Approches

กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ [Thaïlande]

-

approaches_4243 - Thaïlande

État complet : 100%

1. Informations générales

1.2 Coordonnées des personnes-ressources et des institutions impliquées dans l'évaluation et la documentation de l'Approche

Personne(s) ressource(s) clé(s)

co-compiler:
ผู้รวบรวม:
exploitant des terres:

มงคลกาญจนคุณ นายพัฒน์พงษ์

084-5276227 / -

- / -

-

119/1.....ม.4.....ต.หนองเป็ดอำเภอ.ศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรีรหัสไปรษณีย์ 71250

Thaïlande

exploitant des terres:

เรียงรวบ นายมานพ

086-9865017 / -

- / -

-

1/1.....ม.2....ต.หนองเป็ด....อ.ศรีสวัสดิ์....จ.กาญจนบุรี

Thaïlande

exploitant des terres:

วิสารทเวคิน นายชวลิต

034-696169 / 089-8976212

- / -

-

99…ม.3....ต.หนองเป็ด.....อ.ศรีสวัสดิ์........จ.กาญจนบุรี

Thaïlande

exploitant des terres:

พิศูจน์ นางทิพยมาศ

089-8251578 / -

- / -

-

83…..ม.4.....ต.หนองเป็ด....อ.ศรีสวัสดิ์.....จ.กาญจนบุรี

Thaïlande

1.3 Conditions relatives à l'utilisation par WOCAT des données documentées

Le compilateur et la(les) personne(s) ressource(s) acceptent les conditions relatives à l'utilisation par WOCAT des données documentées:

Oui

1.4 Références au(x) questionnaire(s) sur les Technologies de GDT

เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา Organic Farm on Moderate Hillside Slope
technologies

เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา Organic Farm on Moderate Hillside Slope [Thaïlande]

เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา เป็นการจัดการพื้นที่ ดินและน้ำ ให้สามารถผลิตสินค้าทางการเกษตรที่ปลอดภัยได้อย่างยั่งยืน

  • Compilateur : Kukiat SOITONG

2. Description de l'Approche de GDT

2.1 Courte description de l'Approche

กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เป็นการรวมกลุ่มของเกษตรกรที่ดำเนินการทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยได้จัดให้มีศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย เพื่อเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ร่วมกัน

2.2 Description détaillée de l'Approche

Description détaillée de l'Approche:

1. อะไรคือลักษณะที่สำคัญหรือคุณลักษณะที่เห็นเด่นชัดของแนวทาง
กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เป็นแนวทางของการจัดการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา เป็นการทำเกษตรที่ให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศการเกษตรในไร่นา ดังนั้นจึงจำเป็นต้องพัฒนาการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติและการบริหารจัดการฟาร์มของตนเ ผลที่ตามมาก็คือเกษตรอินทรีย์จึงเป็นแนวทางการเกษตรที่ตั้งอยู่บนกระบวนการแห่งการเรียนรู้และภูมิปัญญา เพราะเกษตรกรต้องสังเกต ศึกษา วิเคราะห์-สังเคราะห์ และสรุปบทเรียนเกี่ยวกับการทำการเกษตรของฟาร์มตนเอง ซึ่งจะมีเงื่อนไขทั้งทางกายภาพ เช่น ลักษณะของดิน ภูมิอากาศ รวมถึงเศรษฐกิจ-สังคมที่แตกต่างจากพื้นที่อื่น เพื่อคัดสรรและพัฒนาแนวทางเกษตรอินทรีย์ที่เฉพาะและเหมาะสมกับพื้นที่ของตัวเอง

2. อะไรคือเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของแนวทาง
การตั้ง กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์
1.เพื่อ ให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยให้มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันผ่านการจัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย
2. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์และสามารถจัดการสินค้าเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่การผลิตจนถึงการตลาด

3. วิธีการใดที่ถูกเอามาใช้
กระบวนการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนของกลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ ได้นำวิธีการต่อไปนี้มาปรับใช้
1 มีการRaising Farmers’ Awareness
2 การเรียนรู้จากการลงมือทำจริง Learning by Doing
3 การจัดการระบบการเรียนรู้ภายในกลุ่ม Farmers’ Learning System
4 Farmers’ Group Management

