Abordagens

ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด จังหวัดจันทบุรี [Tailândia]

ศูนย์พัฒนาที่ดินวังโตนด

approaches_4247 - Tailândia

Completude: 97%

1. Informação geral

1.2 Detalhes do contato das pessoas capacitadas e instituições envolvidas na avaliação e documentação da abordagem

Pessoa(s) capacitada(s)

co-compiler:
ผู้รวบรวม:

ไผผักแว่น นางสาวปาริชาติ

0-3721-0781 / 08-5920-8429

parichat19@hotmail.com / -

สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี

135/1ม. 5 ต.เนินหอม อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี

Tailândia

สนับสนุนปจัจัยการผลิต จัดพิมพ์เอกสาเผยแพร่ จัดอบรมและถ่ายทอดองค์ความรู้และสาธิตให้แก่เกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย:

ช่างถม นายเฉลิมชล

0-3932-2158 / 08-1872-9509

c.changthom@gmail.com / -

สำนักงานเกษตรจังหวัดจันทบุรี

1196 ถนนท่าแฉลบ ต. หน้าตลาด อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000

Tailândia

usuário de terra:

กิ่งมณี นายบุญชัย

08-5217-3509 / -

- / -

เกษตรกร และเป็นหมอดินอาสาประจำหมู่บ้าน

25/2 ม. 7 ต. รำพัน อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี

Tailândia

usuário de terra:

นางสาวกมลศินี

08-4781-2071 / -

pimg134082@gmail.com / -

เกษตรกร

44 หมู่ม. 4 ตำบล. วังโตนด อำเภอ. นายายอาม จังหวัด. จันทบุรี

Tailândia

usuário de terra:

เมตตา นายจำรัส

08-7032-4142 / -

- / -

เกษตร

24 หมู่. 4 ตำบล. วังโตนด อำเภอ. นายายอาม จังหวัด. จันทบุรี

Tailândia

1.3 Condições em relação ao uso da informação documentada através de WOCAT

Quando os dados foram compilados (no campo)?

03/10/2018

O compilador e a(s) pessoa(s) capacitada(s) aceitam as condições relativas ao uso de dados documentados através do WOCAT:

Sim

2. Descrição da abordagem de GST

2.1 Descrição curta da abordagem

ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด เป็นแหล่งเรียนรู้ การจัดการดินกรด และสร้างเครือข่ายเพื่อผลิตพริกไทยคุณภาพ ของจังหวัดจันทบุรี

2.2 Descrição detalhada da abordagem

Descrição detalhada da abordagem:

