Approaches

ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด จังหวัดจันทบุรี [Thailand]

ศูนย์พัฒนาที่ดินวังโตนด

approaches_4247 - Thailand

Completeness: 97%

1. معلومات عامة

1.2 Contact details of resource persons and institutions involved in the assessment and documentation of the Approach

Key resource person(s)

co-compiler:
ผู้รวบรวม:

ไผผักแว่น นางสาวปาริชาติ

0-3721-0781 / 08-5920-8429

parichat19@hotmail.com / -

สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี

135/1ม. 5 ต.เนินหอม อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี

Thailand

สนับสนุนปจัจัยการผลิต จัดพิมพ์เอกสาเผยแพร่ จัดอบรมและถ่ายทอดองค์ความรู้และสาธิตให้แก่เกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย:

ช่างถม นายเฉลิมชล

0-3932-2158 / 08-1872-9509

c.changthom@gmail.com / -

สำนักงานเกษตรจังหวัดจันทบุรี

1196 ถนนท่าแฉลบ ต. หน้าตลาด อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000

Thailand

land user:

กิ่งมณี นายบุญชัย

08-5217-3509 / -

- / -

เกษตรกร และเป็นหมอดินอาสาประจำหมู่บ้าน

25/2 ม. 7 ต. รำพัน อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี

Thailand

land user:

นางสาวกมลศินี

08-4781-2071 / -

pimg134082@gmail.com / -

เกษตรกร

44 หมู่ม. 4 ตำบล. วังโตนด อำเภอ. นายายอาม จังหวัด. จันทบุรี

Thailand

land user:

เมตตา นายจำรัส

08-7032-4142 / -

- / -

เกษตร

24 หมู่. 4 ตำบล. วังโตนด อำเภอ. นายายอาม จังหวัด. จันทบุรี

Thailand

1.3 Conditions regarding the use of data documented through WOCAT

When were the data compiled (in the field)?

03/10/2018

The compiler and key resource person(s) accept the conditions regarding the use of data documented through WOCAT:

نعم

2. Description of the SLM Approach

2.1 Short description of the Approach

ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด เป็นแหล่งเรียนรู้ การจัดการดินกรด และสร้างเครือข่ายเพื่อผลิตพริกไทยคุณภาพ ของจังหวัดจันทบุรี

2.2 Detailed description of the Approach

Detailed description of the Approach:

(1) อะไรคือลักษณะที่สำคัญหรือคุณลักษณะที่เห็นเด่นชัดของแนวทาง
ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด จังหวัดจันทบุรีเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการดินตื้น ดินกรด ดินเสื่อมโทรม เพื่อผลิตพริกไทยคุณภาพ เกษตรกรเจ้าของศุนย์ฯเป็นผู้มีความรู้และมีความพากภูมิใจในความสำเร็จจากการใช้เทคโนโลยี และมีความพร้อมที่จะถ่ายทอดความรู้นั้นไปสู่ชุมชนข้างเคียง โดยมีแปลงสาธืต ให้เยี่ยมชมดูงาน มีกระบวนการถ่ายทอด และมีความสามารถในการทำหน้าที่เป็นวิทยากรบรรยาย
2) อะไรคือเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของแนวทาง
ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด จังหวัดจันทบุรี มีเป้าหมายในการดำเนินงานเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการดินกรด ในการผลิตพริกไทยคุณภาพ และเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ปลูกพริกไทย
(3) วิธีการใดที่ถูกเอามาใช้
ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ยฯ มีวิธีการดำเนินงานประกอบด้วย
1.Technology Transfe-อบรม ดูงาน แปลงสาธิต นิทรรศการ สื่อสิ่งพิมพ์
2.การสร้างNetworking
3.การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
4.มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ เช่น Seedling ,fresh&Dry Peper products
5.การจัดแสดงผลงานนอกสถานที่ Exhibition
6.มีการนำสนอการวิเคราะห์ทางตลาด
r (4) ขั้นตอนของการเอาไปปฏิบัติใช้มีอันไหนบ้าง
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1 ภาครัฐ โดยหน่วยในพื้นที่ได้แก่ กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พิจารณาคัดเลือก สถานที่และเกษตรกรผุ้ประสบผลสำเร็จในการปลูกพริกไทย เป็นศูนย์เรียนรู้ฯ และให้การสนับสนุนในการดำเนินงาน เช่น ก่อสร้างอาคาร ปัจจัยผลิต เอกสารวิชาการเผยแพร่ ป้ายโฆษณา ค่าตอบแทน การจัดแสดงนอกสถานที่
2.มีการประชาสัมพันธ์ ศูนย์เรียนรู้ฯ ได้แก่ การติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ การออกแสดงแสดงนิทรรศการนอกสถานที่ ถ่ายVDOลงYoutube ออกรายทีวี การเป็นวิทยากร เผยแพร่ผ่านภาครัฐ
3 จัดทำแปลงสาธิต ได้แก่ การปรับปรุงดิน การปลูกพริกไทยคุณภาพ ธนาคารปุ๋ยอินทรีย การป้องกันกำจัศัตรูพืช โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ
4 จัดให้มีการ อบรม ศึกษา ดูงาน เยี่ยมชม โดยหน่วยงานภาครัฐ หรือ เกษตรกรสนใจเข้ามาศึกษาด้วยตนเอง
5.มีการสร้างเครือข่ายผู้ปลูกพริกไทย โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ และเกิดจากกล่มเกษตรกรที่เข้ามาศึกษาดูงานเอง ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเทคโนโลยี การร่วมกันจัดหาปัจจัยผลิต(seedling พริกไทย) ร่วมกันวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการตลาด
6.ภาครัฐให้การสนับสนุนเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับกล่ม/เครือข่ายจากการเรียนรู้ดูงาน เช่น ให้ความรู้ จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ปัจจัยการผลิต พาไปศึกษาดูงาน ส่งเสริมและพัฒนาการผลิคพริกไทย
7 จัดให้มีการจำหน่าย สินค้าและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง เช่น Seedling ผลิตภัณฑ์จากพริกไทย
8.มีการจัดตั้ง ธนาคารปุ๋ยอินทรีย เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มของเกษตรกร ร่วมกันผลิตปุ๋ยอินทรีย์ (ปุ๋ยหมัก ) โดยให้สมาชิกนำวัสดุอินทรีย์ (เช่น วัสดุเหลือใช้จากการเกษตร ซากพืช มูลสัตว์ )มาแลกกับปุ๋ยอินทรีย์ที่กลุ่มผลิต
9.พัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ศูนย์การเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ ด้วยการแสวงหาผู้ให้การสนับสนุน โดยการเสนอโครงการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ เช่น การเสนอโครงการแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ จาก อบจ.


(5) ผู้มีส่วนได้เสียมีผู้ใดที่เกี่ยวข้องและบทบาทของบุคคลเหล่านั้นมีอะไรบ้าง
ในการดำเนินงานของศูนย์เรียนรู้ฯ มีผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่
-เกษตรกรเจ้าของศูนย์ โดยมีบทบาท บริหารจัดการศูนย์ ฯ พัฒนาศูนย์ ถ่ายทอด
-กล่มผู้มาเรียนรู้ ศึกษาดูงาน ได้แก่ เกษตรกรทั่วไป หมอดิน นักเรียน/นักศึกษา
-กล่ม/เครือข่ายผู้ปลูกพริกไทย แลกเปลี่ยนรู้ การจัดการด้านการตลาด ซื้อ-ขาย
-ผุ้มีบทบาทให้การสนับสนุน( งบประมาณ การเผยแพร่ การเวทีเรียนรู้ดูงาน) ได้แก่ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ อบต อบจ สื่อมวลชน