4. ขั้นตอนของการเอาไปปฏิบัติใช้มีอันไหนบ้าง
1.จัดตั้ง กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์
2.เชิญชวนเกษตรกร ที่มีความสนใจและมีความต้องการปรับเปลี่ยนมาจัดตั้งกลุ่ม
3.จัดตั้งคณะกรรมการบริหารกลุ่ม เพื่อดำเนินการขับเคลื่อนกิจกรรมกลุ่ม
4. อบรม สมาชิกในกลุ่มให้มีความรู้ด้านการผลิต และกระบวนการจัดการสินค้าเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำจนถึงปลายน้ำ ให้ได้มาตรฐานการผลิดสินค้าเกษตรอินทรีย์ –
5. สร้างกระบวนการถ่ายทอดความรู้ ผ่านการปฏิบัติจริงภายในศูนย์เรียนรู้ การวางแผนและการบริหารจัดการฟาร์มด้วยตนเอง
6.จัดให้มีระบบตรวจสอบภายในกลุ่ม เพื่อรักษามาตรฐานการผลิตตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย
7. ศึกษาดูงาน
8. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยใช้สื่อต่างๆ ได้แก่ แผ่นพับ วิดีโอ youtube การให้สัมภาษณ์ผ่านสื่อโทรทัศน์ และวิทยุ
9. ส่งเสริมและสนับสนุน จากหน่วยงาน ได้แก่ กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริมการเกษตร กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิต


5 ผู้มีส่วนได้เสียมีผู้ใดที่เกี่ยวข้องและบทบาทของบุคคลเหล่านั้นมีอะไรบ้าง
5.1 เกษตรกรสมาชิกและผู้นำเกษตรรกร มีบทบาทในการถ่ายทอดความรู้ การจัดตั้งกลุ่มที่มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน
5.2 หน่วยงานของรัฐ มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณและปัจจัยการผลิต และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
5.3 หน่วยงานเอกชน มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
5.4 ผู้ส่งออกสินค้าเกษตรอินทรีย์ มีบทบาทในการช่วยกระจายสินค้าเกษตรอินทรียำปยังต่างประเทศ

(6) สิ่งที่ผู้ใช้ที่ดินชอบหรือไม่ชอบเกี่ยวกับแนวทาง
จุดแข็งของกลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์
1) กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ มีการบูรณาการ ร่วมกันทั้งเกษตรกร ภาครัฐ และเอกชน
2 การดำเนินงานแบบกลุ่มทำให้มีอำนาจต่อรองและ สามารถติดต่อกับตลาดได้โดยตรง
3) การรวมกล่มเรียนรู้ทำให้เกิดมีความรู้ทักษะและประสบการณ์ในด้านเกษตรอินทรีย์ได้ดีขึ้น
4) ความซือสัตย์ของเกษตรกรที่เป็นสมาชิก จะทำให้กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์มีความเข้มแข็ง
5) การถ่ายทอดความรู้ และการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ทำให้เกษตรกรสามารถนำความรู้ไปใช้ในพื้นที่ของตนเองได้อย่างเหมาะสม

2.3 Photos de l'approche

Remarques générales concernant les photos:

-

2.4 Vidéos de l'Approche

Commentaire, brève description:

-

Lieu:

-

Nom du vidéaste:

-

2.5 Pays/ région/ lieux où l'Approche a été appliquée

Pays:

Thaïlande

Région/ Etat/ Province:

กาญจนบุรี

Autres spécifications du lieu :

บ้านหนองเป็ด..ม.4...ต.หนองเป็ด....อ.ศรีสวัสดิ์...จ.กาญจนบุรี

Commentaires:

-

2.6 Dates de début et de fin de l'Approche

Indiquez l'année de démarrage:

2006

Commentaires:

เกษตรกรมีการทำเกษตรอินทรีย์อย่างต่อเนื่อง

2.7 Type d'Approche

  • fondé sur un projet/ programme

2.8 Principaux objectifs de l'Approche

การตั้ง กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์
1.เพื่อ ให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยให้มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันผ่านการจัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย

2. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์และสามารถจัดการสินค้าเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่การผลิตจนถึงการตลาด

