技术

เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา Organic Farm on Moderate Hillside Slope [泰国]

-

technologies_4242 - 泰国

完整性: 96%

1. 一般信息

1.2 参与该技术评估和文件编制的资源人员和机构的联系方式

关键资源人

co-compiler:
ผู้รวบรวม:
土地使用者:

มงคลกาญจนคุณ นายพัฒน์พงษ์

-

泰国

1.3 关于使用通过WOCAT记录的数据的条件

编制者和关键资源人员接受有关使用通过WOCAT记录数据的条件。:

1.4 所述技术的可持续性声明

这里所描述的技术在土地退化方面是否存在问题,导致无法被认为是一种可持续的土地管理技术?:

注释:

เกษตรกรสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง

1.5 参考关于SLM方法(使用WOCAT记录的SLM方法)的调查问卷

กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์
approaches

กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ [泰国]

กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เป็นการรวมกลุ่มของเกษตรกรที่ดำเนินการทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยได้จัดให้มีศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย เพื่อเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ร่วมกัน

  • 编制者: Kukiat SOITONG

2. SLM技术的说明

2.1 技术简介

技术定义:

เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา เป็นการจัดการพื้นที่ ดินและน้ำ ให้สามารถผลิตสินค้าทางการเกษตรที่ปลอดภัยได้อย่างยั่งยืน

2.2 技术的详细说明

说明:

(1)เทคโนโลยีนำไปใช้ที่ไหน(สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของมนุษย์
พื้นที่ทำการเกษตร ที่เป็นที่ลาดเชิงเขา ดินมีลักษณะเป็นดินร่วนปนกรวด ง่ายต่อการชะล้างพังทลาย และยังขาดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำ ทำให้ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง มีการทำการเกษตรเชิงเดี่ยว ได้แก่ การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่มีการใช้ปัจจัยการผลิตและใช้เงินลงทุนมาก เช่น ปุ๋ยเคมี สารกำจัดศัตรูพืชและวัชพืช อย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดสารพิษตกค้างในผลผลิต เป็นอันตรายต่อสุขภาพ





)(2) อะไรคือลักษณะหรือองค์ประกอบที่สำคัญของเทคโนโลยี
องค์ประกอบที่สำคัญของเทคโนโลยีระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
1.สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน ด้วยการใช้พืชปุ๋ยสด(ปอเทือง สลับกับถั่วพร้า)และการใช้ ปุ๋ยหมัก
2.การจัดการพื้นที่ โดย ปลูกหญ้าแฝก บนที่ลาดเชิงเขา เพื่อชะลอการไหลของน้ำ และแบ่งพื้นที่ทำการเกษตรตามความลาดชัน
3. สร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ เช่น ขุดสระน้ำ หรือ ขุดบ่อบาดาล
4. การจัดทำ Buffer Zone
5. การจัดการ โรคและแมลง ด้วยสารชีวภัณฑ์
6. กำจัดวัชพืช ด้วยวิธีการตัดหญ้าคลุมดิน
(3)อะไรคือจุดประสงค์หรือหน้าที่ของเทคโนโลยี
จุดประสงค์ของ เทคโนโลยีระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
1 เพื่อฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน สร้างสมดุลให้กับระบบนิเวศน์ และเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ
2. เพื่อลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มรายได้
3. เพื่อให้มีสุขภาพดีขึ้น
(4)กิจกรรมที่สำคัญหรือปัจจัยการผลิตที่จำเป็นในการจัดตั้งหรือบำรุงรักษาสภาพเทคโนโลยี
ขั้นตอนการปฏิบัติในการจัดทำระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
1.สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน
1.1 ปลูกพืชปุ๋ยสด โดยใช้ปอเทือง สลับกับถั่วพร้า ปลูก 6 ครั้งต่อปี ต่อเนื่อง 2 ปี
1.1.1 การปลูกปอเทือง
ใช้วิธีการปลูกแบบหว่าน ใช้เมล็ดประมาณ 5 กิโลกรัม/ไร่ แล้วทำการคราดกลบตื้นๆ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ปอเทืองจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.1.2 วิธีการปลูกถั่วพร้า
ใช้วิธีการปลูกแบบโรยเป็นแถว โดยใช้เมล็ดโรยลงในแถว ซึ่งมีระยะระหว่างแถว 75 – 100เซนติเมตร เมื่อโรยเมล็ดลงในแถวแล้วกลบเมล็ดด้วยดินบาง ๆ ในอัตรา 5 - 8 กิโลกรัมต่อไร่ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ถั่วพร้าจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.2 ใช้ปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ในฟาร์ม และใช้น้ำหมักชีวภาพ
2. การจัดการพื้นที่
2.1 ปลูกหญ้าแฝก บนที่ลาดเชิงเขา เพื่อชะลอการไหลของน้ำ ดักตะกอนดิน และเป็นการควบคุมแมลงศัตรูพืช
2.2 ให้จัดการพื้นที่และปลูกพืชตามความลาดชัน เป็น 2 ระดับคือ
-ที่ลาดเชิงเขา ปลูกไผ่ ไม้ผล ป่าใช้สอย
-ที่ราบ ปลูกกล้วย มะละกอ พืชผักสวนครัว ฝรั่ง สมุนไพร ไม้ผล