(1) อะไรคือลักษณะที่สำคัญหรือคุณลักษณะที่เห็นเด่นชัดของแนวทาง
ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด จังหวัดจันทบุรีเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการดินตื้น ดินกรด ดินเสื่อมโทรม เพื่อผลิตพริกไทยคุณภาพ เกษตรกรเจ้าของศุนย์ฯเป็นผู้มีความรู้และมีความพากภูมิใจในความสำเร็จจากการใช้เทคโนโลยี และมีความพร้อมที่จะถ่ายทอดความรู้นั้นไปสู่ชุมชนข้างเคียง โดยมีแปลงสาธืต ให้เยี่ยมชมดูงาน มีกระบวนการถ่ายทอด และมีความสามารถในการทำหน้าที่เป็นวิทยากรบรรยาย
2) อะไรคือเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของแนวทาง
ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด จังหวัดจันทบุรี มีเป้าหมายในการดำเนินงานเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการดินกรด ในการผลิตพริกไทยคุณภาพ และเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ปลูกพริกไทย
(3) วิธีการใดที่ถูกเอามาใช้
ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ยฯ มีวิธีการดำเนินงานประกอบด้วย
1.Technology Transfe-อบรม ดูงาน แปลงสาธิต นิทรรศการ สื่อสิ่งพิมพ์
2.การสร้างNetworking
3.การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
4.มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ เช่น Seedling ,fresh&Dry Peper products
5.การจัดแสดงผลงานนอกสถานที่ Exhibition
6.มีการนำสนอการวิเคราะห์ทางตลาด
r (4) ขั้นตอนของการเอาไปปฏิบัติใช้มีอันไหนบ้าง
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1 ภาครัฐ โดยหน่วยในพื้นที่ได้แก่ กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พิจารณาคัดเลือก สถานที่และเกษตรกรผุ้ประสบผลสำเร็จในการปลูกพริกไทย เป็นศูนย์เรียนรู้ฯ และให้การสนับสนุนในการดำเนินงาน เช่น ก่อสร้างอาคาร ปัจจัยผลิต เอกสารวิชาการเผยแพร่ ป้ายโฆษณา ค่าตอบแทน การจัดแสดงนอกสถานที่
2.มีการประชาสัมพันธ์ ศูนย์เรียนรู้ฯ ได้แก่ การติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ การออกแสดงแสดงนิทรรศการนอกสถานที่ ถ่ายVDOลงYoutube ออกรายทีวี การเป็นวิทยากร เผยแพร่ผ่านภาครัฐ
3 จัดทำแปลงสาธิต ได้แก่ การปรับปรุงดิน การปลูกพริกไทยคุณภาพ ธนาคารปุ๋ยอินทรีย การป้องกันกำจัศัตรูพืช โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ
4 จัดให้มีการ อบรม ศึกษา ดูงาน เยี่ยมชม โดยหน่วยงานภาครัฐ หรือ เกษตรกรสนใจเข้ามาศึกษาด้วยตนเอง
5.มีการสร้างเครือข่ายผู้ปลูกพริกไทย โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ และเกิดจากกล่มเกษตรกรที่เข้ามาศึกษาดูงานเอง ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเทคโนโลยี การร่วมกันจัดหาปัจจัยผลิต(seedling พริกไทย) ร่วมกันวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการตลาด
6.ภาครัฐให้การสนับสนุนเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับกล่ม/เครือข่ายจากการเรียนรู้ดูงาน เช่น ให้ความรู้ จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ปัจจัยการผลิต พาไปศึกษาดูงาน ส่งเสริมและพัฒนาการผลิคพริกไทย
7 จัดให้มีการจำหน่าย สินค้าและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง เช่น Seedling ผลิตภัณฑ์จากพริกไทย
8.มีการจัดตั้ง ธนาคารปุ๋ยอินทรีย เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มของเกษตรกร ร่วมกันผลิตปุ๋ยอินทรีย์ (ปุ๋ยหมัก ) โดยให้สมาชิกนำวัสดุอินทรีย์ (เช่น วัสดุเหลือใช้จากการเกษตร ซากพืช มูลสัตว์ )มาแลกกับปุ๋ยอินทรีย์ที่กลุ่มผลิต
9.พัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ศูนย์การเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ ด้วยการแสวงหาผู้ให้การสนับสนุน โดยการเสนอโครงการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ เช่น การเสนอโครงการแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ จาก อบจ.


(5) ผู้มีส่วนได้เสียมีผู้ใดที่เกี่ยวข้องและบทบาทของบุคคลเหล่านั้นมีอะไรบ้าง
ในการดำเนินงานของศูนย์เรียนรู้ฯ มีผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่
-เกษตรกรเจ้าของศูนย์ โดยมีบทบาท บริหารจัดการศูนย์ ฯ พัฒนาศูนย์ ถ่ายทอด
-กล่มผู้มาเรียนรู้ ศึกษาดูงาน ได้แก่ เกษตรกรทั่วไป หมอดิน นักเรียน/นักศึกษา
-กล่ม/เครือข่ายผู้ปลูกพริกไทย แลกเปลี่ยนรู้ การจัดการด้านการตลาด ซื้อ-ขาย
-ผุ้มีบทบาทให้การสนับสนุน( งบประมาณ การเผยแพร่ การเวทีเรียนรู้ดูงาน) ได้แก่ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ อบต อบจ สื่อมวลชน