2.9 Conditions favorisant ou entravant la mise en œuvre de la(des) Technologie(s) appliquée(s) sous l'Approche

normes et valeurs sociales/ culturelles/ religieuses
  • entrave

คนในสังคมส่วนมากยังเห็นต่างยังทำเกษตรสารเคมีทำให้ยากต่อการป้องกันการปนเปื่อนของสารเคมีจากแปลงรอบข้าง

disponibilité/ accès aux ressources et services financiers
  • favorise

มีหน่วยงานทางการเงินมาให้แหล่งทุนเช่น ธกส.และกองทุนหมู่บ้าน

cadre institutionnel
  • favorise

มีหน่วยงานที่เข้าร่วมสนับสนุนหลายหน่วยงาน ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร สถานีพัฒนาที่ดิน และการไฟฟ้าเขื่อนศรีนครินทร์

collaboration/ coordination des acteurs
  • favorise

หน่วยงานต่างๆร่วมบูรณาการในพื้นที่

cadre juridique (régime foncier, droits d'utilisation des terres et de l'eau)
  • entrave

ยังขาดเอกสารสิธิ์อยู่ในพื้นที่เขตป่าไม้ถาวรทำให้ขาดสิทธิในใช้ประโยชน์ที่ดินด้านต่างๆ

cadre politique
  • favorise

เป็นวาระแห่งชาติ

connaissances sur la GDT, accès aux supports techniques
  • favorise

เกษตรกรสามารถติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ได้สะดวก รวดเร็วมีหน่วยงานสนับสนุน

marchés (pour acheter les intrants, vendre les produits) et prix
  • favorise

เป็นผลผลิตที่เป็นความต้องการของตลาด

autre
  • entrave

ขาดแคลนแรงงานและค่าแรงขั้นต่ำมีราคาสูง

3. Participation et rôles des parties prenantes impliquées dans l'Approche

3.1 Parties prenantes impliquées dans l'Approche et rôles

  • exploitants locaux des terres / communautés locales

เกษตรกรเจ้าของพื้นที่และสมาชิกกล่ม

-

  • enseignants/ élèves/ étudiants

ครู นักเรียน-โรงเรียน มหาวิทยาลัย

-

  • secteur privé

การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

-

  • gouvernement national (planificateurs, décideurs)

หน่วยงานภาครัฐ กพด ,กสก,-กระทรวงพลังงาน กรมพัฒนาชุมชน

-

  • organisation internationale

มีองค์กร FAO เข้ามาเยี่ยมเยียนให้คำปรึกษาและแนะนำ

-

Si plusieurs parties prenantes sont impliquées, indiquez l'organisme chef de file ou l'institution responsable:

-

3.2 Participation des exploitants locaux des terres/ communautés locales aux différentes phases de l'Approche
Participation des exploitants locaux des terres/ communautés locales Spécifiez qui était impliqué et décrivez les activités
initiation/ motivation auto-mobilisation หน่วยงานของรัฐ กสก กพด ให้การสนับสนุนมีการประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารต่างๆ.
planification interactive หน่วยงานของรัฐและเกษตรกร ร่วมกันดำเนินการวางแผนประชุม ตรวจสอบพื้นที่ในขั้นตอนการทำเกษตรอินทรีย์
mise en œuvre interactive เกษตรกรและหน่วยงานภาครัฐ เอกชน
suivi/ évaluation interactive หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน และสมาชิกภายในกล่ม

3.3 Diagramme/ organigramme (si disponible)

Description:

เป็นขั้นตอนต่างๆในการจัดตั้งกล่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เชิญชวนเกษตรกร ที่มีความสนใจและมีความต้องการปรับเปลี่ยนมาจัดตั้งกลุ่ม จัดตั้งคณะกรรมการบริหารกลุ่ม เพื่อดำเนินการขับเคลื่อนกิจกรรมกลุ่ม อบรม สมาชิกในกลุ่มให้มีความรู้ด้านการผลิต และกระบวนการจัดการสินค้าเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำจนถึงปลายน้ำ ให้ได้มาตรฐานการผลิดสินค้าเกษตรอินทรีย์ สร้างกระบวนการถ่ายทอดความรู้ ผ่านการปฏิบัติจริงภายในศูนย์เรียนรู้ การวางแผนและการบริหารจัดการฟาร์มด้วยตนเอง จัดให้มีระบบตรวจสอบภายในกลุ่ม เพื่อรักษามาตรฐานการผลิตตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย มีการศึกษาดูงาน เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยใช้สื่อต่างๆ ได้แก่ แผ่นพับ วิดีโอ youtube การให้สัมภาษณ์ผ่านสื่อโทรทัศน์ และวิทยุส่งเสริมและสนับสนุน จากหน่วยงาน ได้แก่ กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริมการเกษตร กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

Auteur:

-

3.4 Prises de décision pour la sélection de la Technologie/ des Technologies

Indiquez qui a décidé de la sélection de la Technologie/ des Technologies à mettre en œuvre:
  • tous les acteurs concernés dans le cadre d'une approche participative
Expliquez:

-

Spécifiez sur quelle base ont été prises les décisions:
  • expériences et opinions personnelles (non documentées)

4. Soutien technique, renforcement des capacités et gestion des connaissances

4.1 Renforcement des capacités/ formation

Une formation a-t-elle été dispensée aux exploitants des terres/ autres parties prenantes?

