แนวทางการปลูกผักอินทรีย์ บ้านเมืองอาง สู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์สากล [ໄທ]
- ການສ້າງ:
- ປັບປູງ:
- ຜູ້ສັງລວມຂໍ້ມູນ: Pitayakon Limtong
- ບັນນາທິການ: –
- ຜູ້ທົບທວນຄືນ: Rima Mekdaschi Studer, William Critchley
-
approaches_4308 - ໄທ
ເບິ່ງພາກສ່ວນ
ຂະຫຍາຍທັງໝົດ ຍຸບທັງໝົດ1. ຂໍ້ມູນທົ່ວໄປ
1.2 ລາຍລະອຽດ ການຕິດຕໍ່ ຂອງບຸກຄົນທີ່ຊັບພະຍາກອນ ແລະ ສະຖາບັນ ການມີສ່ວນຮ່ວມ ໃນການປະເມີນຜົນ ແລະ ເອກະສານ ຂອງວິທີທາງ
ບຸກຄົນສຳຄັນ (ຫຼາຍຄົນ)
co-compiler:
วัฒนประพัฒน์ นางสาวกมลาภา
1760 ต่อ 5114 / 0836553915
kamalapa_w@hotmail.com
กรมพัฒนาที่ดิน
เลขที่ 2003/61 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ
ໄທ
ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ:
พจนบัณฑิต นายวัชรินทร์
085-7238510
-
98 หมู่ 9…ตำบล บ้านหลวง
ໄທ
เจ้าหน้าที่ส่งเสริม:
คีรีภูวดล นายบุญตรี
081-1639230
สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์
175 หมู่ที่1 ต.วังหามแห
ໄທ
1.3 ເງື່ອນໄຂ ຂອງການນໍາໃຊ້ເອກກະສານຂໍ້ມູນ ຂອງ WOCAT
ເມື່ອໃດທີ່ໄດ້ສັງລວມຂໍ້ມູນ (ຢູ່ພາກສະໜາມ)?
13/09/2018
ຜູ້ສັງລວມ ແລະ ບັນດາຜູ້ຕອບແບບສອບຖາມ ຍອມຮັບໃນເງື່ອນໄຂ ການນໍາໃຊ້ຂໍ້ມູນເອກະສານ ທີ່ສ້າງຂື້ນ ໂດຍຜ່ານ ອົງການ WOCAT:
ແມ່ນ
2. ພັນລະນາ ແນວທາງການຄຸ້ມຄອງນໍາໃຊ້ດິນແບບຍືນຍົງ
2.1 ການອະທິບາຍ ໂດຍຫຍໍ້ ຂອງວິທີທາງ
การปลูกผักอินทรีย์ เป็นการบูรณาการของหลายหน่วยงานเข้ามาช่วยเหลือในการอบรมให้ความรู้ ทำวิจัยและสาธิต และสนับสนุนปัจจัยการผลิต กลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็งและมุ่งมั่น การปรับเปลี่ยนการทำเกษตรหมุนเวียนมาเป็นเกษตรอินทรีย์ ที่สร้างรายได้ตลอดปี ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์การทำเกษตรอินทรีย์อย่างเคร่งครัด
2.2 ການອະທິບາຍ ລາຍລະອຽດ ຂອງວິທີທາງ
ການອະທິບາຍ ລາຍລະອຽດ ຂອງວິທີທາງ:
กิจกรรมการปลูกผักอินทรีย์ บ้านเมืองอาง ตั้งอยู่ในเขตตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อน พื้นที่อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ วิถีชีวิตในอดีตของชาวปกาเกอะญอคือมีการทำไร่หมุนเวียน เปลี่ยนระบบการผลิตจากการพึ่งพาตนเองไปสู่การผลิตแบบเชิงเดี่ยว ทำให้พื้นที่ป่าไม้ลดลงไปเรื่อยๆ ชาวบ้านมีรายได้ดีแต่กลับมีหนี้สิน ผู้นำในพื้นที่ช่วยคิดและแก้ไขปัญหาด้วยการปรับเปลี่ยนระบบผลิตเพื่อการค้าเป็นการผลิตแบบพอเพียง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในรูปแบบของเกษตรอินทรีย์
เกษตรอินทรีย์ (Organic Agriculture) คือ ระบบการจัดการด้านการเกษตรแบบองค์รวม ที่เกื้อหนุนต่อระบบนิเวศน์, วงจรชีวภาพ และความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเน้นการใช้วัสดุธรรมชาติ หลีกเลี่ยงวัตถุดิบที่ได้จากการสังเคราะห์ และไม่ใช้พืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ที่ได้มาจากการดัดแปลงพันธุกรรม(Genetic Modification) หรือ พันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering) มีการจัดการกับผลิตภัณฑ์ โดยเน้นการแปรรูปด้วยความระมัดระวัง เพื่อรักษาสภาพการเป็นเกษตรอินทรีย์ และคุณภาพที่สำคัญของผลิตภัณฑ์ในทุกขั้นตอน หลักการที่สำคัญที่นำมาใช้มี ดังนี้ 1) พัฒนาระบบการผลิตไปสู่แนวทางเกษตรผสมผสานที่มีความหลากหลายของพืชและสัตว์ 2) พัฒนาระบบการผลิตที่พึ่งพาตนเองในเรื่องของอินทรียวัตถุและธาตุอาหารภายในฟาร์ม 3) ฟื้นฟูและรักษาความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติโดยใช้ทรัพยากรในฟาร์มมาหมุนเวียนใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 4) รักษาความสมดุลของระบบนิเวศน์ในฟาร์มและความยั่งยืนของระบบนิเวศน์โดยรวม 5) ป้องกันและหลีกเลี่ยงการปฏิบัติที่ทำให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม 6) สนับสนุนระบบการผลิตและกระบวนการจัดการทุกขั้นตอนที่คำนึงถึงหลักมนุษยธรรม 7) ยึดหลักการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวและการแปรรูปที่เป็นวิธีการธรรมชาติ ประหยัดพลังงาน และส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1. เกษตรกรรวมกลุ่มจัดตั้งกลุ่มผู้ผลิตผักอินทรีย์ รับสมัครสมาชิก โดยสมาชิกต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบของกลุ่ม ต้องเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ กรณีละเมิดจะมีบทลงโทษ การจัดตั้งกลุ่มเพื่อหาเงินสนับสนุนในลงทุนทำเกษตรอินทรีย์ให้กับสมาชิก และเป็นแหล่งผลิตที่ใหญ่สามารถต่อรองราคาหรือหาตลาดได้ง่าย
2. สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์และศูนย์ส่งเสริมการเกษตรที่สูงอินทนนท์ จัดอบรมความรู้การทำเกษตรอินทรีย์ทุกปี ปีละอย่างน้อย 1 ครั้ง และพากลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตผักอินทรีย์ ไปเรียนรู้ดูงานในสถานที่ที่ประสบความสำเร็จ
3. การคัดเลือกพื้นที่ และปลูกสร้างโรงเรือน โดยผู้นำและเกษตรกรในพื้นที่คัดเลือก จัดสรร เน้นการปลูกเพื่อพอเพียงไม่เน้นการค้า จึงมีระเบียบกติกาว่า สมาชิกแต่ละคนมีโรงเรือนได้ไม่เกิน 3 โรงเรือน โดยเฉลี่ยสมาชิกจึงมีรายละ 2 โรงเรือน ขนาดของโรงเรือน กว้าง 6 เมตร ยาว 30 เมตร สูงประมาณ 3-5 เมตร (180 ตารางเมตรต่อโรงเรือน)