3. สร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ โดยขุดสระน้ำ และขุดบ่อบาดาล เพื่อใช้ในการอุปโภค และทำการเกษตรครอบคลุมพื้นที่ 34 ไร่ โดยการใช้ระบบสปริงเกอร์ และให้น้ำตามความลาดชันของพื้นที่ นอกจากนี้ มีการให้น้ำหมักชีวภาพ ผ่านระบบสปริงเกอร์
4. การจัดทำ Buffer Zone โดยปลูกไผ่ ป่าไม้ใช้สอย และขึงสแลนสูง 2.50 เมตร ในด้านที่ไม่สามารถปลูกต้นไม้ได้ เพื่อป้องกันสารเคมีที่ปลิวมาจากด้านข้าง
5. การจัดการ โรคและแมลง ใช้สารชีวภัณฑ์ เช่น น้ำหมักชีวภาพ พ.ด 7
6. กำจัดวัชพืช ด้วยวิธีการตัดหญ้าคลุมดิน เพื่อรักษาความชื้นในดินและเพิ่มอินทรยวัตถุให้แก่ดิน
7 การจัดทำบัญชีฟาร์ม เพื่อให้ทราบต้นทุน กำไร-ขาดทุน ในการบริหารและจัดการฟาร์ม




5)ประโยชน์ที่ได้รับหรือผลกระทบของเทคโนโลยีคืออะไรบ้าง
1 พื้นที่ที่ทำการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น
2 สามารถลดต้นทุนการผลิตได้
3 ผลผลิตทางการเกษตรที่ได้มีความปลอดภัย ไม่มีสารพิษตกค้าง ทำให้ขายผลผลิตได้ราคาดีขึ้น
4. ทำให้สุขภาพของเกษตรกร ดีขึ้น

3)โอกาส
3.1 ทำให้เกิดความร่วมมือของผู้ผลิตกับหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งภาครัฐที่เข้ามาร่วมสนับสนุน
3.2 มีโอกาสได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้า ทำให้เป็นที่ต้องการของตลาด
3.3 รัฐมีนโยบายสนันสนุนด้านเกษตรอินทรีย์ ทำให้เกิดความร่วมมือของภาครัฐและเกษตรกร สร้างเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันได้มากขึ้น

2.3 技术照片

关于照片的一般说明:

-

2.4 技术视频

注释、简短说明:

-

位置:

-

摄影师的名字:

-

2.5 已应用该技术的、本评估所涵盖的国家/地区/地点

国家:

泰国

区域/州/省:

กาญจนบุรี

有关地点的进一步说明:

บ้านทุ่งนา ม.4 ต.หนองเป็ด อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี

具体说明该技术的分布:
  • 适用于特定场所/集中在较小区域
注释:

-

2.6 实施日期

注明实施年份:

2004

2.7 技术介绍

详细说明该技术是如何引入的:
  • 通过项目/外部干预
注释(项目类型等):

กรมส่งเสริมการเกษตร

3. SLM技术的分类

3.1 该技术的主要目的

  • 改良生产
  • 减少、预防、恢复土地退化

3.2 应用该技术的当前土地利用类型

农田

农田

  • 多年一作(非木材)
  • 乔木与灌木的种植
  • มะม่วง มะละกอ มะพร้าว ฝรั่ง เงาะ ไผ่
牧场

牧场

注释:

-

3.3 由于技术的实施,土地使用是否发生了变化?

注释:

-

3.4 供水

其它(比如洪水后):
  • บ่อบาดาล
注释:

-

3.5 该技术所属的SLM组

  • 防风林/防护林带
  • 农畜综合管理
  • 土壤肥力综合管理

3.6 包含该技术的可持续土地管理措施

农艺措施

农艺措施

  • A2:有机质/土壤肥力
植物措施

植物措施

  • V1:乔木和灌木覆盖层
注释:

-

3.7 该技术强调的主要土地退化类型

土壤水蚀

土壤水蚀

  • Wt:表土流失/地表侵蚀
化学性土壤退化

化学性土壤退化

  • Cn:肥力下降和有机质含量下降(非侵蚀所致)
生物性退化

生物性退化

  • Bq:数量/生物量减少
注释:

-

3.8 防止、减少或恢复土地退化

具体数量名该技术与土地退化有关的目标:
  • 防止土地退化
  • 减少土地退化

4. 技术规范、实施活动、投入和成本

4.1 该技术的技术图纸

技术规范(与技术图纸相关):

พื้นที่การเกษตร ขนาด 39 ไร่ ทิศเหนือติดเขตรักษาพรรณสัตว์ป่าสลักพระ ทิศใต้ติดถนน
ขั้นตอนการปฏิบัติในการจัดทำระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
2.สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน
1.1 ปลูกพืชปุ๋ยสด โดยใช้ปอเทือง สลับกับถั่วพร้า ปลูก 6 ครั้งต่อปี ต่อเนื่อง 2 ปี
1.1.1 การปลูกปอเทือง
ใช้วิธีการปลูกแบบหว่าน ใช้เมล็ดประมาณ 5 กิโลกรัม/ไร่ แล้วทำการคราดกลบตื้นๆ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ปอเทืองจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.1.2 วิธีการปลูกถั่วพร้า
ใช้วิธีการปลูกแบบโรยเป็นแถว โดยใช้เมล็ดโรยลงในแถว ซึ่งมีระยะระหว่างแถว 75 – 100เซนติเมตร เมื่อโรยเมล็ดลงในแถวแล้วกลบเมล็ดด้วยดินบาง ๆ ในอัตรา 5 - 8 กิโลกรัมต่อไร่ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ถั่วพร้าจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.2 ใช้ปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ในฟาร์ม และใช้น้ำหมักชีวภาพ
2. การจัดการพื้นที่
2.1 ปลูกหญ้าแฝก บนที่ลาดเชิงเขา เพื่อชะลอการไหลของน้ำ ดักตะกอนดิน และเป็นการควบคุมแมลงศัตรูพืช
2.2 ให้จัดการพื้นที่และปลูกพืชตามความลาดชัน เป็น 2 ระดับคือ
-ที่ลาดเชิงเขา ปลูกไผ่ ไม้ผล ป่าใช้สอย
-ที่ราบ ปลูกกล้วย มะละกอ พืชผักสวนครัว ฝรั่ง สมุนไพร ไม้ผล
3. สร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ โดยขุดสระน้ำ และขุดบ่อบาดาล เพื่อใช้ในการอุปโภค และทำการเกษตรครอบคลุมพื้นที่ 34 ไร่ โดยการใช้ระบบสปริงเกอร์ และให้น้ำตามความลาดชันของพื้นที่ นอกจากนี้ มีการให้น้ำหมักชีวภาพ ผ่านระบบสปริงเกอร์
4. การจัดทำ Buffer Zone โดยปลูกไผ่ ป่าไม้ใช้สอย และขึงสแลนสูง 2.50 เมตร ในด้านที่ไม่สามารถปลูกต้นไม้ได้ เพื่อป้องกันสารเคมีที่ปลิวมาจากด้านข้าง
5. การจัดการ โรคและแมลง ใช้สารชีวภัณฑ์ เช่น น้ำหมักชีวภาพ พ.ด 7
6. กำจัดวัชพืช ด้วยวิธีการตัดหญ้าคลุมดิน เพื่อรักษาความชื้นในดินและเพิ่มอินทรยวัตถุให้แก่ดิน
7 การจัดทำบัญชีฟาร์ม เพื่อให้ทราบต้นทุน กำไร-ขาดทุน ในการบริหารและจัดการฟาร์ม

