Tecnologías

เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา Organic Farm on Moderate Hillside Slope [Tailandia]

-

technologies_4242 - Tailandia

Visualizar secciones

Expandir todo Colapsar todos
Completado: 96%

1. Información general

1.2 Detalles de contacto de las personas de referencia e instituciones involucradas en la evaluación y la documentación de la Tecnología

Persona(s) de referencia clave

co-compiler:
ผู้รวบรวม:
usuario de la tierra:

มงคลกาญจนคุณ นายพัฒน์พงษ์

-

Tailandia

1.3 Condiciones referidas al uso de datos documentados mediante WOCAT

El compilador y la/s persona(s) de referencia claves aceptan las condiciones acerca del uso de los datos documentados mediante WOCAT:

1.4 Declaración de la sostenibilidad de la Tecnología descrita

¿La Tecnología aquí descrita resulta problemática en relación a la degradación de la tierra, de tal forma que no puede considerársela una tecnología sostenible para el manejo de la tierra?

No

Comentarios:

เกษตรกรสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง

1.5 Referencia al (los) Cuestionario(s) de Enfoques MST (documentados usando WOCAT)

กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์
approaches

กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ [Tailandia]

กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เป็นการรวมกลุ่มของเกษตรกรที่ดำเนินการทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยได้จัดให้มีศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย เพื่อเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ร่วมกัน

  • Compilador: Kukiat SOITONG

2. Descripción de la Tecnología MST

2.1 Breve descripción de la Tecnología

Definición de la Tecnología:

เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา เป็นการจัดการพื้นที่ ดินและน้ำ ให้สามารถผลิตสินค้าทางการเกษตรที่ปลอดภัยได้อย่างยั่งยืน

2.2 Descripción detallada de la Tecnología

Descripción:

(1)เทคโนโลยีนำไปใช้ที่ไหน(สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของมนุษย์
พื้นที่ทำการเกษตร ที่เป็นที่ลาดเชิงเขา ดินมีลักษณะเป็นดินร่วนปนกรวด ง่ายต่อการชะล้างพังทลาย และยังขาดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำ ทำให้ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง มีการทำการเกษตรเชิงเดี่ยว ได้แก่ การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่มีการใช้ปัจจัยการผลิตและใช้เงินลงทุนมาก เช่น ปุ๋ยเคมี สารกำจัดศัตรูพืชและวัชพืช อย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดสารพิษตกค้างในผลผลิต เป็นอันตรายต่อสุขภาพ





)(2) อะไรคือลักษณะหรือองค์ประกอบที่สำคัญของเทคโนโลยี
องค์ประกอบที่สำคัญของเทคโนโลยีระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
1.สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน ด้วยการใช้พืชปุ๋ยสด(ปอเทือง สลับกับถั่วพร้า)และการใช้ ปุ๋ยหมัก
2.การจัดการพื้นที่ โดย ปลูกหญ้าแฝก บนที่ลาดเชิงเขา เพื่อชะลอการไหลของน้ำ และแบ่งพื้นที่ทำการเกษตรตามความลาดชัน
3. สร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ เช่น ขุดสระน้ำ หรือ ขุดบ่อบาดาล
4. การจัดทำ Buffer Zone
5. การจัดการ โรคและแมลง ด้วยสารชีวภัณฑ์
6. กำจัดวัชพืช ด้วยวิธีการตัดหญ้าคลุมดิน
(3)อะไรคือจุดประสงค์หรือหน้าที่ของเทคโนโลยี
จุดประสงค์ของ เทคโนโลยีระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
1 เพื่อฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน สร้างสมดุลให้กับระบบนิเวศน์ และเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ
2. เพื่อลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มรายได้
3. เพื่อให้มีสุขภาพดีขึ้น
(4)กิจกรรมที่สำคัญหรือปัจจัยการผลิตที่จำเป็นในการจัดตั้งหรือบำรุงรักษาสภาพเทคโนโลยี
ขั้นตอนการปฏิบัติในการจัดทำระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
1.สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน
1.1 ปลูกพืชปุ๋ยสด โดยใช้ปอเทือง สลับกับถั่วพร้า ปลูก 6 ครั้งต่อปี ต่อเนื่อง 2 ปี
1.1.1 การปลูกปอเทือง
ใช้วิธีการปลูกแบบหว่าน ใช้เมล็ดประมาณ 5 กิโลกรัม/ไร่ แล้วทำการคราดกลบตื้นๆ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ปอเทืองจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.1.2 วิธีการปลูกถั่วพร้า
ใช้วิธีการปลูกแบบโรยเป็นแถว โดยใช้เมล็ดโรยลงในแถว ซึ่งมีระยะระหว่างแถว 75 – 100เซนติเมตร เมื่อโรยเมล็ดลงในแถวแล้วกลบเมล็ดด้วยดินบาง ๆ ในอัตรา 5 - 8 กิโลกรัมต่อไร่ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ถั่วพร้าจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.2 ใช้ปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ในฟาร์ม และใช้น้ำหมักชีวภาพ
2. การจัดการพื้นที่
2.1 ปลูกหญ้าแฝก บนที่ลาดเชิงเขา เพื่อชะลอการไหลของน้ำ ดักตะกอนดิน และเป็นการควบคุมแมลงศัตรูพืช
2.2 ให้จัดการพื้นที่และปลูกพืชตามความลาดชัน เป็น 2 ระดับคือ
-ที่ลาดเชิงเขา ปลูกไผ่ ไม้ผล ป่าใช้สอย
-ที่ราบ ปลูกกล้วย มะละกอ พืชผักสวนครัว ฝรั่ง สมุนไพร ไม้ผล