(6) สิ่งที่ผู้ใช้ที่ดินชอบหรือไม่ชอบเกี่ยวกับแนวทาง
ประเด็นที่ เกษตรกร มีชอบในกระบวนของศูนย์เรียนรู้ ได้แก่
- การจัดทำศูนย์เรียนรู้ฯ ทำให้เกิด มีแหล่งเรียนรู้ ดูงาน เพื่อศึกษาหาข้อมูลไปแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพ
-ทำให้เกิดความมั่นคงในอาชีพในกล่มเกษตรกรผู้ปลูกพริกไทย เนื่องจากมีเครือข่ายคอยให้คำแนะนำเช่น ทำให้มีข้อมูลการผลิต ข้อมูลตลาด
- ทำให้เกิดมี่สังสรรค์ recreation ทำให้เกิดความสุขในการที่ได้มีโอกาสพบและแลกเปลี่ยน ซึ่งกันและกัน

2.3 Fotos da abordagem

2.4 Vídeos da abordagem

Comentários, breve descrição:

-

Data:

10/05/2016

Localização:

-

Nome do cinegrafista:

กรมพัฒนาที่ดิน

Comentários, breve descrição:

-

Data:

03/04/2017

Localização:

-

Nome do cinegrafista:

รักษ์บ้านเกิด Rakbankerd.com

2.5 País/região/locais onde a abordagem foi aplicada

País:

Tailândia

Região/Estado/Província:

จันทบุรี

Especificação adicional de localização:

35 หมู่. 4 ตำบล.วังโตนด อำเภอ. นายายอาม จังหวั.ด จันทบุรี

Comentários:

คิดเห็น เดิมเป็นพื้นที่ปลูกไม้ผล (เงาะ ทุเรียน) แต่ประสบปัญหาผลผลิตล้นตลาด ราคาตกต่ำ ปรับเปลี่ยนมาปลูกพริกไทย แต่ประสบปัญหาดินและน้ำเป็นกรดจัด ลักษณะดิน คือ ชุดดินชุมพร เป็นดินตื้นปนกรวดลูกรัง ค่าปฏิกิริยาดินเป็นกรดรุนแรงมาก (pH 3.0) และมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ ก่อนปลูกพริกไทย ต้องฟื้นฟูและปรับสภาพความเป็นกรดของดินให้เหมาะสม โดยการใช้ปูนโดโลไมท์ เพื่อยกระดับ pH ของดินให้เพิ่มขึ้น ในทางอ้อมช่วยลดการระบาดของโรครากเน่าโคนเน่าและโรคแอนแทรคโนส การปลูกพริกไทยในดินลักษณะนี้ทำให้รายได้เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากพริกไทยมีราคารับซื้อสูง เมื่อเปรียบกับการปลูกไม้ผล เกษตรกรหลายคนจึงปรับเปลี่ยนมาปลูกพริกไทยตาม และมีการเผยแพร่องค์ความรู้เรื่องการปรับปรุงดินกรดก่อนปลูก จนจัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ เพื่อใช้เป็นจุดศึกษาดูงานและเผยแพร่องค์ความรู้สู่ชุมชน

2.6 Datas de início e término da abordagem

Indique o ano de início:

2013

Caso o ano exato seja desconhecido, indique a data aproximada de início da abordagem:

menos de 10 anos atrás (recentemente)

Comentários:

ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในด้านงบประมาณ ปัจจัยการผลิต สื่อ และเอกสารวิชาการ ตลอดจนส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ปูนโดโลไมท์ เพื่อผลิตพริกไทยคุณภาพ ให้เป็นที่รู้จักของเกษตรกรทั่วไป

2.7 Tipo de abordagem

  • Baseado em projeto/programa

2.8 Principais metas/objetivos da abordagem

ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด จังหวัดจันทบุรี มีเป้าหมายในการดำเนินงานเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการดินกรด ในการผลิตพริกไทยคุณภาพ และเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ปลูกพริกไทย

