Approaches

กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ [Thailand]

-

approaches_4243 - Thailand

Completeness: 100%

1. General information

1.2 Contact details of resource persons and institutions involved in the assessment and documentation of the Approach

Key resource person(s)

co-compiler:
ผู้รวบรวม:
land user:

มงคลกาญจนคุณ นายพัฒน์พงษ์

084-5276227 / -

- / -

-

119/1.....ม.4.....ต.หนองเป็ดอำเภอ.ศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรีรหัสไปรษณีย์ 71250

Thailand

land user:

เรียงรวบ นายมานพ

086-9865017 / -

- / -

-

1/1.....ม.2....ต.หนองเป็ด....อ.ศรีสวัสดิ์....จ.กาญจนบุรี

Thailand

land user:

วิสารทเวคิน นายชวลิต

034-696169 / 089-8976212

- / -

-

99…ม.3....ต.หนองเป็ด.....อ.ศรีสวัสดิ์........จ.กาญจนบุรี

Thailand

land user:

พิศูจน์ นางทิพยมาศ

089-8251578 / -

- / -

-

83…..ม.4.....ต.หนองเป็ด....อ.ศรีสวัสดิ์.....จ.กาญจนบุรี

Thailand

1.3 Conditions regarding the use of data documented through WOCAT

The compiler and key resource person(s) accept the conditions regarding the use of data documented through WOCAT:

Ja

1.4 Reference(s) to Questionnaire(s) on SLM Technologies

เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา Organic Farm on Moderate Hillside Slope
technologies

เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา Organic Farm on Moderate Hillside Slope [Thailand]

เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา เป็นการจัดการพื้นที่ ดินและน้ำ ให้สามารถผลิตสินค้าทางการเกษตรที่ปลอดภัยได้อย่างยั่งยืน

  • Compiler: Kukiat SOITONG

2. Description of the SLM Approach

2.1 Short description of the Approach

กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เป็นการรวมกลุ่มของเกษตรกรที่ดำเนินการทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยได้จัดให้มีศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย เพื่อเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ร่วมกัน

2.2 Detailed description of the Approach

Detailed description of the Approach:

1. อะไรคือลักษณะที่สำคัญหรือคุณลักษณะที่เห็นเด่นชัดของแนวทาง
กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เป็นแนวทางของการจัดการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา เป็นการทำเกษตรที่ให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศการเกษตรในไร่นา ดังนั้นจึงจำเป็นต้องพัฒนาการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติและการบริหารจัดการฟาร์มของตนเ ผลที่ตามมาก็คือเกษตรอินทรีย์จึงเป็นแนวทางการเกษตรที่ตั้งอยู่บนกระบวนการแห่งการเรียนรู้และภูมิปัญญา เพราะเกษตรกรต้องสังเกต ศึกษา วิเคราะห์-สังเคราะห์ และสรุปบทเรียนเกี่ยวกับการทำการเกษตรของฟาร์มตนเอง ซึ่งจะมีเงื่อนไขทั้งทางกายภาพ เช่น ลักษณะของดิน ภูมิอากาศ รวมถึงเศรษฐกิจ-สังคมที่แตกต่างจากพื้นที่อื่น เพื่อคัดสรรและพัฒนาแนวทางเกษตรอินทรีย์ที่เฉพาะและเหมาะสมกับพื้นที่ของตัวเอง

2. อะไรคือเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของแนวทาง
การตั้ง กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์
1.เพื่อ ให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยให้มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันผ่านการจัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย
2. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์และสามารถจัดการสินค้าเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่การผลิตจนถึงการตลาด

3. วิธีการใดที่ถูกเอามาใช้
กระบวนการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนของกลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ ได้นำวิธีการต่อไปนี้มาปรับใช้
1 มีการRaising Farmers’ Awareness
2 การเรียนรู้จากการลงมือทำจริง Learning by Doing
3 การจัดการระบบการเรียนรู้ภายในกลุ่ม Farmers’ Learning System
4 Farmers’ Group Management

