Visitors visit a Moo Lum zero-waste pig farm. (-)

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม (Zero Waste Pig Farm Technology Transfer Center) (Thaïlande)

-

Description

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดความรู้เรื่องการเลี้ยงหมูหลุม จากเกษตรกรผู้ประสบความสำเร็จไปยังเกษตรกรและผู้สนใจ รวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุมให้เป็นเวทีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน

แนวทางของ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นกลุ่มที่จัดตั้งขึ้นเพื่อรวมกลุ่มเกษตรกรที่ประกอบอาชีพการเลี้ยงสุกรแบบหลุม โดยเน้นการใช้จุลินทรีย์ มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ในการผลิตสุกรแบบหลุม ให้กับเกษตรกรที่มีความสนใจ และสร้างเครือข่าย เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมและเพิ่มขีดความสามารถในการจัดการด้านการตลาด

2. อะไรคือเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของแนวทาง
วัตถุประสงค์ของ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม
-1 เพื่อให้เกษตรกรและผู้สนใจการเลี้ยงหมูหลุม มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเลี้ยงหมูหลุม
-2 เพื่อสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุม ให้มีการช่วยเหลือ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
-3. เพื่อให้สมาชิกเกษตรกรภายในกลุ่ม มีโอกาสแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
3. วิธีการใดที่ถูกเอามาใช้
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม มีวิธีการดำเนินงานดังนี้
- ศึกษาดูงาน
- อมรมให้ความรู้ องค์ประกอบอยู่ 4 เรื่อง คือ พันธุ์ อาหาร การจัดการ ตลาด
- จัดตั้งเป็นกลุ่มเกษตรผู้เลี้ยงหมูหลุม เพื่อจะได้มีผลผลิตที่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด และมีอำนาจต่อรองได้มาขี้น และทำให้มีโอกาสเข้าถึงทุนได้ง่ายขึ้น
- สร้างเครือข่ายหมูหลุมในจังหวัด และเชื่อมโยงเครือข่ายทั้งประเทศ เพื่อเพิ่มความเข้มแข็งในกลุ่มอาชีพ

4. ขั้นตอนของการเอาไปปฏิบัติใช้มีอันไหนบ้าง

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม มีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
1.ศึกษา ดูงาน และเข้ารับอบรม จากสถานที่ต่างๆ
2.รวมกลุ่มเกษตรกร ผู้สนใจในชุมชนที่เคยเลี้ยงหมูแบบเดิม มาตั้งกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเลี้ยงหมูแบบหลุม
3.จัดตั้ง ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม
4. จัดให้มีกระบวนการถ่ายทอดความรู้ จากการปฏิบัติจริง
5. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยใช้สื่อต่างๆ ได้แก่ แผ่นพับ วิดีโอ youtube การให้สัมภาษณ์ผ่านสื่อโทรทัศน์ และวิทยุ
6. สร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุม ในระดับ ชุมชน และนอกชุมชน โดยจัดให้มีการอบรมการเลี้ยงหมูหลุมทุกเสาร์ที่ 3 ของเดือน
7. มีการส่งเสริมและสนับสนุน จากหน่วยงานรัฐ ได้แก่ กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

ที่เกี่ยวข้องและบทบาทของบุคคลเหล่านั้นมีอะไรบ้าง
ในการดำเนินงานศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม มีผู้เกี่ยวข้องดังนี้
1 เกษตรกรและผู้นำเกษตรกร มีบทบาท ร่วมเรียนรู้ ปฏิบัติ แลกเปลี่ยนความรู้ สนับสนุน
2. หน่วยงานของรัฐ มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณและปัจจัยการผลิต และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
3. หน่วยงานเอกชน มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
4.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทควบคุม กำกับ ดูแล พื้นที่
5. โรงเรียน มหาวิทยาลัย

(6) สิ่งที่ผู้ใช้ที่ดินชอบหรือไม่ชอบเกี่ยวกับแนวทาง
Impact:
1.กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมเป็นที่ยอมรับในชุมชนเนื่องจากไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมและลดมลภาวะด้านกลิ่นในระบบการจัดการ
2.ทำให้เกิดมีผู้สนใจผลิตภัณฑ์หมูหลุมมากขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย
3. สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ ได้สะดวกและรวดเร็
4. การรวมกลุ่มทำให้สมาชิกในกลุ่มมีความเข้มแข็งและมีการประสานงานและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้และให้ความช่วยเหลือกัน ตลอดจนให้ความสำคัญในกิจกรรมกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ
5. มีหน่วยงานภาครัฐให้ความสนใจและเข้ามาช่วยเหลือในเรื่องหลักวิชาการเพื่อให้สามารถผลิตได้เป็นไปตามมาตรฐาน โดยปศุสัตว์จังหวัด
6. ทำให้มีผู้สนใจมาศึกษาหาความรู้ตลอดจนมาฝึกงานจากกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมจำนวนมากทำให้คนรู้จักมากขึ้นส่งผลทำให้มีตลาดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้น
Opportunity:
1.การส่งเสริมการเลี้ยงหมูหลุม หากมีการเลี้ยงจำนวนมากขึ้น จะทำให้ขาดแคลนพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุมในท้องถิ่น ดังนั้น ควรมีการส่งเสริมให้มีการปลูกพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุม ให้มากขึ้น หรือ ให้ศึกษาสูตรของอาหารให้สอดคล้องกับวัตถุดิบที่มี
2. ราคาจำหน่ายผลิตภัณฑ์หมูหลุม ยังไม่แตกต่างจากราคาผลิตภัณฑ์หมูทั่วไป ดังนั้นควรมีการพิจารณามาตรฐานหมูหลุม เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีกว่าให้มีราคาสูงขึ้น