2.9 Condição que propiciam ou inibem a implementação de tecnologia/tecnologias aplicada(s) segundo a abordagem

Normas e valores sociais/culturais/religiosos
  • Propício

ไม่เป็นอุปสรรคต่อการถ่ายทอดองค์ความรู้และการนำเทคโนโลยีไปใช้

Disponibilidade/acesso a recursos e serviços financeiros
  • Propício

เกษตรกรที่เห็นความสำคัญของปัญหาในเรื่องดินกรด แม้มีงบประมาณน้อย เกษตรกรจะซื้อปูนโดโลไมท์ใช้เอง โดยสถาบันทางการเงินในพื้นที่พร้อมให้การสนับสนุน

Quadro institucional
  • Propício

สำนักงานเกษตรจังหวัดและเกษตรอำเภอ กรมพัฒนาที่ดิน จัดสรรงบประมาณมาช่วยขับเคลื่อนการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพริกไทย ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัยและยั่งยืน (มีการจัดอบรม ศึกษาดูงานในพื้นที่ที่ประสบความสำเร็จ และ สนับสนุนปัจจัยการผลิต

Colaboração/coordenção de atores
  • Propício

หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ จัดทำแผนของบประมาณจากกลุ่มจังหวัด เพื่อช่วยสนับสนุนเกษตรกรผู้ปลูกพริกไทย ที่ประสบปัญหาดินกรดจัด และปัญหาทางการเกษตรอื่น

Quadro jurídico (posse de terra, direitos de uso da terra e da água)
  • Propício

กฎหมายไม่มีข้อบังคับห้ามการใช้ปูนโดโลไมท์ในพื้นที่เกษตร

Políticas
  • Propício

เร่งฟื้นฟูทรัพยากรที่ดิน/ทรัพยากรดินเสื่อมโทรม

Governança da terra (tomada de decisões, implementação e aplicação)
  • Propício

ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชให้เหมาะสมกับศักยภาพของดิน

Conhecimento sobre GST, acesso a suporte técnico
  • Propício

องค์ความรู้ในเรื่องการจัดการดินกรดด้วยปูนโดโลไมท์ มีแพร่หลายและตรวจวัดได้
กรมพัฒนาที่ดิน ให้บริการตรวจวิเคราะห์ดิน สนับสนุนปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรด จัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ และธนาคารปุ๋ยอินทรีย์
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ ของจังหวัดจันทบุรี ร่วมบูรณาการจัดทำโครงการ FTA เพื่อช่วยเหลือ สนับสนุน และส่งเสริมเกษตรกรผู้ปลูกพริกไทยในพื้นที่ดินกรด

Mercados (para comprar entradas, vender produtos) e preços
  • Propício

มีตลาดหรือแหล่งรับซื้อผลผลิตพริกไทยได้ราคาสูง เป็นแรงจูงใจให้เกษตรกรหันมาปลูกพริกไทยเพิ่มขึ้น

  • Inibitivo

ปูนโดโลไมท์มีราคาแพง และต้องใช้ตามค่าวิเคราะห์ดินจึงจะเห็นผล

Carga de trabalho, disponibilidade de força de trabalho
  • Inibitivo

แรงงานในพื้นที่มีน้อย ส่วนใหญ่เป็นแรงงานผู้สูงอายุ

3. Participação e papel das partes interessadas envolvidas

3.1 Partes interessadas envolvidas na abordagem e seus papéis

  • Usuários de terra/comunidades locais

เกษตรกร

เห็นความสำคัญของปัญหาดินกรด ต้องมีการปรับปรุงดินกรดก่อนการปลูกพืช

  • Organizações comunitárias

อบจ และอบต

.เป็นผู้ให้การสนับสนุนการดำเนินงาน งบประมาณ

  • Especialistas em GST/ consultor agrícola

กรมพัฒนาที่ดิน

ให้บริการตรวจวิเคราะห์ดิน สนับสนุนปูนโดโลไมท์ จัดตั้งเป็นศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน และเชิญเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้แก่หมอดินอาสา และเกษตรกรทั่วไป