Oui

Spécifiez qui a été formé:
  • exploitants des terres
  • นักศึกษา
Si pertinent, spécifiez le genre, l'âge, le statut, l'ethnie, etc.

-

Formats de la formation:
  • entre agriculteurs (d'exploitants à exploitants)
  • cours
Thèmes abordés:

เทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน

Commentaires:

เป็นการให้ความรู้ในเรื่องของการทำเกษตรอินทรีย์อย่างเป็นระบบ

4.2 Service de conseils

Les exploitants des terres ont-ils accès à un service de conseils?

Oui

Spécifiez si le service de conseils est fourni:
  • dans des centres permanents
Décrivez/ commentez:

มีเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวห้องให้คำแนะนำอย่างสม่ำเสมอ

4.3 Renforcement des institutions (développement organisationnel)

Des institutions ont elles été mises en place ou renforcées par le biais de l'Approche?
  • oui, modérément
Spécifiez à quel(s) niveau(x), ces institutions ont été renforcées ou mises en place:
  • local
Décrivez l'institution, ses rôles et responsabilités, ses membres, etc.

-

Précisez le type de soutien:
  • financier
  • renforcement des capacités/ formation
Donnez plus de détails:

กรมพัฒนาที่ดินและไฟฟ้าเขื่อนศรีนครินทร์ให้การสนับสนุนงบประมาณ

4.4 Suivi et évaluation

Le suivi et l'évaluation font ils partie de l'Approche? :

Oui

Commentaires:

มีการติดตามตรวจสอบประเมินผล

Si oui, ce document est-il destiné à être utilisé pour le suivi et l'évaluation?

Oui

4.5 Recherche

La recherche a-t-elle fait partie intégrante de l’Approche?

Non

5. Financement et soutien matériel externe

5.1 Budget annuel de la composante GDT de l'Approche

Si le budget annuel précis n'est pas connu, indiquez une fourchette:
  • > 1 000 000
Commentez (par ex. principales sources de financement/ principaux bailleurs de fonds):

กรมพัฒนาที่ดินและไฟฟ้าฝ่ายผลิต กระทรวงพลังงาน

5.2 Soutiens financiers/ matériels fournis aux exploitants des terres

Les exploitants des terres ont-ils reçu un soutien financier/ matériel pour la mise en œuvre de la Technologie/ des Technologies?

Oui

Si oui, spécifiez le(s) type(s) de soutien, les conditions et les fournisseurs:

อาคาร อุปกรณ์การเกษตร โรงแปรรูป ผลิตภัณฑ์และเครื่องบรรจุภัณฑ์

5.3 Subventions pour des intrants spécifiques (incluant la main d'œuvre)

  • équipement
Spécifiez les intrants subventionnés Dans quelle mesure Spécifiez les subventions
machines entièrement financé 1.อาคารโรงเรือน 500,000บาท 2.โรงแปรรูป 60,000บาท 3.เครื่องบรรจุภัณฑ์ 190,000บาท 4.แผงโซล่าเซลล์ 160,000บาท
outils entièrement financé
  • intrants agricoles
Spécifiez les intrants subventionnés Dans quelle mesure Spécifiez les subventions
semences entièrement financé 1.กรมพัฒนาที่ดินสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ปอเทือง 2,000บาท 2.กรมพัฒนาที่ดินสนับสนุนกล้าหญ้าแฝกจำนวน20000กล้าเป็นเงิน14600บาท 3.กรมพัฒนาที่ดินสนับสนุนปูนโดโลไมท์จำนวน4200กิโลกรัมเป็นเงิน16800บาท
Si la main d'œuvre fournie par les exploitants des terres était un intrant substantiel, elle était:
  • volontaire
Commentaires:

-

5.4 Crédits

Des crédits ont-ils été alloués à travers l'Approche pour les activités de GDT?

Non

5.5 Autres incitations ou instruments

D'autres incitations ou instruments ont-ils été utilisés pour promouvoir la mise en œuvre des Technologies de GDT?