4. ขั้นตอนของการเอาไปปฏิบัติใช้มีอันไหนบ้าง
1.จัดตั้ง กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์
2.เชิญชวนเกษตรกร ที่มีความสนใจและมีความต้องการปรับเปลี่ยนมาจัดตั้งกลุ่ม
3.จัดตั้งคณะกรรมการบริหารกลุ่ม เพื่อดำเนินการขับเคลื่อนกิจกรรมกลุ่ม
4. อบรม สมาชิกในกลุ่มให้มีความรู้ด้านการผลิต และกระบวนการจัดการสินค้าเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำจนถึงปลายน้ำ ให้ได้มาตรฐานการผลิดสินค้าเกษตรอินทรีย์ –
5. สร้างกระบวนการถ่ายทอดความรู้ ผ่านการปฏิบัติจริงภายในศูนย์เรียนรู้ การวางแผนและการบริหารจัดการฟาร์มด้วยตนเอง
6.จัดให้มีระบบตรวจสอบภายในกลุ่ม เพื่อรักษามาตรฐานการผลิตตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย
7. ศึกษาดูงาน
8. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยใช้สื่อต่างๆ ได้แก่ แผ่นพับ วิดีโอ youtube การให้สัมภาษณ์ผ่านสื่อโทรทัศน์ และวิทยุ
9. ส่งเสริมและสนับสนุน จากหน่วยงาน ได้แก่ กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริมการเกษตร กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิต


5 ผู้มีส่วนได้เสียมีผู้ใดที่เกี่ยวข้องและบทบาทของบุคคลเหล่านั้นมีอะไรบ้าง
5.1 เกษตรกรสมาชิกและผู้นำเกษตรรกร มีบทบาทในการถ่ายทอดความรู้ การจัดตั้งกลุ่มที่มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน
5.2 หน่วยงานของรัฐ มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณและปัจจัยการผลิต และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
5.3 หน่วยงานเอกชน มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
5.4 ผู้ส่งออกสินค้าเกษตรอินทรีย์ มีบทบาทในการช่วยกระจายสินค้าเกษตรอินทรียำปยังต่างประเทศ

(6) สิ่งที่ผู้ใช้ที่ดินชอบหรือไม่ชอบเกี่ยวกับแนวทาง
จุดแข็งของกลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์
1) กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ มีการบูรณาการ ร่วมกันทั้งเกษตรกร ภาครัฐ และเอกชน
2 การดำเนินงานแบบกลุ่มทำให้มีอำนาจต่อรองและ สามารถติดต่อกับตลาดได้โดยตรง
3) การรวมกล่มเรียนรู้ทำให้เกิดมีความรู้ทักษะและประสบการณ์ในด้านเกษตรอินทรีย์ได้ดีขึ้น
4) ความซือสัตย์ของเกษตรกรที่เป็นสมาชิก จะทำให้กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์มีความเข้มแข็ง
5) การถ่ายทอดความรู้ และการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ทำให้เกษตรกรสามารถนำความรู้ไปใช้ในพื้นที่ของตนเองได้อย่างเหมาะสม

2.3 Photos of the Approach

General remarks regarding photos:

-

2.4 Videos of the Approach

Comments, short description:

-

Location:

-

Name of videographer:

-

2.5 Country/ region/ locations where the Approach has been applied

Country:

Thailand

Region/ State/ Province:

กาญจนบุรี

Further specification of location:

บ้านหนองเป็ด..ม.4...ต.หนองเป็ด....อ.ศรีสวัสดิ์...จ.กาญจนบุรี

Comments:

-

2.6 Dates of initiation and termination of the Approach

Indicate year of initiation:

2006

Comments:

เกษตรกรมีการทำเกษตรอินทรีย์อย่างต่อเนื่อง

2.7 Type of Approach

  • project/ programme based

2.8 Main aims/ objectives of the Approach

การตั้ง กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์
1.เพื่อ ให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยให้มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันผ่านการจัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย

2. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์และสามารถจัดการสินค้าเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่การผลิตจนถึงการตลาด

2.9 Conditions enabling or hindering implementation of the Technology/ Technologies applied under the Approach

social/ cultural/ religious norms and values
  • hindering

คนในสังคมส่วนมากยังเห็นต่างยังทำเกษตรสารเคมีทำให้ยากต่อการป้องกันการปนเปื่อนของสารเคมีจากแปลงรอบข้าง

availability/ access to financial resources and services
  • enabling

มีหน่วยงานทางการเงินมาให้แหล่งทุนเช่น ธกส.และกองทุนหมู่บ้าน

institutional setting
  • enabling

มีหน่วยงานที่เข้าร่วมสนับสนุนหลายหน่วยงาน ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร สถานีพัฒนาที่ดิน และการไฟฟ้าเขื่อนศรีนครินทร์

collaboration/ coordination of actors
  • enabling

หน่วยงานต่างๆร่วมบูรณาการในพื้นที่

legal framework (land tenure, land and water use rights)
  • hindering

ยังขาดเอกสารสิธิ์อยู่ในพื้นที่เขตป่าไม้ถาวรทำให้ขาดสิทธิในใช้ประโยชน์ที่ดินด้านต่างๆ