  • Professores/alunos/estudantes

มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี

เชิญคุณภิรมย์ ไปเป็นวิทยากรบรรยายและดำเนินการจัดทำแปลงสาธิตการปรับปรุงดินกรดด้วยปูนมาร์ลในนาข้าว

  • Governo nacional (planejadores, responsáveis pelas decisões)

กรมพัฒนาที่ดิน

คัดเลือกให้เป็นตัวแทนเกษตรกร ร่วมจัดนิทรรศการเกี่ยวกับการใช้ปูนโดโลไมท์ในการผลิตพริกไทยคุณภาพ ในงานประชุมคณะรัฐมนตรีกลุ่มอาเซี่ยน ประจำปี พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมดุสิตธานี พัทยา ทำให้เทคโนโลยีได้รับการเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง

Caso várias partes interessadas foram envolvidas, indique a agência líder:

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพริกไทยเพื่อลดผลกระทบการเปิดเสรีทางการค้า (FTA) เป็นโครงการร่วมระหว่าง ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี สำนักงานเกษตรจังหวัด และกรมวิชาการเกษตร ดำเนินการ 2 ปี (2557-2558) โดยมีกิจกรรมการศึกษาดูงานในพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จ ฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้ ตรวจ วิเคราะห์ดิน สนับสนุนปัจจัยการผลิต และพันธุ์พืช จัดทำแปลงสาธิต และตรวจสอบมาตรฐาน GAP รวมทั้งจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

3.2 Envolvimento do usuários de terra/comunidades locais nas diferentes fases da abordagem
Envolvimento do usuários de terra/comunidades locais Especifique quem estava envolvido e descreva as atividades
Iniciação/motivação Participativo เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ดำเนินการ +เจ้าหน้าที่รัฐภายในพื้นที่
Planejamento Participativo เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ดำเนินการ +เจ้าหน้าที่รัฐภายในพื้นที่
Implementação เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ดำเนินการ +เจ้าหน้าที่รัฐภายในพื้นที่
Monitoramento/avaliação Participativo เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ดำเนินการ +เจ้าหน้าที่รัฐภายในพื้นที่
- -

3.3 Fluxograma (se disponível)

Descrição:

-

Autor:

-

3.4 Decisão sobre a seleção de tecnologia/tecnologias de GST

Especifique quem decidiu sobre a seleção de tecnologia/tecnologias a serem implementadas:
  • todos os atores relevantes, como parte de uma abordagem participativa
Explique:

กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ รู้ปัญหาดินและน้ำเป็นกรดจัด ปลูกพืชไม่ได้ผล ผลผลิตพืชตกต่ำ ได้รับการถ่ายทอดความรู้ในการปรับปรุงดินกรดด้วยปูนโดโลไมท์ จากหน่วยงานภาครัฐ และเกษตรกรเจ้าของเทคโนโลยี

Especifique em que base foram tomadas as decisões:
  • Experiência pessoal e opiniões (não documentado)

4. Suporte técnico, reforço das capacidades e gestão do conhecimento

4.1 Reforço das capacidades/formação

Foi oferecida formação aos usuários da terra/outras partes interessadas?

Sim

Especifique quem foi capacitado:
  • Usuários de terra
Caso seja relevante, especifique gênero, idade, status, etnia, etc.

อบรมหรือถ่ายทอดความรู้ ให้แก่ เกษตรกร หมอดินอาสา และผู้สนใจ

Tipo de formação:
  • Agricultor para agricultor
  • Áreas de demonstração
  • Reuniões públicas
Assuntos abordados:

การใช้ผลิตภัณฑ์กรมพัฒนาที่ดินในการปรับปรุงบำรุงดิน

Comentários:

เป็นการบรรยายถ่ายทอดความรู้ และศึกษาดูงานในพื้นที่จริง ในศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ

4.2 Serviço de consultoria

Os usuários de terra têm acesso a um serviço de consultoria?