Oui

Si oui, spécifiez:

กรมพัฒนาที่ดินและไฟฟ้าเขื่อนศรีนครินทร์ช่วยส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรอินทรีย์ทั้งวัสดุและอุปกรณ์พร้อมกับภาครัฐมีนโยบายช่วยส่งเสริม

6. Analyses d'impact et conclusions

6.1 Impacts de l'Approche

Est-ce que l'Approche a autonomisé les exploitants locaux des terres, amélioré la participation des parties prenantes?
  • Non
  • Oui, un peu
  • Oui, modérément
  • Oui, beaucoup

เกษตรกรมีการทำการเกษตรอย่างต่อเนื่องและมีรายได้หมุนเวียน

Est-ce que l'Approche a permis la prise de décisions fondées sur des données probantes?
  • Non
  • Oui, un peu
  • Oui, modérément
  • Oui, beaucoup

มีการนำความรู้ต่อยอดและมีรายได้เสริม

Est-ce que l'Approche a aidé les exploitants des terres à mettre en œuvre et entretenir les Technologies de GDT?
  • Non
  • Oui, un peu
  • Oui, modérément
  • Oui, beaucoup

เกษตรกรประยุกต์ใช้เทคโนโลยีต่างๆ

Est-ce que l'Approche a amélioré la coordination et la mise en œuvre de la GDT selon un bon rapport coût-efficacité?
  • Non
  • Oui, un peu
  • Oui, modérément
  • Oui, beaucoup

ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น/ได้แนะนำ/แรงจูงใจและมีหน่วยงานสนับสนุน

Est-ce que l'Approche a amélioré les connaissances et les capacités des exploitants des terres pour mettre en œuvre la GDT?
  • Non
  • Oui, un peu
  • Oui, modérément
  • Oui, beaucoup

ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นทำให้มีประสบการณ์ด้านเกษตรอินทรีย์

Est-ce que l'Approche a amélioré les connaissances et les capacités des autres parties prenantes?
  • Non
  • Oui, un peu
  • Oui, modérément
  • Oui, beaucoup

ได้แนะนำให้เพื่อนบ้านและผู้ใช้เกษตรอินทรีย์ปรับใช้ตาม

Est-ce que l'Approche a construit/ renforcé les institutions, la collaboration entre parties prenantes?
  • Non
  • Oui, un peu
  • Oui, modérément
  • Oui, beaucoup

มีการติดต่อประสานงานและมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน

Est-ce que l'Approche a encouragé les jeunes/ la prochaine génération d'exploitants des terres à s'engager dans la GDT?
  • Non
  • Oui, un peu
  • Oui, modérément
  • Oui, beaucoup

มีการติดต่อประสานงานและมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน

Est-ce que l'Approche a conduit à améliorer la sécurité alimentaire et/ou la nutrition?
  • Non
  • Oui, un peu
  • Oui, modérément
  • Oui, beaucoup

มีการติดต่อประสานงานและมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน

Est-ce que l'Approche a amélioré la capacité des exploitants des terres à s'adapter aux changements/ extrêmes climatiques et a atténué les catastrophes liées au climat?
  • Non
  • Oui, un peu
  • Oui, modérément
  • Oui, beaucoup

ปรับการแก้ปัญหาเรื่องภัยแล้งโดยการขุดบ่อบาดาล

6.2 Principale motivation des exploitants des terres pour mettre en œuvre la GDT

  • augmenter la production

ปลูกพืชหลากหลายและเป็นที่ต้องการของตลาด

  • augmenter la rentabilité/ bénéfice, rapport coûts-bénéfices

ผลผลิตที่ได้ปลอดภัย มีคุณภาพเป็นที่ต้องการของ
ตลาด

  • réduire les risques de catastrophe

ลดการชะล้างพังทลายของดิน

  • conscience environnementale

ทำให้ปลอดภัยจากสารเคมี สิ่งแวดล้อมดีขึ้น

  • améliorer les connaissances et compétences en GDT

มีหน่วยงานหลายหน่วยงานช่วยสนับสนุนและให้ความรู้ทำให้มีทักษะและประสบการณ์มากยิ่งขึ้น

6.3 Durabilité des activités de l'Approche

Les exploitants des terres peuvent-ils poursuivre ce qui a été mis en œuvre par le biais de l'Approche (sans soutien extérieur)?
  • oui
Si oui, décrivez de quelle manière:

ทำให้สามารถปลูกพืชได้ผลผลิตที่ปลอดภัย มีใบรับรองจากภาครัฐ ทำให้สินค้าเป็นที่ต้องการของตลาดและขายรายได้สูง

6.4 Points forts/ avantages de l'Approche

Points forts/ avantages/ possibilités du point de vue de l'exploitant des terres
1) กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ มีการบูรณาการ ร่วมกันทั้งเกษตรกร ภาครัฐ และเอกชน
2 การดำเนินงานแบบกลุ่มทำให้มีอำนาจต่อรองและ สามารถติดต่อกับตลาดได้โดยตรง
3) การรวมกล่มเรียนรู้ทำให้เกิดมีความรู้ทักษะและประสบการณ์ในด้านเกษตรอินทรีย์ได้ดีขึ้น
4) ความซือสัตย์ของเกษตรกรที่เป็นสมาชิก จะทำให้กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์มีความเข้มแข็ง
5) การถ่ายทอดความรู้ และการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ทำให้เกษตรกรสามารถนำความรู้ไปใช้ในพื้นที่ของตนเองได้อย่างเหมาะสม
Points forts/ avantages/ possibilités du point de vue du compilateur ou d'une autre personne ressource clé
1 ทำให้เกิดการวางแผนการใช้ที่ดินอย่างเป็นระบบ
2) ทำให้เกิดสินค้าที่มีมาตรฐานและได้รับการรับรอง จากหน่วยงาน ทำให้สินค้าเป็นที่ต้องการของตลาด
3) การที่รัฐกำหนดให้ เกษตรอินทรีย์ เป็นนโยบายแห่งชาติ ทำให้เป็นที่รู้จักและมีผู้สนใจมากขึ้น
4)มีช่องทางจำหน่ายผลผลิตที่หลากหลาย ทำให้ผู้บริโภคเข้าถึงได้ง่าย
5) ทำให้คนรุ่นใหม่เข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น
6) ทำให้เกิดพฤติกรรมต้องการบริโภคอาหารสุขภาพ มากขึ้น

6.5 Faiblesses/ inconvénients de l'Approche et moyens de les surmonter

Faiblesses/ inconvénients/ risques du point de vue de l’exploitant des terres Comment peuvent-ils être surmontés?
1)หน่วยงานภาครัฐยังขาดประชาสัมพันธ์และให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ให้ภาครัฐมีนโยบายและสนันสนุนอย่างต่อเนื่อง
2ต้องใช้เวลาและความอดทนในการทำเกษตรอินทรีย์ หาเครื่องเมือเครื่องจักรเข้ามาช่วยดำเนินการ
3)พื้นที่ทำการเกษตรอย่าห่างไกลจากตลาดทำให้การขนส่งไม่สะดวกและไกล เพิ่มตลาดในพื้นที่ใกล้เคียงให้มากขึ้น
4)ผู้บริโภคยังขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องผลผลิตจากเกษตรอินทรีย์ ให้หน่วยงานภาครัฐช่วยส่งเสริมอย่างจริงจัง
5)การบรรจุภัณฑ์ยังไม่สวยงานและทันสมัยที่จะดึงดูดผู้บริโภคได้. ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยในการออกแบบและส่งเสริมให้เป็นที่ต้องการของผู้บริโภค
Faiblesses/ inconvénients/ risques du point de vue du compilateur ou d'une autre personne ressource clé Comment peuvent-ils être surmontés?
1)ผลผลิตจากการทำเกษตรอินทรีย์มีปริมาณน้อยกว่าระบบเกษตรใช้สารเคมี รวมกลุ่มสมาชิกผู้สนใจเรื่องเกษตรอินทรีย์เพิ่มผลิตให้มากขึ้นให้หน่วยงานภาครัฐมีการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง

7. Références et liens

7.1 Méthodes/ sources d'information

  • interviews/entretiens avec les exploitants des terres
  • interviews/ entretiens avec les spécialistes/ experts de GDT

-

7.2 Références des publications disponibles

Titre, auteur, année, ISBN:

กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

Disponible à partir d'où? Coût?

http://www.ldd.go.th/www/lek_web/

Titre, auteur, année, ISBN:

กรมวิชาการเกษตร

Disponible à partir d'où? Coût?

http://www.doa.go.th/main/

Titre, auteur, année, ISBN:

กรมส่งเสริมการเกษตร

Disponible à partir d'où? Coût?

www.doae.go.th

7.3 Liens vers les informations pertinentes disponibles en ligne

Titre/ description:

-

URL:

-

Modules