3. สร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ โดยขุดสระน้ำ และขุดบ่อบาดาล เพื่อใช้ในการอุปโภค และทำการเกษตรครอบคลุมพื้นที่ 34 ไร่ โดยการใช้ระบบสปริงเกอร์ และให้น้ำตามความลาดชันของพื้นที่ นอกจากนี้ มีการให้น้ำหมักชีวภาพ ผ่านระบบสปริงเกอร์
4. การจัดทำ Buffer Zone โดยปลูกไผ่ ป่าไม้ใช้สอย และขึงสแลนสูง 2.50 เมตร ในด้านที่ไม่สามารถปลูกต้นไม้ได้ เพื่อป้องกันสารเคมีที่ปลิวมาจากด้านข้าง
5. การจัดการ โรคและแมลง ใช้สารชีวภัณฑ์ เช่น น้ำหมักชีวภาพ พ.ด 7
6. กำจัดวัชพืช ด้วยวิธีการตัดหญ้าคลุมดิน เพื่อรักษาความชื้นในดินและเพิ่มอินทรยวัตถุให้แก่ดิน
7 การจัดทำบัญชีฟาร์ม เพื่อให้ทราบต้นทุน กำไร-ขาดทุน ในการบริหารและจัดการฟาร์ม




5)ประโยชน์ที่ได้รับหรือผลกระทบของเทคโนโลยีคืออะไรบ้าง
1 พื้นที่ที่ทำการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น
2 สามารถลดต้นทุนการผลิตได้
3 ผลผลิตทางการเกษตรที่ได้มีความปลอดภัย ไม่มีสารพิษตกค้าง ทำให้ขายผลผลิตได้ราคาดีขึ้น
4. ทำให้สุขภาพของเกษตรกร ดีขึ้น

3)โอกาส
3.1 ทำให้เกิดความร่วมมือของผู้ผลิตกับหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งภาครัฐที่เข้ามาร่วมสนับสนุน
3.2 มีโอกาสได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้า ทำให้เป็นที่ต้องการของตลาด
3.3 รัฐมีนโยบายสนันสนุนด้านเกษตรอินทรีย์ ทำให้เกิดความร่วมมือของภาครัฐและเกษตรกร สร้างเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันได้มากขึ้น

2.3 Fotografías de la Tecnología

Comentarios generales sobre las fotos:

-

2.4 Videos de la Tecnología

Comentarios, descripción breve:

-

Lugar:

-

Nombre del videógrafo:

-

2.5 País/ región/ lugares donde la Tecnología fue aplicada y que se hallan comprendidos por esta evaluación

País:

Tailandia

Región/ Estado/ Provincia:

กาญจนบุรี

Especifique más el lugar :

บ้านทุ่งนา ม.4 ต.หนองเป็ด อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี

Especifique la difusión de la Tecnología:
  • aplicada en puntos específicos/ concentrada en un área pequeña
Comentarios:

-

2.6 Fecha de la implementación

Indique año de implementación:

2004

2.7 Introducción de la Tecnología

Especifique cómo se introdujo la Tecnología:
  • mediante proyectos/ intervenciones externas
Comentarios (tipo de proyecto, etc.):

กรมส่งเสริมการเกษตร

3. Clasificación de la Tecnología MST

3.1 Propósito(s) principal(es) de la Tecnología MST

  • mejorar la producción
  • reducir, prevenir, restaurar la degradación del suelo

3.2 Tipo(s) actuales de uso de la tierra donde se aplica la Tecnología

Tierras cultivadas

Tierras cultivadas

  • Cultivos perennes (no leñosos)
  • Cosecha de árboles y arbustos
  • มะม่วง มะละกอ มะพร้าว ฝรั่ง เงาะ ไผ่
Tierra de pastoreo

Tierra de pastoreo

Comentarios:

-

3.3 ¿Cambió el uso de tierras debido a la implementación de la Tecnología?