作者:

-

日期:

2016

4.2 有关投入和成本计算的一般信息

具体说明成本和投入是如何计算的:
  • 每个技术区域
注明尺寸和面积单位:

39 ไร่

其它/国家货币(具体说明):

Thai Baht

如相关,注明美元与当地货币的汇率(例如1美元=79.9巴西雷亚尔):1美元=:

32.0

注明雇用劳工的每日平均工资成本:

300บาท

4.3 技术建立活动

活动 时间(季度)
1. ปรับปรุง ก่อนปลูก
2. ระบบน้ำ ฤดูแล้ง
3. การกำจัดวัชพืช ระหว่างปลูก
4. การกำจัดศัตรูพืช ระหว่างปลูก
5. แนวกันชน ฤดูฝน
6. การใช้หญ้าแฝก ฤดูฝน
7. การทำบัญชีฟาร์ม ตลอดปี

4.4 技术建立所需要的费用和投入

对投入进行具体说明 单位 数量 单位成本 每项投入的总成本 土地使用者承担的成本%
劳动力 1.1การปลูกปอเทือง ครั้ง 2.0 900.0 1800.0 100.0
劳动力 1.2สับกลบปอเทือง ครั้ง 2.0 900.0 1800.0 100.0
劳动力 1.3ฉีดน้ำหมักชีวภาพ ครั้ง 2.0 900.0 1800.0 100.0
劳动力 1.4ใส่ปุ๋ยหมัก ครั้ง 1.0 1800.0 1800.0 100.0
设备 1.5ใส่ปูนโดโลไมท์ ครั้ง 1.0 1600.0 1600.0 100.0
设备 2.ใส่ปุ๋ยหมักปรับปรุงดิน ครั้ง 1.0 9000.0 9000.0 100.0
设备 3.กำจัดวัชพืช ครั้ง 8.0 9600.0 76800.0 100.0
设备 4.กำจัดศัตรูพืช ครั้ง 24.0 600.0 14400.0 100.0
设备 5.ใช้ตาข่ายพรางแสงเป็นแนวกันชน ม้วน 2.0 600.0 1200.0 100.0
设备 6.ปลูกต้นไม้เป็นแนวกันชน ครั้ง 2.0 600.0 1200.0 100.0
设备 7.ดูแลรักษาตัดแต่งหญ้าแฝก ครั้ง 8.0 900.0 7200.0 100.0
设备 อุปกรณ์ต่อบ่อบาดาล บ่อ 3.0 30000.0 90000.0 100.0
植物材料 ตาข่ายพรางแสง ม้วน 2.0 1700.0 3400.0 100.0
植物材料 ค่าเมล็ดพันธุ์ปอเทือง กก. 63.0 33.0 2079.0 100.0
植物材料 ค่าต้นไม้ปลูกแนวกันชน ต้น 100.0 10.0 1000.0 100.0
植物材料 พันธุ์กล้าหญ้าแฝก กล้า 150000.0 0.73 109500.0 100.0
肥料和杀菌剂 1.การปรับปรุงพื้นที่ทำการเกษตร
肥料和杀菌剂 1.1น้ำหมักชีวภาพ ลิตร 50.0 20.0 1000.0 100.0
肥料和杀菌剂 1.2โดโลไมท์ กก. 4200.0 4.0 16800.0 100.0
肥料和杀菌剂 2.ปุ๋ยหมักปรับปรุงดิน กก. 5500.0 4.0 22000.0 100.0
肥料和杀菌剂 3.สารไล่แมลง ลิตร 50.0 30.0 1500.0 100.0
其它 1.การปจัดการพื้นที่ทำการเกษตร
其它 1.1ค่าไถพื้นที่ ไร่ 21.0 500.0 10500.0 100.0
其它 2.บ่อบาดาล บ่อ 3.0 70000.0 210000.0 100.0
技术建立所需总成本 586379.0
技术建立总成本,美元 18324.34
如果土地使用者负担的费用少于100%,请注明由谁负担其余费用:

-

注释:

-

4.5 维护/经常性活动

活动 时间/频率
1. 1. ระบบน้ำ 2 ครั้งต่อปี ก่อน-หลังฤดูฝน
2. 2.การกำจัดวัชพืช 12 ครั้งต่อปี ระหว่างฤดูปลูกพืช
3. 3. การกำจัดศัตรูพืช 12 ครั้งต่อปีระหว่างฤดูปลูกพืช
4. 4.แนวกันชน 2 ครั้งต่อปี ก่อนและหลังฤดูปลูก
5. 5.การใช้หญ้าแฝก 12 ครั้งต่อปี ระหว่างฤดูปลูก
注释:

-

4.6 维护/经常性活动所需要的费用和投入(每年)

对投入进行具体说明 单位 数量 单位成本 每项投入的总成本 土地使用者承担的成本%
劳动力 1.ค่ากำจัดวัชพืชในแปลง ครั้ง 8.0 1200.0 9600.0 100.0
劳动力 2.ค่ากำจัดศัตรูพืช ครั้ง 24.0 600.0 14400.0 100.0
劳动力 3.ค่าซ่อมแซมแนวกันชน ครั้ง 6.0 300.0 1800.0 100.0
劳动力 4.ค่าตัดแต่งแนวหญ้าแฝก ครั้ง 8.0 900.0 7200.0 100.0
其它 1.ค่าไฟฟ้าเกี่ยวกับระบบน้ำ เดือน 12.0 500.0 6000.0 100.0
技术维护所需总成本 39000.0
技术维护总成本,美元 1218.75
如果土地使用者负担的费用少于100%,请注明由谁负担其余费用:

-

注释:

-

4.7 影响成本的最重要因素

描述影响成本的最决定性因素:

ค่าสาธารณูปโภค1.ค่าไฟฟ้า 2. ค่าเจาะบ่อบาดาลพร้อมวางระบบน้ำ 3. ค่าแรงงานและขนส่ง

5. 自然和人文环境

5.1 气候

年降雨量
  • < 250毫米
  • 251-500毫米
  • 501-750毫米
  • 751-1,000毫米
  • 1,001-1,500毫米
  • 1,501-2,000毫米
  • 2,001-3,000毫米
  • 3,001-4,000毫米
  • > 4,000毫米
指定年平均降雨量(若已知),单位为mm:

1600.00

有关降雨的规范/注释:

เป็นพื้นที่เงาฝน (rain shadow) ทำให้มีฝนตกน้อย อากาศร้อนจัดในฤดูร้อน และหนาวจัดในฤดูหนาว โดยมีอุณหภูมิสูงสุดประมาณ 44-45 องศาเซล-เซียสในเดือนเมษายน อุณหภูมิต่ำสุดในเดือนธันวาคมประมาณ 8-9 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 27 องศาเซล-เซียส ช่วงฤดูฝนเริ่มตกจากกลางเดือนเมษายน และสิ้นสุดในช่วงกลางเดือนตุลาคม

