเอง

การกำกับดูแลที่ดิน (การตัดสินใจ การนำเอาไปปฏิบัติใช้ และการบังคับใช้)
  • เอื้ออำนวย

ภาครัฐส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์

ไม่เป็นระบบ ดูแลไม่ทั่วถึง ได้รับการสนับสนุนปัจจัย แต่เกษตรกรไม่มีความรู้ในเรื่อง การนำไปใช้ และการพัฒนาต่อยอด

ความรู้เกี่ยวกับ SLM การเข้าถึงการสนับสนุนด้านเทคนิค
  • เอื้ออำนวย

ภาครัฐหลายหน่วยงาน พร้อมสนับสนุนและส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกร และชุมชน

ตลาด (จัดซื้อปัจจัยนำเข้า ขายผลิตภัณฑ์) และราคา
  • เอื้ออำนวย

ตลาดรับซื้อผลผลิต ที่ให้ราคาสูง เนื่องจาก เพราะเป็นสินค้าเกษตรปลอดภัย

ปริมาณงานที่ทำได้ กำลังคนที่มีให้
  • เอื้ออำนวย

การถ่ายเทคโนโลยีชีวภาพ สอนให้พึ่งพาตนเองได้ ใช้ปัจจัยภายในฟาร์ม ดังนั้นเกษตรกรมักใช้แรงงานตนเองในครัวเรือน มีการแจ้าง้งแรงงานน้อย ทำให้ลดต้นทุนการผลิต

3. การมีส่วนร่วมและบทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง

3.1 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องในแนวทางนี้และบทบาท

  • ผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นหรือชุมชนระดับท้องถิ่น

เกษตรกรในชุมชน พื้นที่ใไกล้เคียง และจากพื้นที่อื่นทั่วประเทศ

เดินทางมาเรียนรู้ ฝึกอบรม ศึกษาดูงาน ในศูนย์ฯ และนำความรู้ไปปฏิบัติในพื้นที่ของตนเอง

  • องค์กรที่ขึ้นอยู่กับชุมชน

องค์กรปกครองส่วนท้อนถิ่น

พัฒนาพื้นที่ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร

  • ผู้เชี่ยวชาญ SLM หรือที่ปรึกษาการเกษตร

กรมพัฒนาที่ดิน

คัดเลือกให้เป็นหมอดินอาสาประจำจังหวัดปราจีนบุรี และเชิญเป็นวิทยากรความรู้ ด้านการใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการพัฒนาที่ดินแก่เกษตรกรและหมอดินอาสา

  • ครู เด็กนักเรียน หรือนักศึกษา

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี

ถอดบทเรียนด้านการใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตพืช และจัดทำเป็นหลักสูตรการเรียนการสอนของหน่วยงาน

  • ภาคเอกชน

ธกส

สนับสนุนงบประมาณก่อสร้างอาคารศูนย์เรียนรู้

หน่วยงานพัฒนาของทหาร

-

ถ้ามีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายคนที่เกี่ยวข้องให้ระบุหน่วยงานตัวแทน:

-

3.2 การเกี่ยวข้องของผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นหรือชุมชนระดับท้องถิ่นในช่วงต่างๆของแนวทาง
ความเกี่ยวข้องของผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นหรือชุมชนระดับท้องถิ่น ระบุผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องและอธิบายกิจกรรม
การริเริ่มหรือการจูงใจ ระดมกำลังด้วยตนเอง นางวันเพ็ญ สนลอย เผยแพร่แนวทางการดำเนินชีวิตของตนเอง ผ่านสื่อรายการวิทยุของหน่วยงานทหาร พ.ท. วีระ ใจหนักแน่น กรมพัฒนาที่ดินสนับสนุนเชื้อจุลินทรีย์สารเร่ง พด.2 กากน้ำตาล ถังหมัก
การวางแผน ปฏิสัมพันธ์ กรมพัฒนาที่ดิน สนับสนุนปัจจัยการผลิต จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ และเชิญเป็นวิทยากร กศน. สนับสนุนเอกสาร เชิญเป็นวิทยากร นำองค์ความรู้ไปขยายผลเคยออกรายการทีวี เรื่อง การใช้เทคโนโลยี เพื่อการทำการเกษตรที่ยั่งยืนหน่วยงานทหาร เชิญไปเป็นวิทยากรบรรยาย
การดำเนินการ ปฏิสัมพันธ์ พด. สนับสนุนงบประมาณสร้างโรงเรือนผลิตปุ๋ยหมัก สนับปัจจัยการผลิตปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ วัสดุปรับปรุงบำรุงดิน บอร์ด ป้าย สำหรับจัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดิน สนับสนุนงบประมาณถ่ายทำวีดีทัศน์เรื่อง การใช้เทคโนโลยีชีวภาพปรับปรุงบำรุงดิน เผยแพร่องค์ความรู้ให้อย่างกว้าง ธกส. สนับสนุนงบประมาณก่อสร้างอาคารศูนย์เรียนรู้ กศน. สนับสนุนเอกสาร สำหรับเผยแพร่ (สอน และสร้างแรงจูงใจ) เพื่อให้การขยายผลเร็วขึ้น เกษตรกรเจ้าของเทคโนโลยี(คุณวันเพ็ญ) มีการจำหน่าย แจกจ่ายผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพให้เกษตรกรที่สนใจนำไปทดลองใช้ โฮมสเตย์ไม้เค็ด นำนักท่องเที่ยวมาศึกษาดูงาน พร้อมเรียนรู้ควบคู่กับการลงมือปฏิบติ เพื่อนำไปใช้ในพื้นที่ตนเอง
การติดตามตรวจสอบหรือการประเมินผล ปฏิสัมพันธ์ กศน พด และหน่วยงานทหาร มีการติดตามประเมินผล