Sim

Especifique se foi oferecido serviço de consultoria:
  • nas áreas dos usuários da terra
  • Em centros permanentes
Descreva/comentários:

เกษตรกรที่สนใจ สามารถเข้ามาศึกษาเรียนรู้ ขอคำแนะนำ จากเกษตรกรเจ้าของเทคโนโลยีได้ ที่ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด อำเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี และสอบถามทางโทรศัพท์ หมายเลข 085-2788035

4.3 Fortalecimento da instituição (desenvolvimento organizacional)

As instituições foram fortalecidas ou estabelecidas através da abordagem?
  • Não

4.4 Monitoramento e avaliação

Monitoramento e avaliação são partes da abordagem?

Sim

Comentários:

กรมพัฒนาที่ดิน มีการติดตามประเมินผลการใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะผลการตรวจวิเคราะห์ดิน (ค่า pH)

Caso afirmativo, esta documentação é destinada a ser utilizada para monitoramento e avaliação?

Sim

Comentários:

การติดตามผลวิเคราะห์ดินหลังการใช้เทคโนโลยี ทำให้เทคโนโลยีนี้มีความน่าเชื่อถือ และเป็นที่ยอมรับ

4.5 Pesquisa

A pesquisa foi parte da abordagem?

Não

5. Financiamento e apoio material externo

5.1 Orçamento anual para o componente de GST da abordagem

Indique o orçamento anual para o componente de GST da abordagem em US$:

9753,00

Caso o orçamento exato seja desconhecido, indique a faixa:
  • 2.000-10.000
Comentários (p. ex. principais fontes de recursos/principais doadores):

กรมพัฒนาที่ดินและกรมส่งเสริมการเกษตร สนับสนุนการสร้างอาคารศูนย์ฯ ปัจจัยการผลิต ในการจัดทำแปลงสาธิตแผ่นป้ายเผยแพร่ความสำเร็จ ตลอดจนสนับสนุนการจัดตั้งธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ในพื้นที่

5.2 Apoio financeiro/material concedido aos usuários da terra

Os usuários da terra receberam apoio financeiro/material para a implementação de tecnologia/tecnologias?

Sim

Caso afirmativo, especifique tipo(s) de apoio, condições e fornecedor(es):

กรมพัฒนาที่ดิน ถ่ายทอดความรู้ในการปรับปรุงดินกรด สนับสนุนปูนโดโลไมท์และปัจจัยการผลิตอื่นๆ สำนักงานเกษตรจังหวัด/ ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี สนับสนุนปัจจัยการผลิต และถ่ายทอดความรู้ภายใต้โครงการ FTA และ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพริกไทย ในจังหวัดจันทบุรีให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัยและยั่งยืน

5.3 Subsídios para entradas específicas (incluindo mão-de-obra)

  • Agrícola
Especifique quais entradas foram subsidiadas Em que medida Especifique os subsídios
Sementes Parcialmente financiado 13,200
Fertilizantes Parcialmente financiado 100,000
ปูนโดโลไมท์ เชื้อจุลินทรีย์ทรีย์สารเร่ง พด.2 กากน้ำตาล และถังหมัก Parcialmente financiado 22,800
Se a mão-de-obra pelos usuários da terra foi uma entrada substancial, isso foi:
  • Recompensado com outras formas de apoio material
Comentários:

-

5.4 Crédito

Foi concedido crédito segundo a abordagem para atividades de GST?

Não

5.5 Outros incentivos ou instrumentos

Foram utilizados outros incentivos ou instrumentos para promover a implementação das tecnologias de GST?