(6) สิ่งที่ผู้ใช้ที่ดินชอบหรือไม่ชอบเกี่ยวกับแนวทาง
ประเด็นที่ เกษตรกร มีชอบในกระบวนของศูนย์เรียนรู้ ได้แก่
- การจัดทำศูนย์เรียนรู้ฯ ทำให้เกิด มีแหล่งเรียนรู้ ดูงาน เพื่อศึกษาหาข้อมูลไปแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพ
-ทำให้เกิดความมั่นคงในอาชีพในกล่มเกษตรกรผู้ปลูกพริกไทย เนื่องจากมีเครือข่ายคอยให้คำแนะนำเช่น ทำให้มีข้อมูลการผลิต ข้อมูลตลาด
- ทำให้เกิดมี่สังสรรค์ recreation ทำให้เกิดความสุขในการที่ได้มีโอกาสพบและแลกเปลี่ยน ซึ่งกันและกัน

2.3 Photos of the Approach

2.4 Videos of the Approach

Comments, short description:

-

Date:

10/05/2016

الموقع:

-

Name of videographer:

กรมพัฒนาที่ดิน

Comments, short description:

-

Date:

03/04/2017

الموقع:

-

Name of videographer:

รักษ์บ้านเกิด Rakbankerd.com

2.5 Country/ region/ locations where the Approach has been applied

بلد:

Thailand

Region/ State/ Province:

จันทบุรี

Further specification of location:

35 หมู่. 4 ตำบล.วังโตนด อำเภอ. นายายอาม จังหวั.ด จันทบุรี

Comments:

คิดเห็น เดิมเป็นพื้นที่ปลูกไม้ผล (เงาะ ทุเรียน) แต่ประสบปัญหาผลผลิตล้นตลาด ราคาตกต่ำ ปรับเปลี่ยนมาปลูกพริกไทย แต่ประสบปัญหาดินและน้ำเป็นกรดจัด ลักษณะดิน คือ ชุดดินชุมพร เป็นดินตื้นปนกรวดลูกรัง ค่าปฏิกิริยาดินเป็นกรดรุนแรงมาก (pH 3.0) และมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ ก่อนปลูกพริกไทย ต้องฟื้นฟูและปรับสภาพความเป็นกรดของดินให้เหมาะสม โดยการใช้ปูนโดโลไมท์ เพื่อยกระดับ pH ของดินให้เพิ่มขึ้น ในทางอ้อมช่วยลดการระบาดของโรครากเน่าโคนเน่าและโรคแอนแทรคโนส การปลูกพริกไทยในดินลักษณะนี้ทำให้รายได้เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากพริกไทยมีราคารับซื้อสูง เมื่อเปรียบกับการปลูกไม้ผล เกษตรกรหลายคนจึงปรับเปลี่ยนมาปลูกพริกไทยตาม และมีการเผยแพร่องค์ความรู้เรื่องการปรับปรุงดินกรดก่อนปลูก จนจัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ เพื่อใช้เป็นจุดศึกษาดูงานและเผยแพร่องค์ความรู้สู่ชุมชน

2.6 Dates of initiation and termination of the Approach

Indicate year of initiation:

2013

If precise year is not known, indicate approximate date when the Approach was initiated:

less than 10 years ago (recently)

Comments:

ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในด้านงบประมาณ ปัจจัยการผลิต สื่อ และเอกสารวิชาการ ตลอดจนส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ปูนโดโลไมท์ เพื่อผลิตพริกไทยคุณภาพ ให้เป็นที่รู้จักของเกษตรกรทั่วไป

2.7 Type of Approach

  • project/ programme based

2.8 Main aims/ objectives of the Approach

ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด จังหวัดจันทบุรี มีเป้าหมายในการดำเนินงานเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการดินกรด ในการผลิตพริกไทยคุณภาพ และเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ปลูกพริกไทย

2.9 Conditions enabling or hindering implementation of the Technology/ Technologies applied under the Approach

social/ cultural/ religious norms and values
  • enabling

ไม่เป็นอุปสรรคต่อการถ่ายทอดองค์ความรู้และการนำเทคโนโลยีไปใช้

availability/ access to financial resources and services
  • enabling

เกษตรกรที่เห็นความสำคัญของปัญหาในเรื่องดินกรด แม้มีงบประมาณน้อย เกษตรกรจะซื้อปูนโดโลไมท์ใช้เอง โดยสถาบันทางการเงินในพื้นที่พร้อมให้การสนับสนุน