3.3 แผนผังแสดงขั้นตอนการทำงาน (ถ้ามี)

คำอธิบาย:

-

ผู้เขียน:

-

3.4 การตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยี SLM

ระบุผู้ที่ทำการตัดสินใจเลือกเทคโนโลยีมากกว่าหนึ่งวิธีไปปฏิบัติใช้:
  • ผู้ใช้ที่ดินเพียงผู้เดียว ( ริเริ่มด้วยตัวเอง)
การอธิบาย:

ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพียงผู้เดียว ( ริเริ่มด้วยตัวเอง)
ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินโดยการสนับสนุนจากผู้เชี่ยวชาญเอสแอลเอ็มเป็นหลัก
ผู้ลงมือปฏิบัติทั้งหมดที่เกี่ยวข้องในฐานะที่เป็นส่วนร่วมของแนวทาง

ระบุว่าการตัดสินใจตั้งอยู่บนพื้นฐานของ:
  • การประเมินความรู้ SLM ที่ได้ทำการบันทึกไว้เป็นอย่างดี (การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ)

4. การสนับสนุนด้านเทคนิค การสร้างขีดความสามารถ และการจัดการด้านความรู้

4.1 การสร้างขีดความสามารถ / การอบรม

ได้มีการจัดอบรมให้แก่ผู้ใช้ที่ดินหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคนอื่น ๆ หรือไม่:

ใช่

ให้ระบุว่าใครเป็นผู้ได้รับการอบรม:
  • ผู้ใช้ที่ดิน
  • เจ้าหน้าที่ภาคสนาม / ที่ปรึกษา
ถ้าเกี่ยวข้อง ให้ระบุ เพศ อายุ สถานภาพ ชาติพันธุ์ เป็นต้น:

ฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้ ให้แก่ ทหาร หมอดินอาสาประจำตำบล/หมู่บ้าน เกษตรกร ครู นักเรียน/นักศึกษา ผู้พิการ และผู้สนใจทั่วไป

รูปแบบการอบรม:
  • เกษตรกรกับเกษตรกร
  • ใช้พื้นที่ทำการสาธิต
  • จัดการประชุมสู่สาธารณชน
หัวข้อที่พูด:

โครงการประชุมถอดองค์ความรู้ภูมิปัญญา การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต โครงการส่งเสริมการผลิตและการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อการปรับปรุงบำรุงดิน

ความคิดเห็น:

-

4.2 การบริการให้คำแนะนำ

ผู้ใช้ที่ดินมีการเข้าถึงการรับบริการให้คำปรึกษาหรือไม่:

ใช่

ระบุว่ามีบริการให้คำปรึกษาหรือไม่:
  • ที่ศูนย์ถาวร
  • เฟสบุ๊กFb สวนวันเพ็ญ พันธุ์ไม้
การอธิบาย/แสดงความคิดเห็น:

เกษตรกรที่สนใจ สามารถเข้ามาศึกษา ขอคำแนะนำ ได้ที่ศูนย์เรียนรู้และสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ทางเฟสบุ๊ก

4.3 การเสริมความแข็งแกร่งให้กับสถาบัน (การพัฒนาองค์กร)

สถาบันได้รับการจัดตั้งขึ้นมาหรือเสริมความแข็งแกร่งโดยแนวทางนี้หรือไม่:
  • ไม่

4.4 การติดตามตรวจสอบและประเมินผล

การติดตามตรวจสอบและประเมินผลเป็นส่วนหนึ่งของแนวทางหรือไม่:

ใช่

ถ้าตอบว่าใช่ แสดงว่าการจัดเตรียมเอกสารนี้มุ่งหวังที่จะเอาไปใช้สำหรับการติดตามตรวจสอบและประเมินผลใช่หรือไม่:

ใช่

4.5 การวิจัย

การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของแนวทางหรือไม่:

ไม่ใช่

5. การสนับสนุนด้านการเงินและวัสดุอุปกรณ์

5.1 ระบุงบประมาณประจำปีสำหรับแนวทาง SLM นี้

ถ้าหากว่างบประมาณประจำปีไม่เป็นที่ทราบแน่นอน ให้ระบุช่วงลงไป:
  • 10,000-100,000
แสดงความคิดเห็น (แหล่งของการระดมทุน ผู้บริจาคคนสำคัญ):

ธกส. สนับสนุนงบประมาณ 100,000 บาท ก่อสร้างอาคารสำหรับเป็นศูนย์เรียนรู้ พด. สนับสนุนงบประมาณก่อตั้งโรงงเรียนผลิตปุ๋ยหมัก และ– น้ำหมักชีวภาพ

5.2 การสนับสนุนด้านการเงิน / วัสดุอุปกรณ์ให้แก่ผู้ใช้ที่ดิน

ผู้ใช้ที่ดินได้รับการสนับสนุนด้านการเงิน / วัสดุอุปกรณ์ไปปฏิบัติใช้เทคโนโลยีหรือไม่:

ใช่

ถ้าใช่ ให้ระบุประเภทของการสนับสนุน เงื่อนไขและผู้จัดหามาให้:

พด. สนับสนุนปัจจัยการผลิตน้ำหมักชีวภาพ ประกอบด้วย จุลินทรีย์สารเร่ง พด.2ถังหมัก และกากน้ำตาล

5.3 เงินสนับสนุนสำหรับปัจจัยนำเข้า (รวมถึงแรงงาน)

  • การเกษตร
ระบุปัจจัยนำเข้าที่ได้รับการสนับสนุน เห็นด้วยระดับไหน ระบุเงินสนับสนุน
ถังหมัก กากน้ำตาล ได้รับการช่วยเหลือทางการเงินบางส่วน
  • วัสดุสำหรับการก่อสร้าง
ระบุปัจจัยนำเข้าที่ได้รับการสนับสนุน เห็นด้วยระดับไหน ระบุเงินสนับสนุน
หิน ได้รับการช่วยเหลือทางการเงินบางส่วน ธกส. 100,000 บาท (สนับสนุนเป็นวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้างอาคารศูนย์เรียนรู้
ไม้ ได้รับการช่วยเหลือทางการเงินบางส่วน -
กระเบื้อง ปูน เหล็ก ได้รับการช่วยเหลือทางการเงินบางส่วน -
  • อื่น ๆ
อื่นๆ (ระบุ) เห็นด้วยระดับไหน ระบุเงินสนับสนุน
พด. 15,000 บาท (สนับสนุนในรูปปัจจัยการผลิตน้ำหมักชีวภาพ)
ถ้าแรงงานโดยผู้ใช้ที่ดินเป็นปัจจัยนำเข้าที่มีอยู่มากมาย ระบุด้วยว่าเนื่องจาก:
  • ให้ค่าตอบแทนด้วยการสนับสนุนด้านวัสดุอุปกรณ์อื่น ๆ
ความคิดเห็น:

-

5.4 เครดิต

มีการจัดหาเครดิตมาให้ภายใต้แนวทาง SLM หรือไม่:

ไม่ใช่

5.5 แรงจูงใจหรือเครื่องมืออื่น ๆ

แรงจูงใจหรือเครื่องมืออื่น ๆ ได้ถูกนำไปใช้ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี SLM หรือไม่:

ใช่

ถ้าใช่ ระบุ:

ได้จำหน่ายผลิตภัณฑ์ของตนเอง
-มีค่าตอบแทนวิทยากร ได้ชื่อเสียง ได้ความภาคภูมิใจ

6. การวิเคราะห์ผลกระทบและการสรุป

6.1 ผลกระทบของแนวทาง

ทำให้ผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นมีอำนาจขึ้น ปรับปรุงการเข้าร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ดีขึ้นหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

เกษตรกรพึ่งพาตนเองได้ ใช้ปัจจัยในฟาร์มมาปรับปรุงดิน เห็นผลจริงสังเกตจากกายภาพของดิน จึงมีการนำความรู้ไปขยายผลอย่างกว้างขวาง