Comentarios:

-

3.4 Provisión de agua

otra (ej. post-inundación):
  • บ่อบาดาล
Comentarios:

-

3.5 Grupo MST al que pertenece la Tecnología

  • rompevientos/ cinturones de protección
  • manejo de agricultura—ganadería integrada
  • manejo integrado de la fertilidad del suelo

3.6 Medidas MST que componen la Tecnología

medidas agronómicas

medidas agronómicas

  • A2: materia orgánica/ fertilidad del suelo
medidas vegetativas

medidas vegetativas

  • V1: Cubierta de árboles y arbustos
Comentarios:

-

3.7 Principales tipos de degradación del suelo encarados con la Tecnología

erosión de suelos por agua

erosión de suelos por agua

  • Wt: pérdida de capa arable/ erosión de la superficie
deterioro químico del suelo

deterioro químico del suelo

  • Cn: reducción de la fertilidad y contenido reducido de la materia orgánica del suelo (no ocasionados por la erosión)
degradación biológica

degradación biológica

  • Bq: reducción de la cantidad/ biomasa
Comentarios:

-

3.8 Prevención, reducción o restauración de la degradación del suelo

Especifique la meta de la Tecnología con relación a la degradación de la tierra:
  • prevenir la degradación del suelo
  • reducir la degradación del suelo

4. Especificaciones técnicas, actividades de implementación, insumos y costos

4.1 Dibujo técnico de la Tecnología

Especificaciones técnicas (relacionadas al dibujo técnico):

พื้นที่การเกษตร ขนาด 39 ไร่ ทิศเหนือติดเขตรักษาพรรณสัตว์ป่าสลักพระ ทิศใต้ติดถนน
ขั้นตอนการปฏิบัติในการจัดทำระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
2.สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน
1.1 ปลูกพืชปุ๋ยสด โดยใช้ปอเทือง สลับกับถั่วพร้า ปลูก 6 ครั้งต่อปี ต่อเนื่อง 2 ปี
1.1.1 การปลูกปอเทือง
ใช้วิธีการปลูกแบบหว่าน ใช้เมล็ดประมาณ 5 กิโลกรัม/ไร่ แล้วทำการคราดกลบตื้นๆ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ปอเทืองจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.1.2 วิธีการปลูกถั่วพร้า
ใช้วิธีการปลูกแบบโรยเป็นแถว โดยใช้เมล็ดโรยลงในแถว ซึ่งมีระยะระหว่างแถว 75 – 100เซนติเมตร เมื่อโรยเมล็ดลงในแถวแล้วกลบเมล็ดด้วยดินบาง ๆ ในอัตรา 5 - 8 กิโลกรัมต่อไร่ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ถั่วพร้าจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.2 ใช้ปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ในฟาร์ม และใช้น้ำหมักชีวภาพ
2. การจัดการพื้นที่
2.1 ปลูกหญ้าแฝก บนที่ลาดเชิงเขา เพื่อชะลอการไหลของน้ำ ดักตะกอนดิน และเป็นการควบคุมแมลงศัตรูพืช
2.2 ให้จัดการพื้นที่และปลูกพืชตามความลาดชัน เป็น 2 ระดับคือ
-ที่ลาดเชิงเขา ปลูกไผ่ ไม้ผล ป่าใช้สอย
-ที่ราบ ปลูกกล้วย มะละกอ พืชผักสวนครัว ฝรั่ง สมุนไพร ไม้ผล
3. สร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ โดยขุดสระน้ำ และขุดบ่อบาดาล เพื่อใช้ในการอุปโภค และทำการเกษตรครอบคลุมพื้นที่ 34 ไร่ โดยการใช้ระบบสปริงเกอร์ และให้น้ำตามความลาดชันของพื้นที่ นอกจากนี้ มีการให้น้ำหมักชีวภาพ ผ่านระบบสปริงเกอร์
4. การจัดทำ Buffer Zone โดยปลูกไผ่ ป่าไม้ใช้สอย และขึงสแลนสูง 2.50 เมตร ในด้านที่ไม่สามารถปลูกต้นไม้ได้ เพื่อป้องกันสารเคมีที่ปลิวมาจากด้านข้าง
5. การจัดการ โรคและแมลง ใช้สารชีวภัณฑ์ เช่น น้ำหมักชีวภาพ พ.ด 7
6. กำจัดวัชพืช ด้วยวิธีการตัดหญ้าคลุมดิน เพื่อรักษาความชื้นในดินและเพิ่มอินทรยวัตถุให้แก่ดิน
7 การจัดทำบัญชีฟาร์ม เพื่อให้ทราบต้นทุน กำไร-ขาดทุน ในการบริหารและจัดการฟาร์ม