4. วางแผนการผลิตผักอินทรีย์ สมาชิกประชุมหารือกับเจ้าหน้าที่สถานีเกษตรหลวง อินทนนท์ วางแผนการผลิตผักอินทรีย์ตามกำหนดการที่ตลาดรับซื้อต้องการและกำหนดบทลงโทษกรณีสมาชิกไม่ปฏิบัติตามแผน
5. การจัดหาปัจจัยการผลิต มีทั้งได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานและเกษตรกรซื้อเอง แต่ทุกปัจจัยที่จะนำมาใช้ผลิตต้องเป็นอินทรีย์และมาจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ และเกษตรกรต้องเก็บหลักฐานทุกชิ้นเพื่อให้หน่วยงานที่มาตรวจรับรองมาตรฐาน สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ถึงต้นทาง
6. ปลูกพืชอินทรีย์ เกษตรกรต้องปฏิบัติตามปฏิทินการปลูกพืชที่ร่วมกันทำอย่างเคร่งครัด และจดบันทึกกิจกรรมทุกขั้นตอน
7. การดูแลรักษาแปลงผลิตพืชอินทรีย์ เกษตรกรสมาชิกกลุ่มฯ มีหน้าที่จดบันทึกและควบคุมดูแลกำกับเรื่องห้ามใช้สารเคมีของสมาชิกกลุ่มฯ หากมีการละเมิดจะถูกลงโทษ และตัดจากการเป็นสมาชิก เจ้าหน้าที่สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์และกรมส่งเสริมการเกษตร มีหน้าที่ติดตามให้คำแนะนำการใช้สารชีวภัณฑ์ สารไล่แมลง ตัวห้ำตัวเบียนฯลฯ ในการควบคุมกำจัดกรณีมีโรคและแมลงในแปลง กรมวิชาการและมกท.ทำหน้าที่ ติดตาม ตรวจสอบกระบวนการผลิตต้องสะอาดได้มาตรฐาน
8. การเก็บเกี่ยว เกษตรกรต้องเก็บเกี่ยวตามแผนการเก็บเกี่ยวที่กำหนดไว้ การเก็บเกี่ยวต้องคำนึงถึงการรักษาคุณภาพผลผลิต หน่วยงานกรมวิชาการและ มกท.ทำหน้าที่ตรวจรับรอง โดยวิเคราะห์หาสารตกค้างในผลผลิต
9. การคัดและบรรจุ เป็นขั้นตอนหลังการเก็บเกี่ยว เกษตรกรต้องทำความสะอาดผลผลิตด้วยอุปกรณ์ที่ไม่ปนเปื้อน คัดผลผลิตที่ไม่ได้คุณภาพออก จัดแบ่งขนาดให้มีความสม่ำเสมอ บรรจุในตระกร้าพลาสติกที่ที่มีกระดาษกรุทั้งตะกร้านำส่งโรงคัดบรรจุของสถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ต่อไป หน่วยงานกรมวิชาการและ มกท.ติดตามตรวจสอบเรื่องของความสะอาดในขั้นตอนการคัดแยก บรรจุผลผลิต ไม่ปนเปื้อนสารเคมีทุกขั้นตอน และรับรองระบบงานการผลิตที่ได้มาตรฐาน
10. มีความร่วมมือของกลุ่มเกษตรกรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ โครงการหลวง สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) , ศูนย์ส่งเสริมการเกษตรที่สูงอินทนนท์ , เทศบาลตำบลบ้านหลวง, อำเภอจอมทอง กรมพัฒนาที่ดิน ฯลฯ จัดงานประชุมถ่ายทอดองค์ความรู้การทำเกษตรอินทรีย์ เพื่อเผยแพร่สู่เกษตรกรหมู่บ้านอื่น นอกจากนี้มีรายการทีวีถ่ายทำรายการเพื่อถ่ายทอดความสำเร็จ