Lieu

Lieu: ต.ดอนแร่....อ.เมือง...จ.ราชบุรี, ราชบุรี, Thaïlande

Géo-référence des sites sélectionnés
  • 99.75695, 13.45522

Date de démarrage: 2006

Année de fin de l'Approche: sans objet

Type d'Approche
- (-)
- (-)

Objectifs de l'approche et environnement favorable

Principaux objectifs de l'Approche
วัตถุประสงค์ของ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม
-1 เพื่อให้เกษตรกรและผู้สนใจการเลี้ยงหมูหลุม มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเลี้ยงหมูหลุม
-2 เพื่อสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุม ให้มีการช่วยเหลือ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
-3. เพื่อให้สมาชิกเกษตรกรภายในกลุ่ม มีโอกาสแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
Conditions favorisant la mise en oeuvre de la/(des) Technologie(s) appliquée(s) sous l'Approche
  • Disponibilité/ accès aux ressources et services financiers: มีการเลี้ยงหมูหลุมที่ยั่งยืนทำให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ง่าย
  • Cadre institutionnel: มีหน่วยงานร่วมบูรณาการ ปศุสัตว์จังหวัด ธกส. พลังงาน พอช. และเกษตรอำเภอ
  • Collaboration/ coordination des acteurs: หน่วยงานต่างๆร่วมบูรณาการในพื้นที่
  • Cadre juridique (régime foncier, droits d'utilisation des terres et de l'eau): สามารถใช้ที่ดินในการในการทำฟาร์มเลี้ยงหมูหลุมได้
  • Cadre politique: หน่วยงานทั้งภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัดเข้ามาช่วยให้สามารถดำเนินให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
  • Connaissances sur la GDT, accès aux supports techniques: เกษตรกรสามารถติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้สะดวก
Conditions entravant la mise en oeuvre de la/(des) Technologie(s) appliquée(s) sous l'Approche
  • Marchés (pour acheter les intrants, vendre les produits) et prix: เนื่องจากตลาดยังไม่แพร่หลายและราคายังต่ำกว่าหมูฟาร์ม
  • Charge de travail, disponibilité de la main-d'œuvre: .หาแรงงานที่มีความรู้ความชำนาญในการเลี้ยงหรือการจัดการค่อนข้างยาก

Participation et rôles des parties prenantes impliquées dans l'Approche

Parties prenantes impliquées dans l'Approche et rôles
Quels acteurs/ organismes d'exécution ont été impliqués dans l'Approche? Spécifiez les parties prenantes Décrivez le rôle des parties prenantes
exploitants locaux des terres / communautés locales เกษตรกร กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุม ต.ดอนแร่ อ.เมือง จ.ราชบุรี- -
organisations communautaires อบต -
Spécialistes de la GDT/ conseillers agricoles กรมปศุสัตว์ กรมพั..ฒนาที่ดิน -
enseignants/ élèves/ étudiants เข้ามาศึกษาดูงานจาก วิทยาลัยเกษตร มหาลัยราชภัฏ -
secteur privé บทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ -
Organisme chef de file
-
Participation des exploitants locaux des terres/ communautés locales aux différentes phases de l'Approche
aucun
passive
soutien extérieur
interactive
auto-mobilisation
initiation/ motivation
x
หน่วยงานภาครัฐ กลุ่มสมาชิกศึกษาค้นคว้าหาความรู้และศึกษาดูงานในพื้นที่ต่างๆเพื่อนำมาปรับใช้ในพื้นที่ของตนเอง
planification
x
หน่วยงานภาครัฐ กลุ่มสมาชิก กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมและหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัด ช่วยกันวางแผนการดำเนินการให้เหมาะสมและเป็นไปตามมาตรฐาน
mise en œuvre
x
หน่วยงานภาครัฐ กลุ่มสมาชิกดำเนินการตามแผนให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
suivi/ évaluation
x
มีการติดตามตรวจสอบและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มและมีการติดตามจากหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัดให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
Diagramme/ organigramme