Autor:

-

Fecha:

2016

4.2 Información general sobre el cálculo de insumos y costos

Especifique cómo se calcularon los costos e insumos:
  • por área de Tecnología
Indique tamaño y unidad de área:

39 ไร่

otra / moneda nacional (especifique):

Thai Baht

Si fuera relevante, indique la tasa de cambio de dólares americanos a la moneda local (ej. 1 U$ = 79.9 Reales Brasileros): 1 U$ =:

32,0

Indique el costo promedio del salario de trabajo contratado por día:

300บาท

4.3 Actividades de establecimiento

Actividad Momento (estación)
1. ปรับปรุง ก่อนปลูก
2. ระบบน้ำ ฤดูแล้ง
3. การกำจัดวัชพืช ระหว่างปลูก
4. การกำจัดศัตรูพืช ระหว่างปลูก
5. แนวกันชน ฤดูฝน
6. การใช้หญ้าแฝก ฤดูฝน
7. การทำบัญชีฟาร์ม ตลอดปี

4.4 Costos e insumos necesarios para el establecimiento

Especifique insumo Unidad Cantidad Costos por unidad Costos totales por insumo % de los costos cubiertos por los usuarios de las tierras
Mano de obra 1.1การปลูกปอเทือง ครั้ง 2,0 900,0 1800,0 100,0
Mano de obra 1.2สับกลบปอเทือง ครั้ง 2,0 900,0 1800,0 100,0
Mano de obra 1.3ฉีดน้ำหมักชีวภาพ ครั้ง 2,0 900,0 1800,0 100,0
Mano de obra 1.4ใส่ปุ๋ยหมัก ครั้ง 1,0 1800,0 1800,0 100,0
Equipo 1.5ใส่ปูนโดโลไมท์ ครั้ง 1,0 1600,0 1600,0 100,0
Equipo 2.ใส่ปุ๋ยหมักปรับปรุงดิน ครั้ง 1,0 9000,0 9000,0 100,0
Equipo 3.กำจัดวัชพืช ครั้ง 8,0 9600,0 76800,0 100,0
Equipo 4.กำจัดศัตรูพืช ครั้ง 24,0 600,0 14400,0 100,0
Equipo 5.ใช้ตาข่ายพรางแสงเป็นแนวกันชน ม้วน 2,0 600,0 1200,0 100,0
Equipo 6.ปลูกต้นไม้เป็นแนวกันชน ครั้ง 2,0 600,0 1200,0 100,0
Equipo 7.ดูแลรักษาตัดแต่งหญ้าแฝก ครั้ง 8,0 900,0 7200,0 100,0
Equipo อุปกรณ์ต่อบ่อบาดาล บ่อ 3,0 30000,0 90000,0 100,0
Material para plantas ตาข่ายพรางแสง ม้วน 2,0 1700,0 3400,0 100,0
Material para plantas ค่าเมล็ดพันธุ์ปอเทือง กก. 63,0 33,0 2079,0 100,0
Material para plantas ค่าต้นไม้ปลูกแนวกันชน ต้น 100,0 10,0 1000,0 100,0
Material para plantas พันธุ์กล้าหญ้าแฝก กล้า 150000,0 0,73 109500,0 100,0
Fertilizantes y biocidas 1.การปรับปรุงพื้นที่ทำการเกษตร
Fertilizantes y biocidas 1.1น้ำหมักชีวภาพ ลิตร 50,0 20,0 1000,0 100,0
Fertilizantes y biocidas 1.2โดโลไมท์ กก. 4200,0 4,0 16800,0 100,0
Fertilizantes y biocidas 2.ปุ๋ยหมักปรับปรุงดิน กก. 5500,0 4,0 22000,0 100,0
Fertilizantes y biocidas 3.สารไล่แมลง ลิตร 50,0 30,0 1500,0 100,0
Otros 1.การปจัดการพื้นที่ทำการเกษตร
Otros 1.1ค่าไถพื้นที่ ไร่ 21,0 500,0 10500,0 100,0
Otros 2.บ่อบาดาล บ่อ 3,0 70000,0 210000,0 100,0
Costos totales para establecer la Tecnología 586379,0
Costos totales para establecer la Tecnología en USD 18324,34
Si el usuario de la tierra no cubrió el 100% de los costos, indique quién financió el resto del costo:

-

Comentarios:

-

4.5 Actividades de establecimiento/ recurrentes

Actividad Momento/ frequencia
1. 1. ระบบน้ำ 2 ครั้งต่อปี ก่อน-หลังฤดูฝน
2. 2.การกำจัดวัชพืช 12 ครั้งต่อปี ระหว่างฤดูปลูกพืช
3. 3. การกำจัดศัตรูพืช 12 ครั้งต่อปีระหว่างฤดูปลูกพืช
4. 4.แนวกันชน 2 ครั้งต่อปี ก่อนและหลังฤดูปลูก
5. 5.การใช้หญ้าแฝก 12 ครั้งต่อปี ระหว่างฤดูปลูก
Comentarios:

-

4.6 Costos e insumos necesarios para actividades de mantenimiento/ recurrentes (por año)

Especifique insumo Unidad Cantidad Costos por unidad Costos totales por insumo % de los costos cubiertos por los usuarios de las tierras
Mano de obra 1.ค่ากำจัดวัชพืชในแปลง ครั้ง 8,0 1200,0 9600,0 100,0
Mano de obra 2.ค่ากำจัดศัตรูพืช ครั้ง 24,0 600,0 14400,0 100,0
Mano de obra 3.ค่าซ่อมแซมแนวกันชน ครั้ง 6,0 300,0 1800,0 100,0
Mano de obra 4.ค่าตัดแต่งแนวหญ้าแฝก ครั้ง 8,0 900,0 7200,0 100,0
Otros 1.ค่าไฟฟ้าเกี่ยวกับระบบน้ำ เดือน 12,0 500,0 6000,0 100,0
Indique los costos totales para mantenecer la Tecnología 39000,0
Costos totales para mantener la Tecnología en USD 1218,75
Si el usuario de la tierra no cubrió el 100% de los costos, indique quién financió el resto del costo:

-

Comentarios:

-

4.7 Factores más determinantes que afectan los costos:

Describa los factores más determinantes que afectan los costos:

ค่าสาธารณูปโภค1.ค่าไฟฟ้า 2. ค่าเจาะบ่อบาดาลพร้อมวางระบบน้ำ 3. ค่าแรงงานและขนส่ง

5. Entorno natural y humano

5.1 Clima

Lluvia anual
  • < 250 mm
  • 251-500 mm
  • 501-750 mm
  • 751-1,000 mm
  • 1,001-1,500 mm
  • 1,501-2,000 mm
  • 2,001-3,000 mm
  • 3,001-4,000 mm
  • > 4,000 mm
Especifique el promedio anual de lluvia (si lo conoce), en mm:

1600,00

Especificaciones/ comentarios sobre la cantidad de lluvia:

เป็นพื้นที่เงาฝน (rain shadow) ทำให้มีฝนตกน้อย อากาศร้อนจัดในฤดูร้อน และหนาวจัดในฤดูหนาว โดยมีอุณหภูมิสูงสุดประมาณ 44-45 องศาเซล-เซียสในเดือนเมษายน อุณหภูมิต่ำสุดในเดือนธันวาคมประมาณ 8-9 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 27 องศาเซล-เซียส ช่วงฤดูฝนเริ่มตกจากกลางเดือนเมษายน และสิ้นสุดในช่วงกลางเดือนตุลาคม

Indique el nombre de la estación metereológica de referencia considerada:

-

Zona agroclimática
  • húmeda

-

5.2 Topografía

Pendientes en promedio:
  • plana (0-2 %)
  • ligera (3-5%)
  • moderada (6-10%)
  • ondulada (11-15%)
  • accidentada (16-30%)
  • empinada (31-60%)
  • muy empinada (>60%)
Formaciones telúricas:
  • meseta/ planicies
  • cordilleras
  • laderas montañosas
  • laderas de cerro
  • pies de monte
  • fondo del valle
Zona altitudinal:
  • 0-100 m s.n.m.
  • 101-500 m s.n.m.
  • 501-1,000 m s.n.m
  • 1,001-1,500 m s.n.m
  • 1,501-2,000 m s.n.m
  • 2,001-2,500 m s.n.m
  • 2,501-3,000 m s.n.m
  • 3,001-4,000 m s.n.m
  • > 4,000 m s.n.m
Indique si la Tecnología se aplica específicamente en:
  • situaciones cóncavas
Comentarios y especificaciones adicionales sobre topografía :

พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบบนภูเขา ติดอ่างเก็บน้ำเขื่อนศรีนครินทร์ สภาพภูมิประเทศเป็นภูเขาหินปูนและหินตะกอนเป็นส่วนใหญ่ ระดับความสูง สูงสุดประมาณ 1,100 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง โดยมีความสูงเฉลี่ยประมาณ 400 เมตร

5.3 Suelos

Profundidad promedio del suelo:
  • muy superficial (0-20 cm)
  • superficial (21-50 cm)
  • moderadamente profunda (51-80 cm)
  • profunda (81-120 cm)
  • muy profunda (>120 cm)
Textura del suelo (capa arable):
  • mediana (limosa)
Textura del suelo (> 20 cm debajo de la superficie):
  • fina/ pesada (arcilla)
Materia orgánica de capa arable:
  • media (1-3%)

5.4 Disponibilidad y calidad de agua

Agua subterránea:

> 50 m

Disponibilidad de aguas superficiales:

bueno

Calidad de agua (sin tratar):

solo para uso agrícola (irrigación)

¿La salinidad del agua es un problema?

No

¿Se está llevando a cabo la inundación del área? :

No

Comentarios y especificaciones adicionales sobre calidad y cantidad de agua:

-

5.5 Biodiversidad

Diversidad de especies:
  • mediana
Diversidad de hábitats:
  • mediana
Comentarios y especificaciones adicionales sobre biodiversidad:

-

5.6 Las características de los usuarios de la tierra que aplican la Tecnología

Sedentario o nómada:
  • Sedentario
Orientación del mercado del sistema de producción:
  • mixta (subsistencia/ comercial)
Ingresos no agrarios:
  • menos del 10% de todos los ingresos
Nivel relativo de riqueza:
  • promedio
Individuos o grupos:
  • individual/ doméstico
Nivel de mecanización:
  • trabajo manual
Género:
  • hombres
Edad de los usuarios de la tierra:
  • personas de mediana edad
Indique otras características relevantes de los usuarios de las tierras:

-

5.7 Área promedio de la tierra usada por usuarios de tierra que aplican la Tecnología

  • < 0.5 ha
  • 0.5-1 ha
  • 1-2 ha
  • 2-5 ha
  • 5-15 ha
  • 15-50 ha
  • 50-100 ha
  • 100-500 ha
  • 500-1,000 ha
  • 1,000-10,000 ha
  • > 10,000 ha
¿Esto se considera de pequeña, mediana o gran escala (refiriéndose al contexto local)?
  • gran escala
Comentarios:

-

5.8 Tenencia de tierra, uso de tierra y derechos de uso de agua

Tenencia de tierra:
  • individual, con título
Derechos de uso de tierra:
  • individual
Derechos de uso de agua:
  • individual
Especifique:

-

Comentarios:

-

5.9 Acceso a servicios e infraestructura

salud:
  • pobre
  • moderado
  • bueno
educación:
  • pobre
  • moderado
  • bueno
asistencia técnica:
  • pobre
  • moderado
  • bueno
empleo (ej. fuera de la granja):
  • pobre
  • moderado
  • bueno
mercados:
  • pobre
  • moderado
  • bueno
energía:
  • pobre
  • moderado
  • bueno
caminos y transporte:
  • pobre
  • moderado
  • bueno
agua potable y saneamiento:
  • pobre
  • moderado
  • bueno
servicios financieros:
  • pobre
  • moderado
  • bueno
Comentarios:

-

6. Impactos y comentarios para concluir

6.1 Impactos in situ demostrados por la Tecnología

Impactos socioeconómicos

Producción

producción de cultivo

disminuyó
incrementó
Comentarios/ especifique:

-

calidad de cultivo

disminuyó
incrementó
Comentarios/ especifique:

-

producción animal

disminuyó
incrementó
Comentarios/ especifique:

-

diversidad de producto

disminuyó
incrementó
Comentarios/ especifique:

-

manejo de tierras

obstaculizado
simplificado
Comentarios/ especifique:

-

Disponibilidad y calidad de agua

calidad de agua potable

disminuyó
incrementó
Comentarios/ especifique:

-

Ingreso y costos

gastos en insumos agrícolas

incrementó
disminuyó
Comentarios/ especifique:

-

ingreso agrario

disminuyó
incrementó
Comentarios/ especifique:

-

diversidad de fuentes de ingreso

disminuyó
incrementó

carga de trabajo

incrementó
disminuyó
Comentarios/ especifique:

-

Impactos socioculturales

seguridad alimentaria/ autosuficiencia

disminuyó
mejoró
Comentarios/ especifique:

-

situación de salud

empeoró
mejoró
Comentarios/ especifique:

-

instituciones comunitarias

se debilitaron
se fortalecieron
Comentarios/ especifique:

-

MST/ conocimiento de la degradación del suelo

disminuyó
mejoró
Comentarios/ especifique:

-

Impactos ecológicos

Suelo

humedad del suelo

disminuyó
incrementó
Comentarios/ especifique:

-

pérdida de suelo

incrementó
disminuyó
Comentarios/ especifique:

-

ciclo/ recarga de nutrientes

disminuyó
incrementó
Comentarios/ especifique:

-

materia orgánica debajo del suelo C

disminuyó
incrementó
Comentarios/ especifique:

-

Biodiversidad: vegetación, animales

diversidad vegetal

disminuyó
incrementó
Comentarios/ especifique:

-

Reducción de riesgos de desastres y riesgos climáticos

impactos de sequías

incrementó
disminuyó
Comentarios/ especifique:

-

emisión de carbono y gases de invernadero

incrementó
disminuyó
Comentarios/ especifique:

-

riesgo de incendio

incrementó
disminuyó
Comentarios/ especifique:

-

velocidad de viento

incrementó
disminuyó
Comentarios/ especifique:

-

Especifique la evaluación de los impactos en el sitio (mediciones):

-

6.2 Impactos fuera del sitio demostrados por la Tecnología

colmatación río abajo

incrementó
disminuyó
Comentarios/ especifique:

-

contaminación de aguas subterráneas/ de ríos

incrementó
disminuyó
Comentarios/ especifique:

-

daño a campos de vecinos

incrementó
disminuyó
Comentarios/ especifique:

-

Especifique la evaluación de los impactos fuera del emplazamiento (medidas):

-

6.3 Exposición y sensibilidad de la Tecnología al cambio climático gradual y a extremos relacionados al clima/ desastres (desde la percepción de los usuarios de tierras)

Cambio climático gradual

Cambio climático gradual
Estación Incremento o reducción ¿Cómo es que la tecnología soporta esto?
temperatura anual disminuyó moderadamente
temperatura estacional disminuyó moderadamente
lluvia anual moderadamente
lluvia estacional moderadamente

Extremos (desastres) relacionados al clima

Desastres climatológicos:
¿Cómo es que la tecnología soporta esto?
tormenta de lluvia local moderadamente
Desastres climatológicos
¿Cómo es que la tecnología soporta esto?
sequía bien
incendio forestal moderadamente
Desastres biológicos
¿Cómo es que la tecnología soporta esto?
enfermedades epidémicas no muy bien

Otras consecuencias relacionadas al clima

Otras consecuencias relacionadas al clima
¿Cómo es que la tecnología soporta esto?
período extendido de crecimiento no muy bien
periodo reducido de crecimiento bien
Comentarios:

-

6.4 Análisis costo-beneficio

¿Cómo se comparan los beneficios con los costos de establecimiento (desde la perspectiva de los usuarios de tierra)?
Ingresos a corto plazo:

ligeramente negativo

Ingresos a largo plazo:

positivo

¿Cómo se comparan los beneficios con los costos de mantenimiento/ recurrentes (desde la perspectiva de los usuarios de tierra)?
Ingresos a corto plazo:

neutral/ balanceado

Ingresos a largo plazo:

positivo

Comentarios:

-

6.5 Adopción de la Tecnología

  • 1-10%
Si tiene la información disponible, cuantifique (número de hogares y/o área cubierta):

10 ครัวเรือน

De todos quienes adoptaron la Tecnología, ¿cuántos lo hicieron espontáneamente, por ej. sin recibir nada de incentivos/ materiales:
  • 0-10%
Comentarios:

-

6.6 Adaptación

¿La tecnología fue modificada recientemente para adaptarse a las condiciones cambiantes?

otros (especifique):

ปรับเปลี่ยนเรื่องค่าใช้จ่ายต้องประหยัดมากขึ้น ต้องมีความละเอียดมากขึ้น (สังเกตมากขึ้น)

Especifique la adaptación de la Tecnología (diseño, material/ especies, etc.):