注明所考虑的参考气象站名称:

-

农业气候带
  • 潮湿的

-

5.2 地形

平均坡度:
  • 水平(0-2%)
  • 缓降(3-5%)
  • 平缓(6-10%)
  • 滚坡(11-15%)
  • 崎岖(16-30%)
  • 陡峭(31-60%)
  • 非常陡峭(>60%)
地形:
  • 高原/平原
  • 山脊
  • 山坡
  • 山地斜坡
  • 麓坡
  • 谷底
垂直分布带:
  • 0-100 m a.s.l.
  • 101-500 m a.s.l.
  • 501-1,000 m a.s.l.
  • 1,001-1,500 m a.s.l.
  • 1,501-2,000 m a.s.l.
  • 2,001-2,500 m a.s.l.
  • 2,501-3,000 m a.s.l.
  • 3,001-4,000 m a.s.l.
  • > 4,000 m a.s.l.
说明该技术是否专门应用于:
  • 凹陷情况
关于地形的注释和进一步规范:

พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบบนภูเขา ติดอ่างเก็บน้ำเขื่อนศรีนครินทร์ สภาพภูมิประเทศเป็นภูเขาหินปูนและหินตะกอนเป็นส่วนใหญ่ ระดับความสูง สูงสุดประมาณ 1,100 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง โดยมีความสูงเฉลี่ยประมาณ 400 เมตร

5.3 土壤

平均土层深度:
  • 非常浅(0-20厘米)
  • 浅(21-50厘米)
  • 中等深度(51-80厘米)
  • 深(81-120厘米)
  • 非常深(> 120厘米)
土壤质地(表土):
  • 中粒(壤土、粉土)
土壤质地(地表以下> 20厘米):
  • 细粒/重质(粘土)
表土有机质:
  • 中(1-3%)

5.4 水资源可用性和质量

地下水位表:

> 50米

地表水的可用性:

水质(未处理):

仅供农业使用(灌溉)

水的盐度有问题吗?:

该区域正在发生洪水吗?:

关于水质和水量的注释和进一步规范:

-

5.5 生物多样性

物种多样性:
  • 中等
栖息地多样性:
  • 中等
关于生物多样性的注释和进一步规范:

-

5.6 应用该技术的土地使用者的特征

定栖或游牧:
  • 定栖的
生产系统的市场定位:
  • 混合(生计/商业)
非农收入:
  • 低于全部收入的10%
相对财富水平:
  • 平均水平
个人或集体:
  • 个人/家庭
机械化水平:
  • 手工作业
性别:
  • 男人
土地使用者的年龄:
  • 中年人
说明土地使用者的其他有关特征:

-

5.7 应用该技术的土地使用者使用的平均土地面积

  • < 0.5 公顷
  • 0.5-1 公顷
  • 1-2 公顷
  • 2-5公顷
  • 5-15公顷
  • 15-50公顷
  • 50-100公顷
  • 100-500公顷
  • 500-1,000公顷
  • 1,000-10,000公顷
  • > 10,000公顷
这被认为是小规模、中规模还是大规模的(参照当地实际情况)?:
  • 大规模的
注释:

-

5.8 土地所有权、土地使用权和水使用权

土地所有权:
  • 个人,有命名
土地使用权:
  • 个人
用水权:
  • 个人
具体说明:

-

注释:

-

5.9 进入服务和基础设施的通道

健康:
  • 贫瘠
  • 适度的
教育:
  • 贫瘠
  • 适度的
技术援助:
  • 贫瘠
  • 适度的
就业(例如非农):
  • 贫瘠
  • 适度的
市场:
  • 贫瘠
  • 适度的
能源:
  • 贫瘠
  • 适度的
道路和交通:
  • 贫瘠
  • 适度的
饮用水和卫生设施:
  • 贫瘠
  • 适度的
金融服务:
  • 贫瘠
  • 适度的
注释:

-

6. 影响和结论性说明

6.1 该技术的现场影响

社会经济效应

生产

作物生产

降低
增加
注释/具体说明:

-

作物质量

降低
增加
注释/具体说明:

-

畜牧生产

降低
增加
注释/具体说明:

-

产品多样性

降低
增加
注释/具体说明:

-

土地管理

妨碍
简化
注释/具体说明:

-

水资源可用性和质量

饮用水的质量

降低
增加
注释/具体说明:

-

收入和成本

农业投入费用

增加
降低
注释/具体说明:

-

农业收入

降低
增加
注释/具体说明:

-

收入来源的多样性

降低
增加

工作量

增加
降低
注释/具体说明:

-

社会文化影响

食品安全/自给自足

减少
改良
注释/具体说明:

-

健康状况

恶化
改良
注释/具体说明:

-

社区机构

削弱
加强
注释/具体说明:

-

SLM/土地退化知识

减少
改良
注释/具体说明:

-

生态影响

土壤

土壤水分

降低
增加
注释/具体说明:

-

土壤流失

增加
降低
注释/具体说明:

-

养分循环/补给

降低
增加
注释/具体说明:

-

土壤有机物/地下C

降低
增加
注释/具体说明:

-

生物多样性:植被、动物

植物多样性

降低
增加
注释/具体说明:

-

减少气候和灾害风险

干旱影响

增加
降低
注释/具体说明:

-

碳和温室气体的排放

增加
降低
注释/具体说明:

-

火灾风险

增加
降低
注释/具体说明:

-

风速

增加
降低
注释/具体说明:

-

对现场影响的评估(测量)进行具体说明:

-

6.2 该技术的场外影响已经显现

下游淤积

增加
降低
注释/具体说明:

-

地下水/河流污染

增加
减少
注释/具体说明:

-

对邻近农田的破坏

增加
减少
注释/具体说明:

-

对场外影响(测量)的评估进行具体说明:

-

6.3 技术对渐变气候以及与气候相关的极端情况/灾害的暴露和敏感性(土地使用者认为的极端情况/灾害)

渐变气候

渐变气候
季节 增加或减少 该技术是如何应对的?
年温度 减少 适度
季节性温度 减少 适度
年降雨量 适度
季雨量 适度

气候有关的极端情况(灾害)

气象灾害
该技术是如何应对的?
局地暴雨 适度
气候灾害
该技术是如何应对的?
干旱
森林火灾 适度
生物灾害
该技术是如何应对的?
流行病 不好

其他气候相关的后果

其他气候相关的后果
该技术是如何应对的?
延长生长期 不好
缩短生长期
注释:

-

6.4 成本效益分析

技术收益与技术建立成本相比如何(从土地使用者的角度看)?
短期回报:

轻度消极

长期回报:

积极

技术收益与技术维护成本/经常性成本相比如何(从土地使用者的角度看)?
短期回报:

中性/平衡

长期回报:

积极

注释:

-

6.5 技术采用

  • 1-10%
如若可行,进行量化(住户数量和/或覆盖面积):

10 ครัวเรือน

在所有采用这项技术的人当中,有多少人是自发的,即未获得任何物质奖励/付款?:
  • 0-10%
注释:

-

6.6 适应

最近是否对该技术进行了修改以适应不断变化的条件?:

其它(具体说明):

ปรับเปลี่ยนเรื่องค่าใช้จ่ายต้องประหยัดมากขึ้น ต้องมีความละเอียดมากขึ้น (สังเกตมากขึ้น)

具体说明技术的适应性(设计、材料/品种等):