ช่วยในการตัดสินใจโดยดูจากหลักฐาน ได้หรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

ผู้มาศึกษาดูงาน เห็นผลจริงจากพื้นที่และการได้รับรางวัลต่างๆ ทำให้เกิดความเชื่อถือกล้านำเทคโนโลยีไปทดลองปฏิบัติใช้ในพื้นที่ของตนเอง

ช่วยให้ผู้ใช้ที่ดินนำเอาเทคโนโลยี SLMไปใช้และบำรุงรักษาสภาพไว้ได้หรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

เทคโนโลยีที่ใช้เห็นผลจริง เกษตรกรบางส่วนจึงนำปฏิบัติ

ปรับปรุงความร่วมมือกันและการดำเนิน งานของ SLM ได้อย่างมีประสิทธิผลหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

หน่วยงานรัฐ เครื่อข่ายกลุ่มการท่องเที่ยว ถอดบทเรียน นำไปขยายผล และมีการติดตามผล

ระดมกำลังหรือปรับปรุงการเข้าถึงแหล่ง เงินทุนสำหรับการดำเนินการ SLM หรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

หน่วยงานภาครัฐ เห็นผลสำเร็จของเทคโนโลยี จึงสนับสนุนเงินทุน ปัจจัยการผลิต และวัสดุอุปกรณ์

ปรับปรุงความรู้และความสามารถของผู้ใช้ที่ดินในการดำเนินการ SLM หรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

หน่วยงานภาครัฐ นำเกษตรกรมาศึกษาดูงาน เจ้าของเทคโนโลยีมีการพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง

ปรับปรุงความรู้และความสามารถของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคนอื่น ๆ ให้ดีขึ้นหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

มีปัญหาด้านการปรับปรุงดิน การเพิ่มผลผลิตพืช โรคพืชสามารถปรึกษาได้โดยผ่านช่องทาง เฟสบ๊ก ไลน์ หรือโทรศัพท์สอบถาม

ทำให้ผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นมีอำนาจขึ้น ปรับปรุงการเข้าร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ดีขึ้นหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

มีกลุ่มเครือข่าย ถ่ายทอดองค์ความรู้ และร่วมมือกันพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อปรับปรุงบำรุงดิน เพิ่มผลผลิตพืช

หากการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในฟาร์ม มีการขยายผลมากขึ้น จะช่วยลดการปนเปื้อนสารพิษ/สารเคมีทางการเกษตรในระบบนิเวศน์ บรรเทาความขัดแย้งของคนในชุมชน

ทำให้กลุ่มด้อยโอกาสมีอำนาจทางสังคมและเศรษฐกิจหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

เปิดโอกาสให้คนทุกเพศ วัย คนพิการ มาร่วมศึกษาดูงานได้ตลอด

ส่งเสริมให้เยาวชนหรือบุตรหลานของผู้ใช้ที่ดินให้เข้าร่วมใน SLM:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

หลายหน่วยงาน นำพานักเรียน นักศึกษาเยาวชนมา เข้ามาดูงาน

ผลิตอาหารปลอดภัย แก่ผู้บริโภค

ปรับปรุงการเข้าถึงตลาดหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

สินค้าการเกษตรปลอดภัย และมีคุณภาพ ทำให้มีตลาดรองรับกว้างขวาง

นำไปสู่โอกาสในการจ้างงาน รายได้หรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

สมาชิกกลุ่มเครือข่ายเน้นการพึ่งพาตนเอง

6.2 แรงจูงใจหลักของผู้ใช้ที่ดินเพื่อที่จะนำ SLM ไปปฏิบัติใช้

  • การผลิตที่เพิ่มขึ้น

ดินดีขึ้นทำให้ผลผลิตพืชเพิ่มขึ้น

  • กำไร (ความสามารถ) อัตราส่วนค่าใช้จ่ายต่อผลประโยชน์ที่เพิ่มขึ้น

รายได้เพิ่มขึ้น เพราะเทคโนโลยีช่วยลดต้นทุนการผลิต

  • การเสื่อมของที่ดินลดลง

เทคโนโลยีช่วยฟื้นฟูดินเสื่อมโทรม

  • จิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อม

เน้นการใช้สารอินทรีย์ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม

  • ความรู้และทักษะ SLM ที่เพิ่มพูนขึ้น

มีการศึกษาเรียนรู้และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ

6.3 ความยั่งยืนของกิจกรรมของแนวทาง

ผู้ใช้ที่ดินสามารถทำให้สิ่งต่างๆ ที่ได้ปฏิบัติใช้โดยแนวทางนี้ยั่งยืนได้หรือไม่ (โดยไม่มีการสนับสนุนจากภายนอก):
  • ใช่
ถ้าตอบว่าใช่ ให้อธิบายว่าอย่างไร :

เกษตรกรสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้ได้เอง เนื่องจากปัจจัยการผลิตสามารถหาได้ในท้องถิ่น ราคาไม่แพง

6.4 จุดแข็งและข้อได้เปรียบของแนวทาง

จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบของแนวทางในทัศนคติของผู้ใช้ที่ดิน
- การจัดทำศูนย์ถ่ายทอดฯ ทำให้เกิดแหล่งเรียนรู้ ศึกษาดูงาน เพื่อศึกษาหาความรู้ ฝึกปฏิบัติ ได้ข้อมูลไปปฏิบัติ เพื่อแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพ
-เกษตรกรเจ้าของศูนย์ฯ เป็นนักคิดค้น/วิจัย เป็นเกษตรกรต้นแบบให้แก่เกษตรกรผู้สนใจมาเรียนรู้
- ทำให้เกิดความมั่นคงในอาชีพของกลุ่มเครือข่ายผู้ใช้เทคโนโลยี (มีเครือข่ายคอยให้คำปรึกษา/แนะนำ เช่น ให้ข้อมูลสูตร การผลิต การนำไปใช้ประโยชน์
- ทำให้มีโอกาสพบปะและแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน
- การจัดทำศูนย์ถ่ายทอดฯ ทำให้เกิดแหล่งเรียนรู้ ศึกษาดูงาน เพื่อศึกษาหาความรู้ ฝึกปฏิบัติ ได้ข้อมูลไปปฏิบัติ เพื่อแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพ
จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบของแนวทางในทัศนคติของผู้รวบรวมหรือวิทยากรหลัก
มีการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ศึกษาหาความรู้ตลอดเวลา พร้อมที่จะถ่ายทอดความรู้ให้แก่เกษตรกร และผู้สนใจ
ลงมือทดลอง และทดสอบเทคโลยีชีวภาพในพื้นที่จริง รับทราบปัญหาอุปสรรคทุกอย่างในการดำเนินงาน จึงสามารถตอบข้อซักถามของเกษตรกรได้ชัดเจนว่า วิธีไหนมีประสิทธิภาพหรือไม่อย่างไร
-

6.5 จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบของแนวทางและวิธีในการแก้ไข

จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบในทัศนคติของผู้ใช้ที่ดิน สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างไร
จุดเรียนรู้ / ฐานการเรียนรู้ ในศูนย์ถ่ายทอดยังมีน้อย ควรจะเพิ่มจุดเรียนรู้และการมีส่วนร่วมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เกษตรกรบางรายยังขาดแรงจูงใจขาดการตื่นตัวตื่น/รับรู้ไม่ขยันและอดทน สร้างแรงบันดาลใจจากกรณีคุณวันเพ็ญ โดยเขียนเรื่องราวการดำเนินชีวิต การต่อสู้ จนประสบผลสำเร็จ สามารถพึ่งพาตนเองได้
- -
จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบในทัศนคติของผู้รวบรวมหรือวิทยากรหลัก สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างไร
ขาดองค์ความรู้ทางวิชาการ/งานวิจัย ที่มาสนับสนุนเทคโนโลยีชีวภาพที่นำมาเผยแพร่ ให้ศึกษาพิสูจน์ทราบทางวิทยาศาสตร์ประกอบว่า เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้อยู่ ประกอบด้วยธาตุอาหาร ฮอร์โมทใดเป็นส่วนประกอบ มีประโยชน์อะไร
- -
- -

7. การอ้างอิงและการเชื่อมต่อ

7.1 วิธีการหรือแหล่งข้อมูล

  • ไปเยี่ยมชมภาคสนาม การสำรวจพื้นที่ภาคสนาม

-

  • การสัมภาษณ์กับผู้ใช้ที่ดิน

5ราย

  • การเก็บรวบรวมมาจากรายงานและเอกสารที่มีอยู่

เอกสารการถ่ายทอดองค์ความรู้ภูมิปัญญา

7.2 การอ้างอิงถึงสิ่งตีพิมพ์

ชื่อเรื่อง ผู้เขียน ปี ISBN:

-

ช่องทางในการสืบค้น และราคา:

-

7.3 เชื่อมโยงกับข้อมูลที่มีอยู่บนออนไลน์

ชื่อเรื่องหรือคำอธิบาย:

-

URL:

-

โมดูล