policies
  • enabling

เป็นวาระแห่งชาติ

knowledge about SLM, access to technical support
  • enabling

เกษตรกรสามารถติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ได้สะดวก รวดเร็วมีหน่วยงานสนับสนุน

markets (to purchase inputs, sell products) and prices
  • enabling

เป็นผลผลิตที่เป็นความต้องการของตลาด

other
  • hindering

ขาดแคลนแรงงานและค่าแรงขั้นต่ำมีราคาสูง

3. Participation and roles of stakeholders involved

3.1 Stakeholders involved in the Approach and their roles

  • local land users/ local communities

เกษตรกรเจ้าของพื้นที่และสมาชิกกล่ม

-

  • teachers/ school children/ students

ครู นักเรียน-โรงเรียน มหาวิทยาลัย

-

  • private sector

การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

-

  • national government (planners, decision-makers)

หน่วยงานภาครัฐ กพด ,กสก,-กระทรวงพลังงาน กรมพัฒนาชุมชน

-

  • international organization

มีองค์กร FAO เข้ามาเยี่ยมเยียนให้คำปรึกษาและแนะนำ

-

If several stakeholders were involved, indicate lead agency:

-

3.2 Involvement of local land users/ local communities in the different phases of the Approach
Involvement of local land users/ local communities Specify who was involved and describe activities
initiation/ motivation self-mobilization หน่วยงานของรัฐ กสก กพด ให้การสนับสนุนมีการประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารต่างๆ.
planning interactive หน่วยงานของรัฐและเกษตรกร ร่วมกันดำเนินการวางแผนประชุม ตรวจสอบพื้นที่ในขั้นตอนการทำเกษตรอินทรีย์
implementation interactive เกษตรกรและหน่วยงานภาครัฐ เอกชน
monitoring/ evaluation interactive หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน และสมาชิกภายในกล่ม

3.3 Flow chart (if available)

Description:

เป็นขั้นตอนต่างๆในการจัดตั้งกล่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เชิญชวนเกษตรกร ที่มีความสนใจและมีความต้องการปรับเปลี่ยนมาจัดตั้งกลุ่ม จัดตั้งคณะกรรมการบริหารกลุ่ม เพื่อดำเนินการขับเคลื่อนกิจกรรมกลุ่ม อบรม สมาชิกในกลุ่มให้มีความรู้ด้านการผลิต และกระบวนการจัดการสินค้าเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำจนถึงปลายน้ำ ให้ได้มาตรฐานการผลิดสินค้าเกษตรอินทรีย์ สร้างกระบวนการถ่ายทอดความรู้ ผ่านการปฏิบัติจริงภายในศูนย์เรียนรู้ การวางแผนและการบริหารจัดการฟาร์มด้วยตนเอง จัดให้มีระบบตรวจสอบภายในกลุ่ม เพื่อรักษามาตรฐานการผลิตตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย มีการศึกษาดูงาน เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยใช้สื่อต่างๆ ได้แก่ แผ่นพับ วิดีโอ youtube การให้สัมภาษณ์ผ่านสื่อโทรทัศน์ และวิทยุส่งเสริมและสนับสนุน จากหน่วยงาน ได้แก่ กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริมการเกษตร กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

Author:

-

3.4 Decision-making on the selection of SLM Technology/ Technologies

Specify who decided on the selection of the Technology/ Technologies to be implemented:
  • all relevant actors, as part of a participatory approach
Explain:

-

Specify on what basis decisions were made:
  • personal experience and opinions (undocumented)

4. Technical support, capacity building, and knowledge management

4.1 Capacity building/ training

Was training provided to land users/ other stakeholders?

Ja

Specify who was trained:
  • land users
  • นักศึกษา
If relevant, specify gender, age, status, ethnicity, etc.

-

Form of training:
  • farmer-to-farmer
  • courses
Subjects covered:

เทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน

Comments:

เป็นการให้ความรู้ในเรื่องของการทำเกษตรอินทรีย์อย่างเป็นระบบ

4.2 Advisory service

Do land users have access to an advisory service?

Ja

Specify whether advisory service is provided:
  • at permanent centres
Describe/ comments:

มีเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวห้องให้คำแนะนำอย่างสม่ำเสมอ

4.3 Institution strengthening (organizational development)

Have institutions been established or strengthened through the Approach?
  • yes, moderately
Specify the level(s) at which institutions have been strengthened or established:
  • local
Describe institution, roles and responsibilities, members, etc.