ปรับลดการใช้พลังงานโดยการใช้โซล่าร์เซลล์ในการใช้น้ำบาดาล

6.7 Fuerzas/ ventajas/ oportunidades de la Tecnología

Fuerzas/ ventajas/ oportunidades desde la perspectiva del usuario de la tierra
1.1 พื้นที่ที่ทำการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น
1.2 สามารถลดต้นทุนการผลิตได้
1.3 ผลผลิตทางการเกษตรที่ได้มีความปลอดภัยไม่มีสารพิษตกค้าง
2.1 ขายผลผลิตได้ราคาดีขึ้น
2.2 ทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง
2.3 เป็นพื้นที่ที่สามารถส่งผลผลิตสู่ตลาดอย่างง่าย เส้นทางคมนาคมสะดวก
2.4 เกษตรกรได้รับความรู้และมีประสบการณ์ในการทำการเกษตรดีกว่าเกษตรกรรายอื่นๆ
3.1 มีการร่วมมือของผู้ผลิตกับหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งภาครัฐที่เข้ามาร่วมสนับสนุน
3.2 ได้รับตราสัญลักษณ์รับรองมาตรฐานสินค้าทำให้ผู้บริโภคเชื่อมั่นเป็นที่ต้องการของตลาด
Fuerzas/ ventajas/ oportunidades desde la perspectiva del compilador o de otra persona de referencia clave
1)ได้มีนโยบายของภาครัฐที่ช่วยสนันสนุนด้านการเกษตรอินทรีย์
2)ได้มีการร่วมมือของภาครัฐและผู้ผลิตทำให้สามารถแข่งขันได้มากขึ้น

6.8 Debilidades/ desventajas/ riesgos de la Tecnología y formas de sobreponerse a ellos

Debilidades/ desventajas/ riesgos desde la perspectiva del usuario de la tierra ¿Cómo sobreponerse a ellas?
1.1 ต้องใช้เวลาเพิ่มมากขึ้นในการทำการเกษตรแบบระบบอินทรีย์ 1.1 หานวัตรกรรมและเทคโนโลยีต่างๆเข้ามาช่วย
1.2 ต้องทำแนวกันชนแปลงตัวเองเพิ่มมากขึ้นเพื่อป้องกันสารพิษของแปลงเพื่อนบ้าน 1.2 ต้องมีการออกกฏหมายคุ้มครองสำหรับการทำเกษตรอินทรีย์
2.1 ต้องเสียเวลานานและมีหลายขั้นตอนในการขอใบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 2.1 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปรับหลักเกณฑ์ทำให้เหมาะสม
2.2 ต้องใช้เวลาและแรงงานพร้อมจัดหาวัสดุในการทำปุ๋ยอิทรีย์ใช้เอง 2.2 หาวัสดุในพื้นที่นำมาใช้เพื่อลดต้นทุนการผลิต
3.1 ผู้บริโภคยังสับสนไม่รู้ว่าเกษตรอินทรีย์คืออะไร 3.1 ให้ความรู้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น
3.2อุปสรรคเรื่องของราคา เนื่องจากมีต้นทุนสูง 3.2 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยประชาสัมพันธ์และหาตลาดรองรับ
Debilidades/ desventajas/ riesgos desde la perspectiva del compilador o de otra persona de referencia clave ¿Cómo sobreponerse a ellas?
1)เกษตรกรยังขาดการวางแผนในเรื่องของการใช้ที่ดินอย่างเป็นระบบ 1.ให้ความรู้และข้อมูลต่างๆมากขึ้น
2.เกษตรกรยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการปรับปรุงบำรุงดิน 2.ให้หน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องให้ความรู้ที่ครอบคลุมรอบด้าน
3)เกษตรกรยังขาดความเข้าใจในเรื่องของความต่อเนื่องของการผลิตและการตลาด 3. ให้เรียนรู้ในเรื่องของการผลิตและการตลาดให้รู้ทันเหตุการณ์
4)การกำหนดราคายังเป็นปัญหาใหญ่เนื่องจากมีการผันผวนของราคราอยู่มาก 4.ให้ภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยกำกับดูแลอย่างแท้จริง

7. Referencias y vínculos

7.1 Métodos/ fuentes de información

7.2 Vínculos a las publicaciones disponibles

Título, autor, año, ISBN:

-

¿Dónde se halla disponible? ¿Costo?

-

7.3 Vínculos a la información relevante disponible en línea

Título/ descripción:

-

7.4 Comentarios generales

-

Vínculos y módulos

Expandir todo Colapsar todos

Módulos