institutional setting
  • enabling

สำนักงานเกษตรจังหวัดและเกษตรอำเภอ กรมพัฒนาที่ดิน จัดสรรงบประมาณมาช่วยขับเคลื่อนการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพริกไทย ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัยและยั่งยืน (มีการจัดอบรม ศึกษาดูงานในพื้นที่ที่ประสบความสำเร็จ และ สนับสนุนปัจจัยการผลิต

collaboration/ coordination of actors
  • enabling

หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ จัดทำแผนของบประมาณจากกลุ่มจังหวัด เพื่อช่วยสนับสนุนเกษตรกรผู้ปลูกพริกไทย ที่ประสบปัญหาดินกรดจัด และปัญหาทางการเกษตรอื่น

legal framework (land tenure, land and water use rights)
  • enabling

กฎหมายไม่มีข้อบังคับห้ามการใช้ปูนโดโลไมท์ในพื้นที่เกษตร

policies
  • enabling

เร่งฟื้นฟูทรัพยากรที่ดิน/ทรัพยากรดินเสื่อมโทรม

land governance (decision-making, implementation and enforcement)
  • enabling

ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชให้เหมาะสมกับศักยภาพของดิน

knowledge about SLM, access to technical support
  • enabling

องค์ความรู้ในเรื่องการจัดการดินกรดด้วยปูนโดโลไมท์ มีแพร่หลายและตรวจวัดได้
กรมพัฒนาที่ดิน ให้บริการตรวจวิเคราะห์ดิน สนับสนุนปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรด จัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ และธนาคารปุ๋ยอินทรีย์
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ ของจังหวัดจันทบุรี ร่วมบูรณาการจัดทำโครงการ FTA เพื่อช่วยเหลือ สนับสนุน และส่งเสริมเกษตรกรผู้ปลูกพริกไทยในพื้นที่ดินกรด

markets (to purchase inputs, sell products) and prices
  • enabling

มีตลาดหรือแหล่งรับซื้อผลผลิตพริกไทยได้ราคาสูง เป็นแรงจูงใจให้เกษตรกรหันมาปลูกพริกไทยเพิ่มขึ้น

  • hindering

ปูนโดโลไมท์มีราคาแพง และต้องใช้ตามค่าวิเคราะห์ดินจึงจะเห็นผล

workload, availability of manpower
  • hindering

แรงงานในพื้นที่มีน้อย ส่วนใหญ่เป็นแรงงานผู้สูงอายุ

3. Participation and roles of stakeholders involved

3.1 Stakeholders involved in the Approach and their roles

  • local land users/ local communities

เกษตรกร

เห็นความสำคัญของปัญหาดินกรด ต้องมีการปรับปรุงดินกรดก่อนการปลูกพืช

  • community-based organizations

อบจ และอบต

.เป็นผู้ให้การสนับสนุนการดำเนินงาน งบประมาณ

  • SLM specialists/ agricultural advisers

กรมพัฒนาที่ดิน

ให้บริการตรวจวิเคราะห์ดิน สนับสนุนปูนโดโลไมท์ จัดตั้งเป็นศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน และเชิญเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้แก่หมอดินอาสา และเกษตรกรทั่วไป

  • teachers/ school children/ students

มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี

เชิญคุณภิรมย์ ไปเป็นวิทยากรบรรยายและดำเนินการจัดทำแปลงสาธิตการปรับปรุงดินกรดด้วยปูนมาร์ลในนาข้าว

  • national government (planners, decision-makers)

กรมพัฒนาที่ดิน

คัดเลือกให้เป็นตัวแทนเกษตรกร ร่วมจัดนิทรรศการเกี่ยวกับการใช้ปูนโดโลไมท์ในการผลิตพริกไทยคุณภาพ ในงานประชุมคณะรัฐมนตรีกลุ่มอาเซี่ยน ประจำปี พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมดุสิตธานี พัทยา ทำให้เทคโนโลยีได้รับการเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง

If several stakeholders were involved, indicate lead agency:

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพริกไทยเพื่อลดผลกระทบการเปิดเสรีทางการค้า (FTA) เป็นโครงการร่วมระหว่าง ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี สำนักงานเกษตรจังหวัด และกรมวิชาการเกษตร ดำเนินการ 2 ปี (2557-2558) โดยมีกิจกรรมการศึกษาดูงานในพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จ ฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้ ตรวจ วิเคราะห์ดิน สนับสนุนปัจจัยการผลิต และพันธุ์พืช จัดทำแปลงสาธิต และตรวจสอบมาตรฐาน GAP รวมทั้งจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

3.2 Involvement of local land users/ local communities in the different phases of the Approach
Involvement of local land users/ local communities Specify who was involved and describe activities
initiation/ motivation interactive เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ดำเนินการ +เจ้าหน้าที่รัฐภายในพื้นที่
planning interactive เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ดำเนินการ +เจ้าหน้าที่รัฐภายในพื้นที่
implementation เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ดำเนินการ +เจ้าหน้าที่รัฐภายในพื้นที่
monitoring/ evaluation interactive เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ดำเนินการ +เจ้าหน้าที่รัฐภายในพื้นที่
- -

3.3 Flow chart (if available)

Description:

-

Author:

-

3.4 Decision-making on the selection of SLM Technology/ Technologies

Specify who decided on the selection of the Technology/ Technologies to be implemented:
  • all relevant actors, as part of a participatory approach
Explain:

กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ รู้ปัญหาดินและน้ำเป็นกรดจัด ปลูกพืชไม่ได้ผล ผลผลิตพืชตกต่ำ ได้รับการถ่ายทอดความรู้ในการปรับปรุงดินกรดด้วยปูนโดโลไมท์ จากหน่วยงานภาครัฐ และเกษตรกรเจ้าของเทคโนโลยี

Specify on what basis decisions were made:
  • personal experience and opinions (undocumented)

4. Technical support, capacity building, and knowledge management

4.1 Capacity building/ training

Was training provided to land users/ other stakeholders?

نعم

Specify who was trained:
  • land users
If relevant, specify gender, age, status, ethnicity, etc.

อบรมหรือถ่ายทอดความรู้ ให้แก่ เกษตรกร หมอดินอาสา และผู้สนใจ

Form of training:
  • farmer-to-farmer
  • demonstration areas
  • public meetings
Subjects covered:

การใช้ผลิตภัณฑ์กรมพัฒนาที่ดินในการปรับปรุงบำรุงดิน

Comments:

เป็นการบรรยายถ่ายทอดความรู้ และศึกษาดูงานในพื้นที่จริง ในศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ

4.2 Advisory service

Do land users have access to an advisory service?

نعم

Specify whether advisory service is provided:
  • on land users' fields
  • at permanent centres
Describe/ comments:

เกษตรกรที่สนใจ สามารถเข้ามาศึกษาเรียนรู้ ขอคำแนะนำ จากเกษตรกรเจ้าของเทคโนโลยีได้ ที่ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด อำเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี และสอบถามทางโทรศัพท์ หมายเลข 085-2788035

4.3 Institution strengthening (organizational development)

Have institutions been established or strengthened through the Approach?
  • no

4.4 Monitoring and evaluation

Is monitoring and evaluation part of the Approach?

نعم

Comments:

กรมพัฒนาที่ดิน มีการติดตามประเมินผลการใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะผลการตรวจวิเคราะห์ดิน (ค่า pH)

If yes, is this documentation intended to be used for monitoring and evaluation?

نعم

Comments:

การติดตามผลวิเคราะห์ดินหลังการใช้เทคโนโลยี ทำให้เทคโนโลยีนี้มีความน่าเชื่อถือ และเป็นที่ยอมรับ

4.5 Research

Was research part of the Approach?

لا

5. Financing and external material support

5.1 Annual budget for the SLM component of the Approach

Indicate the annual budget for the SLM component of the Approach in US$:

9753,00

If precise annual budget is not known, indicate range:
  • 2,000-10,000
Comments (e.g. main sources of funding/ major donors):

กรมพัฒนาที่ดินและกรมส่งเสริมการเกษตร สนับสนุนการสร้างอาคารศูนย์ฯ ปัจจัยการผลิต ในการจัดทำแปลงสาธิตแผ่นป้ายเผยแพร่ความสำเร็จ ตลอดจนสนับสนุนการจัดตั้งธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ในพื้นที่

5.2 Financial/ material support provided to land users

Did land users receive financial/ material support for implementing the Technology/ Technologies?