Sim

Caso afirmativo, especifique:

1การจำหน่ายยอดพริกไทยSeedling แก่สมาชิกเครือข่าย ผู้เรียนรู้ดูงาน
2.ค่าตอบแทนการทำหน้าที่วิทยากร เผยแพร่ความรู้จากภาครัฐ
3.ทำให้เกิดชื่อเสียงแพร่หลาย เป้นที่รู้จัก ทำให้ยิ่งขายผลิตของศูนย์ได้มากขึ้น"
4 การได้รับรางวัลจากผลงานที่ทำ

6. Análise de impactos e declarações finais

6.1 Impactos da abordagem

A abordagem propiciou a tomada de decisão baseada em evidências?
  • Não
  • Sim, pouco
  • Sim, moderadamente
  • Sim, significativamente

เกษตรกรที่ได้รับการถ่ายทอดความรู้ ตระหนักถึงปัญหาดินกรดจัด และเห็นความสำคัญของการแก้ไขปัญหา บางรายจึงลงทุนซื้อปูนโดโลไมท์มาใช้เอง โดยไม่รอภาครัฐสนับสนุน

A abordagem auxiliou os usuários da terra a implementar e manter as tecnologias de GST?
  • Não
  • Sim, pouco
  • Sim, moderadamente
  • Sim, significativamente

เมื่อนำเทคโนโลยีไปใช้แล้วเกิดผลดี ดินดีขึ้น ช่วยป้องกันโรครากเน่าโคนเน่าในทางอ้อม และผลผลิตพืชดีขึ้น เกษตรกรข้างเคียงจึงนำไปปฏิบัติในพื้นที่ของตนเอง

A abordagem melhorou a coordenação e a implementação economicamente eficiente da GST?
  • Não
  • Sim, pouco
  • Sim, moderadamente
  • Sim, significativamente

มีกลุ่มเครื่อข่ายเกษตรกรหลายกลุ่ม ซึ่งมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มผลผลิตพืชของสมาชิกกลุ่ม

A abordagem aprimorou o conhecimento e as capacidades dos usuários da terra para implementar a GST?
  • Não
  • Sim, pouco
  • Sim, moderadamente
  • Sim, significativamente

มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเกษตรกรผู้ใช้เทคโนโลยีเอสแอลเอ็ม ศึกษาดูงานในพื้นที่ ตลอดจนภาครัฐจัดฝึกอบรมเพื่อถ่ายทอดความรู้และให้การสนับสนุนการดำเนินงาน

A abordagem aprimorou o conhecimento e as capacidades de outras partes interessadas?
  • Não
  • Sim, pouco
  • Sim, moderadamente
  • Sim, significativamente

การแลกเปลี่ยนความรู้และศึกษาดูงานในพื้นที่ที่ประสบความสำเร็จ

A abordagem construiu/fortaleceu instituições, colaboração entre partes interessadas?
  • Não
  • Sim, pouco
  • Sim, moderadamente
  • Sim, significativamente

มีกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง

A abordagem encorajou os jovens/as próximas gerações de usuários de terra a se envolverem na GST?
  • Não
  • Sim, pouco
  • Sim, moderadamente
  • Sim, significativamente

การเผยแพร่ความรู้จากผู้ใช้เทคโนโลยีสู่เกษตรกรแปลงข้างเคียง ทำให้เกษตรกรรุ่นใหม่ ตระหนักถึงปัญหาดินกรดจัด และน้ำเทคโนโลยีเอสแอลเอ็มไปปฏิบัติในพื้นที่ มีการเผยแพร่ความสำเร็จของผู้ใช้เทคโนโลยีเอสแอลเอ็มผ่านสื่อทีวี ยูทูป การจัดนิทรรศการของหน่วยงานภาครัฐ ทำให้เกษตรกร นักเรียน นิสิต นักศึกษาสามารถเข้าถึงความรู้ได้

เทคโนโลยีช่วยฟื้นฟูและปรับปรุงดินกรด เกษตรกรผู้ใช้เทคโนโลยีส่วนใหญ่หันมาใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร ทำให้ได้ผลผลิตอาหารที่ปลอดภัย