ปรับลดการใช้พลังงานโดยการใช้โซล่าร์เซลล์ในการใช้น้ำบาดาล

6.7 该技术的优点/长处/机会

土地使用者眼中的长处/优势/机会
1.1 พื้นที่ที่ทำการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น
1.2 สามารถลดต้นทุนการผลิตได้
1.3 ผลผลิตทางการเกษตรที่ได้มีความปลอดภัยไม่มีสารพิษตกค้าง
2.1 ขายผลผลิตได้ราคาดีขึ้น
2.2 ทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง
2.3 เป็นพื้นที่ที่สามารถส่งผลผลิตสู่ตลาดอย่างง่าย เส้นทางคมนาคมสะดวก
2.4 เกษตรกรได้รับความรู้และมีประสบการณ์ในการทำการเกษตรดีกว่าเกษตรกรรายอื่นๆ
3.1 มีการร่วมมือของผู้ผลิตกับหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งภาครัฐที่เข้ามาร่วมสนับสนุน
3.2 ได้รับตราสัญลักษณ์รับรองมาตรฐานสินค้าทำให้ผู้บริโภคเชื่อมั่นเป็นที่ต้องการของตลาด
编制者或其他关键资源人员认为的长处/优势/机会
1)ได้มีนโยบายของภาครัฐที่ช่วยสนันสนุนด้านการเกษตรอินทรีย์
2)ได้มีการร่วมมือของภาครัฐและผู้ผลิตทำให้สามารถแข่งขันได้มากขึ้น

6.8 技术的弱点/缺点/风险及其克服方法

土地使用者认为的弱点/缺点/风险 如何克服它们?
1.1 ต้องใช้เวลาเพิ่มมากขึ้นในการทำการเกษตรแบบระบบอินทรีย์ 1.1 หานวัตรกรรมและเทคโนโลยีต่างๆเข้ามาช่วย
1.2 ต้องทำแนวกันชนแปลงตัวเองเพิ่มมากขึ้นเพื่อป้องกันสารพิษของแปลงเพื่อนบ้าน 1.2 ต้องมีการออกกฏหมายคุ้มครองสำหรับการทำเกษตรอินทรีย์
2.1 ต้องเสียเวลานานและมีหลายขั้นตอนในการขอใบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 2.1 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปรับหลักเกณฑ์ทำให้เหมาะสม
2.2 ต้องใช้เวลาและแรงงานพร้อมจัดหาวัสดุในการทำปุ๋ยอิทรีย์ใช้เอง 2.2 หาวัสดุในพื้นที่นำมาใช้เพื่อลดต้นทุนการผลิต
3.1 ผู้บริโภคยังสับสนไม่รู้ว่าเกษตรอินทรีย์คืออะไร 3.1 ให้ความรู้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น
3.2อุปสรรคเรื่องของราคา เนื่องจากมีต้นทุนสูง 3.2 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยประชาสัมพันธ์และหาตลาดรองรับ
编制者或其他关键资源人员认为的弱点/缺点/风险 如何克服它们?
1)เกษตรกรยังขาดการวางแผนในเรื่องของการใช้ที่ดินอย่างเป็นระบบ 1.ให้ความรู้และข้อมูลต่างๆมากขึ้น
2.เกษตรกรยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการปรับปรุงบำรุงดิน 2.ให้หน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องให้ความรู้ที่ครอบคลุมรอบด้าน
3)เกษตรกรยังขาดความเข้าใจในเรื่องของความต่อเนื่องของการผลิตและการตลาด 3. ให้เรียนรู้ในเรื่องของการผลิตและการตลาดให้รู้ทันเหตุการณ์
4)การกำหนดราคายังเป็นปัญหาใหญ่เนื่องจากมีการผันผวนของราคราอยู่มาก 4.ให้ภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยกำกับดูแลอย่างแท้จริง

7. 参考和链接

7.1 信息的方法/来源

7.2 参考可用出版物

标题、作者、年份、ISBN:

-

可以从哪里获得?成本如何?

-

7.3 链接到网络上的相关信息

标题/说明:

-

7.4 一般注释

-

模块