نعم

If yes, specify type(s) of support, conditions, and provider(s):

กรมพัฒนาที่ดิน ถ่ายทอดความรู้ในการปรับปรุงดินกรด สนับสนุนปูนโดโลไมท์และปัจจัยการผลิตอื่นๆ สำนักงานเกษตรจังหวัด/ ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี สนับสนุนปัจจัยการผลิต และถ่ายทอดความรู้ภายใต้โครงการ FTA และ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพริกไทย ในจังหวัดจันทบุรีให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัยและยั่งยืน

5.3 Subsidies for specific inputs (including labour)

  • agricultural
Specify which inputs were subsidised To which extent Specify subsidies
seeds partly financed 13,200
fertilizers partly financed 100,000
ปูนโดโลไมท์ เชื้อจุลินทรีย์ทรีย์สารเร่ง พด.2 กากน้ำตาล และถังหมัก partly financed 22,800
If labour by land users was a substantial input, was it:
  • rewarded with other material support
Comments:

-

5.4 Credit

Was credit provided under the Approach for SLM activities?

لا

5.5 Other incentives or instruments

Were other incentives or instruments used to promote implementation of SLM Technologies?

نعم

If yes, specify:

1การจำหน่ายยอดพริกไทยSeedling แก่สมาชิกเครือข่าย ผู้เรียนรู้ดูงาน
2.ค่าตอบแทนการทำหน้าที่วิทยากร เผยแพร่ความรู้จากภาครัฐ
3.ทำให้เกิดชื่อเสียงแพร่หลาย เป้นที่รู้จัก ทำให้ยิ่งขายผลิตของศูนย์ได้มากขึ้น"
4 การได้รับรางวัลจากผลงานที่ทำ

6. Impact analysis and concluding statements

6.1 Impacts of the Approach

Did the Approach enable evidence-based decision-making?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

เกษตรกรที่ได้รับการถ่ายทอดความรู้ ตระหนักถึงปัญหาดินกรดจัด และเห็นความสำคัญของการแก้ไขปัญหา บางรายจึงลงทุนซื้อปูนโดโลไมท์มาใช้เอง โดยไม่รอภาครัฐสนับสนุน

Did the Approach help land users to implement and maintain SLM Technologies?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

เมื่อนำเทคโนโลยีไปใช้แล้วเกิดผลดี ดินดีขึ้น ช่วยป้องกันโรครากเน่าโคนเน่าในทางอ้อม และผลผลิตพืชดีขึ้น เกษตรกรข้างเคียงจึงนำไปปฏิบัติในพื้นที่ของตนเอง

Did the Approach improve coordination and cost-effective implementation of SLM?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

มีกลุ่มเครื่อข่ายเกษตรกรหลายกลุ่ม ซึ่งมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มผลผลิตพืชของสมาชิกกลุ่ม

Did the Approach improve knowledge and capacities of land users to implement SLM?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเกษตรกรผู้ใช้เทคโนโลยีเอสแอลเอ็ม ศึกษาดูงานในพื้นที่ ตลอดจนภาครัฐจัดฝึกอบรมเพื่อถ่ายทอดความรู้และให้การสนับสนุนการดำเนินงาน

Did the Approach improve knowledge and capacities of other stakeholders?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

การแลกเปลี่ยนความรู้และศึกษาดูงานในพื้นที่ที่ประสบความสำเร็จ

Did the Approach build/ strengthen institutions, collaboration between stakeholders?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

มีกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง

Did the Approach encourage young people/ the next generation of land users to engage in SLM?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