A abordagem melhorou o acesso aos mercados?
  • Não
  • Sim, pouco
  • Sim, moderadamente
  • Sim, significativamente

ผลผลิตมีคุณภาพ เป็นที่ต้องการของตลาด

A abordagem resultou em emprego, oportunidades de renda?
  • Não
  • Sim, pouco
  • Sim, moderadamente
  • Sim, significativamente

ช่วงดำเนินการใช้เทคโนโลยี มีการจ้างแรงงานในพื้นที่

6.2 Principal motivação dos usuários da terra para implementar a GST

  • Produção aumentada

pH ของดินสูงขึ้น ดินดีขึ้น เหมาะสำหรับการปลูกพืช
ทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น การผลิตในพื้นที่จึง
เพิ่มขึ้น

  • Lucro (lucrabilidade) aumentado, melhora da relação custo-benefício

ผลผลิตเพิ่มขึ้น ราคาที่สูงขึ้น ทำให้เกษตรกรได้รับ
ผลตอบแทนมากขึ้น

  • Degradação do solo reduzida

pH ของดินเพิ่มขึ้น ดินดีขึ้น

  • Afiliação a movimento/projeto/grupo/rede

มีการรวมกลุ่ม และเครืื่อข่ายผู้ปลูกพริกไทย

  • melhoria dos conhecimentos e aptidões de GST

เทคโนโลยีที่ใช้เห็นผลจริง ก่อให้เกิดการเรียนรู้และ
ปฏิบัติใช้อย่างแพร่หลาย

6.3 Atividades de sustentabilidade de abordagem

Os usuários da terra podem manter o que foi implementado através da abordagem (sem apoio externo)?
  • Sim
Caso afirmativo, descreva como:

เกษตรกรผู้ใช้ที่ดินสามารถดำเนินการได้เองโดยไม่ต้องรอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ

6.4 Pontos fortes/vantagens da abordagem

Pontos fortes/vantagens/oportunidades na visão do usuário da terra
1-มีแหล่งเรียนรู้ ดูงาน เพื่อศึกษาหาข้อมูลไปแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพ
2ทำให้เกิดความมั่นคงในอาชีพในกล่มเกษตรกรผู้ปลูกพริกไทย เนื่องจากมีเครือข่ายคอยให้คำแนะนำเช่น ทำให้มีข้อมูลการผลิต ข้อมูลตลาด
3 ทำให้เกิดมี่สังสรรค์ recreation ทำให้เกิดความสุขในการที่ได้มีโอกาสพบและแลกเปลี่ยน ซึ่งกันและกัน
4.มีการสนับสนุนจากภาครัฐ อย่างต่อเนื่อง
5.ทำให้เกิดช่องทางและโอกาสในการเรียนรู้มากขึ้น
Pontos fortes/vantagens/oportunidades na visão do compilador ou de outra pessoa capacitada
1) หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ เห็นความสำคัญของการฟื้นฟูและปรับปรุงดินเสื่อมโทรม และการเพิ่มผลผลิตพืชในพื้นที่ จึงสนับสนุนงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ตลอดจนถ่ายทอดความรู้ ทำให้ชุมชน และกลุ่มเกษตรกรเข้มแข็ง

6.5 Pontos fracos, desvantagens da tecnologia e formas de superá-los

Pontos fracos/desvantagens/riscos na visão do usuário da terra Como eles podem ser superados?
- -
- -
- -
Pontos fracos/vantagens/riscos na visão do compilador ou de outra pessoa capacitada Como eles podem ser superados?
- -
- -
- -

7. Referências e links

7.1 Métodos/fontes de informação

  • entrevistas com usuários de terras

5

  • entrevistas com especialistas em GST

1

7.2 Referências às publicações disponíveis

Título, autor, ano, ISBN:

-

Disponível de onde? Custos?

-

7.3 Links para informação relevante que está disponível online

Título/ descrição:

-

URL:

-

Módulos