เป็นขั้นตอนต่างๆของกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน ตำบลดอนแร่ อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี

Auteur : -
Prises de décision pour la sélection de la Technologie de GDT

Les décisions ont été prises par

  • les exploitants des terres seuls (auto-initiative)
  • principalement les exploitants des terres soutenus par des spécialistes de la GDT
  • tous les acteurs concernés dans le cadre d'une approche participative
  • principalement les spécialistes de la GDT, après consultation des exploitants des terres
  • les spécialistes de la GDT seuls
  • les responsables politiques/ dirigeants

Les décisions ont été prises sur la base de

  • l'évaluation de connaissances bien documentées en matière de GDT (prises de décision fondées sur des preuves tangibles)?
  • les résultats de recherches?
  • expériences et opinions personnelles (non documentées)
  • จากหน่วยงานภาครัฐปศุสัตว์จังหวัด

Soutien technique, renforcement des capacités et gestion des connaissances

Les activités ou services suivants ont fait partie de l'approche
Renforcement des capacités/ formation
La formation a été dispensée aux parties prenantes suivantes
  • exploitants des terres
  • personnels/ conseillers de terrain
  • กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน
Formats de la formation
  • sur le tas
  • entre agriculteurs (d'exploitants à exploitants)
  • zones de démonstration
  • réunions publiques
  • cours
Sujets abordés

Service de conseils
Le service de conseils était fourni
  • dans les champs des exploitants?
  • dans des centres permanents
  • กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน
มีเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้คำแนะนำอย่างสม่ำเสมอ
Suivi et évaluation
มีหน่วยงานปศุสัตว์จังหวัดเข้ามาช่วยให้คำแนะนำตรวจสอบให้เป็นไปตามมาตรฐาน

Financement et soutien matériel externe

Budget annuel en dollars US de la composante GDT
  • < 2 000
  • 2 000-10 000
  • 10 000-100 000
  • 100 000-1 000 000
  • > 1 000 000
Precise annual budget: sans objet
Les services ou mesures incitatives suivantes ont été fournis aux exploitants des terres
  • Soutiens financiers/ matériels fournis aux exploitants des terres
  • Subventions pour des intrants spécifiques
  • Crédits
  • Autres incitations ou instruments
Autres incitations ou instruments

มีการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐอย่างต่อเนื่อง ปศุสัตว์จังหวัด

Analyses d'impact et conclusions

Impacts de l'Approche
Non
Oui, un peu
Oui, modérément
Oui, beaucoup
Est-ce que l'Approche a autonomisé les exploitants locaux des terres, amélioré la participation des parties prenantes?

เป็นที่ต้องการของตลาด สำหรับผู้ที่ต้องการบริโภคอย่างปลอดภัย

x
Est-ce que l'Approche a permis la prise de décisions fondées sur des données probantes?

สามารถสร้างรายได้อย่างยั่งยืน

x
Est-ce que l'Approche a aidé les exploitants des terres à mettre en œuvre et entretenir les Technologies de GDT?

ช่วยรักษามลภาวะภายในชุมชน

x
Est-ce que l'Approche a amélioré la coordination et la mise en œuvre de la GDT selon un bon rapport coût-efficacité?

กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง

x
Est-ce que l'Approche a amélioré les connaissances et les capacités des exploitants des terres pour mettre en œuvre la GDT?

มีหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัดเข้ามาให้ความรู้และช่วยแนะนำให้ได้เป็นไปตามมาตรฐาน

x
Est-ce que l'Approche a amélioré les connaissances et les capacités des autres parties prenantes?

ทำให้สามารถดำเนินการเป็นไปตามมารฐานเดี่ยวกัน

x
Est-ce que l'Approche a construit/ renforcé les institutions, la collaboration entre parties prenantes?

มีการติดต่อประสานงานและมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน

x
Est-ce que l'Approche a encouragé les jeunes/ la prochaine génération d'exploitants des terres à s'engager dans la GDT?

สามารถเป็นอาชีพที่ยั่งยืนและทำให้เป็นทางเลือกของรุ่นต่อไปสามารถสานต่อได้

x
Est-ce que l'Approche a conduit à améliorer la sécurité alimentaire et/ou la nutrition?

เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความปลอดภัยไร้สารเคมี

x
Est-ce que l'Approche a amélioré l'accès aux marchés?

เป็นทางเลือกของผู้บริโภคที่เน้นความปลอดภัยจากสารเคมี

x
Est-ce que l'Approche a conduit à l'utilisation/ sources d'énergie plus durables?

มีการนำมูลหมูหลุมไปทำก๊าชชีวภาพ

x
Est-ce que l'Approche a amélioré la capacité des exploitants des terres à s'adapter aux changements/ extrêmes climatiques et a atténué les catastrophes liées au climat?

มีการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการจัดการ

x
Est-ce que l'Approche a conduit à des emplois, des opportunités de revenus?

.มีการจ้างแรงงานในท้องถิ่น

x
Principale motivation des exploitants des terres pour mettre en oeuvre la GDT
Durabilité des activités de l'Approche
Les exploitants des terres peuvent-ils poursuivre ce qui a été mis en oeuvre par le biais de l'Approche (sans soutien extérieur) ?

เพราะมีหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัด เข้ามาช่วยให้คำปรึกษา แนะนำ ส่งเสริม ควบคุมดูแลให้ระบบการเลี้ยงหมูหลุมเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด

Conclusions et enseignements tirés

Points forts: point de vue de l'exploitant des terres
  • 1.กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมเป็นที่ยอมรับในชุมชนเนื่องจากไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมและลดมลภาวะด้านกลิ่นในระบบการจัดการ
  • 2.มีพื้นที่และทำเลที่ตั้งเหมาะสมเนื่องจากอยู่ไม่ไกลจากตลาดและชุมชน
  • 3.มีผู้สนใจผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากปลอดภัยจากสารเคมี
  • 4.สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ ปศุสัตว์จังหวัด ได้สะดวกและรวดเร็ว
Points forts: point de vue du compilateur ou d'une autre personne-ressource clé
  • 1.สมาชิกในกลุ่มมีความเข้มแข็งและมีการประสานงานและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้และให้ความช่วยเหลือกัน ตลอดจนให้ความสำคัญในกิจกรรมกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ
  • 2.มีหน่วยงานภาครัฐให้ความสนใจและเข้ามาช่วยเหลือในเรื่องหลักวิชาการเพื่อให้สามารถผลิตได้เป็นไปตามมาตรฐาน โดยปศุสัตว์จังหวัด
  • 3.มีผู้สนใจมาศึกษาหาความรู้ตลอดจนมาฝึกงานจากกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมจำนวนมากทำให้คนรู้จักมากขึ้นส่งผลทำให้มีตลาดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้น
Faiblesses/ inconvénients/ risques: point de vue de l'exploitant des terrescomment surmonter
  • 1.การส่งเสริมการเลี้ยงหมูหลุม หากมีการเลี้ยงจำนวนมากขึ้น จะทำให้ขาดแคลนพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุมในท้องถิ่น 1. ควรมีการส่งเสริมให้มีการปลูกพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุม ให้มากขึ้น หรือ ให้ศึกษาสูตรของอาหารให้สอดคล้องกับวัตถุดิบที่มี
  • 2. ราคาจำหน่ายผลิตภัณฑ์หมูหลุม ยังไม่แตกต่างจากราคาผลิตภัณฑ์หมูทั่วไป 2.ควรมีการพิจารณามาตรฐานหมูหลุม เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีกว่าให้มีราคาสูงขึ้น
Faiblesses/ inconvénients/ risques: point de vue du compilateur ou d'une autre personne-ressource clécomment surmonter
  • 2.1 รูปแบบของผลิตภัณฑ์ที่จำหน่ายยังไม่ทันสมัยและยังไม่เป็นรูปแบบที่สนใจของผู้บริโภค ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยแนะนำส่งเสริมให้รูปแบบของผลิตภัณฑ์เป็นที่ต้องการของตลาดและผู้บริโภค
  • 2.2 ในการเลี้ยงหมูหลุมของกลุ่มยังขาดการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยทำให้ระยะเวลาการเลี้ยงหรือการจัดการใช้เวลานาน ปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการโดยหาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยจัดการเพื่อสามารถลดต้นทุนการผลิตได้
  • 2.3 ตลาดการรับชื้อผลิตภัณฑ์ยังอยู่ในวงจำกัดยังไม่เป็นที่รู้จักของผู้บริโภคทั่วไป ให้หน่วยงานภาครัฐช่วยส่งเสริมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และใช้ช่องทาง social media
  • 2.4 ระบบการจัดการในกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมยังไม่เป็นไปตามมาตรฐานที่หน่วยงานราชการกำหนด ให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง ปศุสัตว์จังหวัด เข้ามาช่วยในด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด

Références

Compilateur
  • Kukiat SOITONG
Editors
Examinateur
  • William Critchley
  • Rima Mekdaschi Studer
  • Joana Eichenberger
Date de mise en oeuvre: 6 décembre 2018
Dernière mise à jour: 20 avril 2022
Personnes-ressources
Description complète dans la base de données WOCAT
Données de GDT correspondantes
La documentation a été facilitée par
Institution Projet
Références clés
  • -: -
Liens vers des informations pertinentes disponibles en ligne
  • -: -
This work is licensed under Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareaAlike 4.0 International