การเผยแพร่ความรู้จากผู้ใช้เทคโนโลยีสู่เกษตรกรแปลงข้างเคียง ทำให้เกษตรกรรุ่นใหม่ ตระหนักถึงปัญหาดินกรดจัด และน้ำเทคโนโลยีเอสแอลเอ็มไปปฏิบัติในพื้นที่ มีการเผยแพร่ความสำเร็จของผู้ใช้เทคโนโลยีเอสแอลเอ็มผ่านสื่อทีวี ยูทูป การจัดนิทรรศการของหน่วยงานภาครัฐ ทำให้เกษตรกร นักเรียน นิสิต นักศึกษาสามารถเข้าถึงความรู้ได้

เทคโนโลยีช่วยฟื้นฟูและปรับปรุงดินกรด เกษตรกรผู้ใช้เทคโนโลยีส่วนใหญ่หันมาใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร ทำให้ได้ผลผลิตอาหารที่ปลอดภัย

Did the Approach improve access to markets?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

ผลผลิตมีคุณภาพ เป็นที่ต้องการของตลาด

Did the Approach lead to employment, income opportunities?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

ช่วงดำเนินการใช้เทคโนโลยี มีการจ้างแรงงานในพื้นที่

6.2 Main motivation of land users to implement SLM

  • increased production

pH ของดินสูงขึ้น ดินดีขึ้น เหมาะสำหรับการปลูกพืช
ทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น การผลิตในพื้นที่จึง
เพิ่มขึ้น

  • increased profit(ability), improved cost-benefit-ratio

ผลผลิตเพิ่มขึ้น ราคาที่สูงขึ้น ทำให้เกษตรกรได้รับ
ผลตอบแทนมากขึ้น

  • reduced land degradation

pH ของดินเพิ่มขึ้น ดินดีขึ้น

  • affiliation to movement/ project/ group/ networks

มีการรวมกลุ่ม และเครืื่อข่ายผู้ปลูกพริกไทย

  • enhanced SLM knowledge and skills

เทคโนโลยีที่ใช้เห็นผลจริง ก่อให้เกิดการเรียนรู้และ
ปฏิบัติใช้อย่างแพร่หลาย

6.3 Sustainability of Approach activities

Can the land users sustain what has been implemented through the Approach (without external support)?
  • yes
If yes, describe how:

เกษตรกรผู้ใช้ที่ดินสามารถดำเนินการได้เองโดยไม่ต้องรอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ

6.4 Strengths/ advantages of the Approach

Strengths/ advantages/ opportunities in the land user’s view
1-มีแหล่งเรียนรู้ ดูงาน เพื่อศึกษาหาข้อมูลไปแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพ
2ทำให้เกิดความมั่นคงในอาชีพในกล่มเกษตรกรผู้ปลูกพริกไทย เนื่องจากมีเครือข่ายคอยให้คำแนะนำเช่น ทำให้มีข้อมูลการผลิต ข้อมูลตลาด
3 ทำให้เกิดมี่สังสรรค์ recreation ทำให้เกิดความสุขในการที่ได้มีโอกาสพบและแลกเปลี่ยน ซึ่งกันและกัน
4.มีการสนับสนุนจากภาครัฐ อย่างต่อเนื่อง
5.ทำให้เกิดช่องทางและโอกาสในการเรียนรู้มากขึ้น
Strengths/ advantages/ opportunities in the compiler’s or other key resource person’s view
1) หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ เห็นความสำคัญของการฟื้นฟูและปรับปรุงดินเสื่อมโทรม และการเพิ่มผลผลิตพืชในพื้นที่ จึงสนับสนุนงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ตลอดจนถ่ายทอดความรู้ ทำให้ชุมชน และกลุ่มเกษตรกรเข้มแข็ง

6.5 Weaknesses/ disadvantages of the Approach and ways of overcoming them

Weaknesses/ disadvantages/ risks in the land user’s view How can they be overcome?
- -
- -
- -
Weaknesses/ disadvantages/ risks in the compiler’s or other key resource person’s view How can they be overcome?
- -
- -
- -

7. References and links

7.1 Methods/ sources of information

  • interviews with land users

5

  • interviews with SLM specialists/ experts

1

7.2 References to available publications

Title, author, year, ISBN:

-

Available from where? Costs?

-

7.3 Links to relevant information which is available online

Title/ description:

-

URL:

-

Links and modules

Expand all Collapse all

Modules