-

Specify type of support:
  • financial
  • capacity building/ training
Give further details:

กรมพัฒนาที่ดินและไฟฟ้าเขื่อนศรีนครินทร์ให้การสนับสนุนงบประมาณ

4.4 Monitoring and evaluation

Is monitoring and evaluation part of the Approach?

Ja

Comments:

มีการติดตามตรวจสอบประเมินผล

If yes, is this documentation intended to be used for monitoring and evaluation?

Ja

4.5 Research

Was research part of the Approach?

Nee

5. Financing and external material support

5.1 Annual budget for the SLM component of the Approach

If precise annual budget is not known, indicate range:
  • > 1,000,000
Comments (e.g. main sources of funding/ major donors):

กรมพัฒนาที่ดินและไฟฟ้าฝ่ายผลิต กระทรวงพลังงาน

5.2 Financial/ material support provided to land users

Did land users receive financial/ material support for implementing the Technology/ Technologies?

Ja

If yes, specify type(s) of support, conditions, and provider(s):

อาคาร อุปกรณ์การเกษตร โรงแปรรูป ผลิตภัณฑ์และเครื่องบรรจุภัณฑ์

5.3 Subsidies for specific inputs (including labour)

  • equipment
Specify which inputs were subsidised To which extent Specify subsidies
machinery fully financed 1.อาคารโรงเรือน 500,000บาท 2.โรงแปรรูป 60,000บาท 3.เครื่องบรรจุภัณฑ์ 190,000บาท 4.แผงโซล่าเซลล์ 160,000บาท
tools fully financed
  • agricultural
Specify which inputs were subsidised To which extent Specify subsidies
seeds fully financed 1.กรมพัฒนาที่ดินสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ปอเทือง 2,000บาท 2.กรมพัฒนาที่ดินสนับสนุนกล้าหญ้าแฝกจำนวน20000กล้าเป็นเงิน14600บาท 3.กรมพัฒนาที่ดินสนับสนุนปูนโดโลไมท์จำนวน4200กิโลกรัมเป็นเงิน16800บาท
If labour by land users was a substantial input, was it:
  • voluntary
Comments:

-

5.4 Credit

Was credit provided under the Approach for SLM activities?

Nee

5.5 Other incentives or instruments

Were other incentives or instruments used to promote implementation of SLM Technologies?

Ja

If yes, specify:

กรมพัฒนาที่ดินและไฟฟ้าเขื่อนศรีนครินทร์ช่วยส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรอินทรีย์ทั้งวัสดุและอุปกรณ์พร้อมกับภาครัฐมีนโยบายช่วยส่งเสริม

6. Impact analysis and concluding statements

6.1 Impacts of the Approach

Did the Approach empower local land users, improve stakeholder participation?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

เกษตรกรมีการทำการเกษตรอย่างต่อเนื่องและมีรายได้หมุนเวียน

Did the Approach enable evidence-based decision-making?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

มีการนำความรู้ต่อยอดและมีรายได้เสริม

Did the Approach help land users to implement and maintain SLM Technologies?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

เกษตรกรประยุกต์ใช้เทคโนโลยีต่างๆ

Did the Approach improve coordination and cost-effective implementation of SLM?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น/ได้แนะนำ/แรงจูงใจและมีหน่วยงานสนับสนุน

Did the Approach improve knowledge and capacities of land users to implement SLM?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นทำให้มีประสบการณ์ด้านเกษตรอินทรีย์

Did the Approach improve knowledge and capacities of other stakeholders?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

ได้แนะนำให้เพื่อนบ้านและผู้ใช้เกษตรอินทรีย์ปรับใช้ตาม

Did the Approach build/ strengthen institutions, collaboration between stakeholders?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

มีการติดต่อประสานงานและมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน

Did the Approach encourage young people/ the next generation of land users to engage in SLM?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

มีการติดต่อประสานงานและมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน

Did the Approach lead to improved food security/ improved nutrition?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

มีการติดต่อประสานงานและมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน

Did the Approach improve the capacity of the land users to adapt to climate changes/ extremes and mitigate climate related disasters?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

ปรับการแก้ปัญหาเรื่องภัยแล้งโดยการขุดบ่อบาดาล

6.2 Main motivation of land users to implement SLM

  • increased production

ปลูกพืชหลากหลายและเป็นที่ต้องการของตลาด

  • increased profit(ability), improved cost-benefit-ratio

ผลผลิตที่ได้ปลอดภัย มีคุณภาพเป็นที่ต้องการของ
ตลาด

  • reduced risk of disasters

ลดการชะล้างพังทลายของดิน

  • environmental consciousness

ทำให้ปลอดภัยจากสารเคมี สิ่งแวดล้อมดีขึ้น

  • enhanced SLM knowledge and skills

มีหน่วยงานหลายหน่วยงานช่วยสนับสนุนและให้ความรู้ทำให้มีทักษะและประสบการณ์มากยิ่งขึ้น