บทสรุปของผู้ใช้ประโยชน์การผลิตผักอินทรีย์ของบ้านเมืองอาง มีข้อสรุปว่า เกษตรกรเห็นถึงประโยชน์และความยั่งยืนที่จะเกิดขึ้นในการทำอาชีพเกษตรกรรมในอนาคต เกษตรกรมีความพอใจอย่างมากและมีความคิดที่จะทำต่อเนื่องในระยะยาว เนื่องจากเห็นประโยชน์และความสำเร็จทำให้เกษตรกรผลิตสินค้าที่มีคุณภาพเป็นสินค้าได้มาตรฐานรองรับ สร้างความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค เป็นที่ต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ สร้างรายได้หลักล้านบาทแก่ชุมชน ปี 2560 ส่งผลผลิตปริมาณ 490,739 กิโลกรัม สร้างรายได้ให้กับเกษตรกรบ้านเมืองอางมูลค่า 10,907,758 บาท
2.3 ຮູບພາບຂອງແນວທາງ
2.4 ວີດີໂອ ຂອງວິທີທາງ
ຄວາມຄິດເຫັນ, ຄໍາອະທິບາຍຫຍໍ້:
-
ສະຖານທີ່:
-
ຊື່ຂອງຜູ້ຖ່າຍວີດີໂອ:
-
2.5 ປະເທດ / ເຂດ / ສະຖານທີ່ບ່ອນທີ່ແນວທາງໄດ້ຖືກນໍາໃຊ້
ປະເທດ:
ໄທ
ພາກພື້ນ / ລັດ / ແຂວງ:
เชียงใหม่
ຂໍ້ມູນເພີ່ມເຕີມຂອງສະຖານທີ່:
แปลงผักอินทรีย์แบบโรงเรือน บ้านป่าก่อ หมู่บ้านเมืองอาง ตำบล บ้านหลวง อำเภอจอมทอง
ຄວາມຄິດເຫັນ:
สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์เป็นหน่วยงานหลักที่เข้ามาส่งเสริมอาชีพการผลิตผักอินทรีย์ โดยสนับสนุนองค์ความรู้และติดตามให้คำแนะนำ วางแผนการผลิต การเก็บเกี่ยว ตลอดจนหาตลาดรับซื้อให้แก่ชุมชน จนทำให้เกษตรกรสามารถพัฒนากระบวนการผลิตผักอินทรีย์จนผ่านมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ IFOAM และ AVA (มาตรฐานเกษตรของสิงคโปร์)
Map
×2.6 ວັນທີເລີ່ມຕົ້ນ ແລະ ສິ້ນສຸດ ການຈັດຕັ້ງປະຕີບັດ ວິທີທາງ
ສະແດງປີຂອງການເລີ່ມຕົ້ນ:
2002
ຖ້າຫາກບໍ່ຮູ້ຈັກປີທີ່ແນ່ນອນ, ໃຫ້ປະມານຄາດຄະເນ ເອົາມື້ທີ່ໄດ້ເລີ່ມຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ:
10-50 ປີ ຜ່ານມາ
ຄວາມຄິດເຫັນ:
เป็นแนวทางที่เกษตรกรเห็นความสำคัญและจะทำต่อเนื่อง เนื่องจากสร้างรายได้และช่วยรักษาระบบนิเวศน์ ไม่สร้างมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารที่มีความปลอดภัยแก่มนุษย์และสัตว์
2.7 ປະເພດຂອງແນວທາງ
- ພາຍໃຕ້ໂຄງການ / ແຜນງານ
2.8 ເປົ້າໝາຍ / ຈຸດປະສົງຫຼັກ ຂອງການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ
แนวทางการปลูกผักอินทรีย์ บ้านเมืองอาง สู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์สากลมีวัตถุประสงค์ คือ
1) เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาชีพให้เกษตรกร ทำให้เกษตรกรมีรายได้พอเลี้ยงชีพมีรายได้ที่มั่นคง ยกระดับคุณภาพชีวิต