6.3 Sustainability of Approach activities

Can the land users sustain what has been implemented through the Approach (without external support)?
  • yes
If yes, describe how:

ทำให้สามารถปลูกพืชได้ผลผลิตที่ปลอดภัย มีใบรับรองจากภาครัฐ ทำให้สินค้าเป็นที่ต้องการของตลาดและขายรายได้สูง

6.4 Strengths/ advantages of the Approach

Strengths/ advantages/ opportunities in the land user’s view
1) กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ มีการบูรณาการ ร่วมกันทั้งเกษตรกร ภาครัฐ และเอกชน
2 การดำเนินงานแบบกลุ่มทำให้มีอำนาจต่อรองและ สามารถติดต่อกับตลาดได้โดยตรง
3) การรวมกล่มเรียนรู้ทำให้เกิดมีความรู้ทักษะและประสบการณ์ในด้านเกษตรอินทรีย์ได้ดีขึ้น
4) ความซือสัตย์ของเกษตรกรที่เป็นสมาชิก จะทำให้กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์มีความเข้มแข็ง
5) การถ่ายทอดความรู้ และการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ทำให้เกษตรกรสามารถนำความรู้ไปใช้ในพื้นที่ของตนเองได้อย่างเหมาะสม
Strengths/ advantages/ opportunities in the compiler’s or other key resource person’s view
1 ทำให้เกิดการวางแผนการใช้ที่ดินอย่างเป็นระบบ
2) ทำให้เกิดสินค้าที่มีมาตรฐานและได้รับการรับรอง จากหน่วยงาน ทำให้สินค้าเป็นที่ต้องการของตลาด
3) การที่รัฐกำหนดให้ เกษตรอินทรีย์ เป็นนโยบายแห่งชาติ ทำให้เป็นที่รู้จักและมีผู้สนใจมากขึ้น
4)มีช่องทางจำหน่ายผลผลิตที่หลากหลาย ทำให้ผู้บริโภคเข้าถึงได้ง่าย
5) ทำให้คนรุ่นใหม่เข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น
6) ทำให้เกิดพฤติกรรมต้องการบริโภคอาหารสุขภาพ มากขึ้น

6.5 Weaknesses/ disadvantages of the Approach and ways of overcoming them

Weaknesses/ disadvantages/ risks in the land user’s view How can they be overcome?
1)หน่วยงานภาครัฐยังขาดประชาสัมพันธ์และให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ให้ภาครัฐมีนโยบายและสนันสนุนอย่างต่อเนื่อง
2ต้องใช้เวลาและความอดทนในการทำเกษตรอินทรีย์ หาเครื่องเมือเครื่องจักรเข้ามาช่วยดำเนินการ
3)พื้นที่ทำการเกษตรอย่าห่างไกลจากตลาดทำให้การขนส่งไม่สะดวกและไกล เพิ่มตลาดในพื้นที่ใกล้เคียงให้มากขึ้น
4)ผู้บริโภคยังขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องผลผลิตจากเกษตรอินทรีย์ ให้หน่วยงานภาครัฐช่วยส่งเสริมอย่างจริงจัง
5)การบรรจุภัณฑ์ยังไม่สวยงานและทันสมัยที่จะดึงดูดผู้บริโภคได้. ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยในการออกแบบและส่งเสริมให้เป็นที่ต้องการของผู้บริโภค
Weaknesses/ disadvantages/ risks in the compiler’s or other key resource person’s view How can they be overcome?
1)ผลผลิตจากการทำเกษตรอินทรีย์มีปริมาณน้อยกว่าระบบเกษตรใช้สารเคมี รวมกลุ่มสมาชิกผู้สนใจเรื่องเกษตรอินทรีย์เพิ่มผลิตให้มากขึ้นให้หน่วยงานภาครัฐมีการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง

7. References and links

7.1 Methods/ sources of information

  • interviews with land users
  • interviews with SLM specialists/ experts

-

7.2 References to available publications

Title, author, year, ISBN:

กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

Available from where? Costs?

http://www.ldd.go.th/www/lek_web/

Title, author, year, ISBN:

กรมวิชาการเกษตร

Available from where? Costs?

http://www.doa.go.th/main/

Title, author, year, ISBN:

กรมส่งเสริมการเกษตร

Available from where? Costs?

www.doae.go.th

7.3 Links to relevant information which is available online

Title/ description:

-

URL:

-

Links and modules

Expand all Collapse all

Modules