2) สร้างความมั่นคงทางอาหาร ประเทศไทยมีแหล่งผลิตอาหารที่มีความปลอดภัยให้กับผู้บริโภค โดยการพัฒนาระบบการผลิตด้านการเกษตร ไปสู่การผลิตอาหารที่มีความปลอดภัย มีมาตรฐานเกษตรอินทรีย์รองรับ
3) รักษาความสมดุลของระบบนิเวศน์เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นระบบที่มีการจัดการด้านการเกษตรแบบองค์รวมที่เกื้อหนุนระบบนิเวศน์ รักษาความสมดุลของระบบนิเวศน์ในฟาร์มและความยั่งยืนของระบบนิเวศน์โดยรวม ป้องกันและหลีกเลี่ยงการปฏิบัติที่ทำให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
2.9 ເງື່ອນໄຂອໍານວຍ ຫຼື ຂັດຂວາງການປະຕິບັດຂອງເຕັກໂນໂລຢີ / ເຕັກໂນໂລຢີການນໍາໃຊ້ຕາມແນວທາງ
ມີຄວາມສາມາດ / ເຂັ້າເຖິງຊັບພະຍາກອນດ້ານການເງິນ ແລະ ການບໍລິການ
- ອໍານວຍ
โครงการหลวงสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ผักให้แก่เกษตรกรก่อน และหักเงินค่าเมล็ดพันธุ์ภายหลังจากการขายผลผลิต
ການກໍ່ຕັ້ງສະຖາບັນ
- ອໍານວຍ
มีการจัดตั้งกลุ่มผลิตผักอินทรีย์ กลุ่มผู้ใช้น้ำ กลุ่มผลิตปุ๋ยหมัก
ການຮ່ວມມື / ການປະສານງານຂອງຜູ້ກ່ຽວຂ້ອງ
- ອໍານວຍ
ทำให้เกิดการช่วยเหลือกันของคนในชุมชนเมื่อต้องการแรงงานในการปฏิบัติงาน
ກ່ຽວກັບກົດໝາຍ (ສິດນໍາໃຊ້ດິນ, ສິດນໍາໃຊ້ນໍ້າ)
- ເຊື່ອງຊ້ອນ
ไม่มีเอกสารสิทธิ์ในการถือครองที่ดิน
ນະໂຍບາຍ
- ອໍານວຍ
สอดคล้องกับนโยบายสร้างครัวไทยสู่ครัวโลก และเกษตรอินทรีย์
ຄວາມຮູ້ກ່ຽວກັບການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ, ການເຂົ້າເຖິງການສະໜັບສະໜູນ ທາງດ້ານວິຊາການ
- ອໍານວຍ
มีการบูรณาการของหลายหน่วยงานที่เข้ามาให้ความรู้และติดตามอย่างต่อเนื่องในการปฏิบัติให้ถูกต้อง
ຕະຫຼາດ (ໃນການຊື້ວັດຖຸດິບ, ຂາຍຜະລິດຕະພັນ) ແລະ ລາຄາ
- ອໍານວຍ
มีตลาดที่ต้องการสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่มีมาตรฐาน และสามารถรับซื้อผลผลิตอย่างต่อเนื่องและให้ราคาสูง
3. ການມີສ່ວນຮ່ວມ ແລະ ບົດບາດຂອງພາກສ່ວນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງທີ່ໄດ້ມີສ່ວນຮ່ວມ
3.1 ຜູ້ມີສ່ວນຮ່ວມ ໃນວິທີທາງ ແລະ ພາລະບົດບາດ ຂອງເຂົາເຈົ້າ
- ຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນໃນທ້ອງຖິ່ນ / ຊຸມຊົນທ້ອງຖິ່ນ
เกษตรกรเผ่าปกาเก่อญอ
เป็นผู้ใช้ที่ดิน ดูแลรักษา
- ອົງການຈັດຕັ້ງ ພາຍໃນຊຸມຊົນ
สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ กรมส่งเสริมการเกษตร
ส่งเสริมอาชีพให้คำแนะนำความรู้ทางวิชาการสนับสนุนปัจจัยผลิต การคัดบรรจุ
- ອໍານາດ ການປົກຄອງທ້ອງຖິ່ນ
เทศบาลตำบลบ้านหลวงอำเภอ และจังหวัด
ร่วมจัดงานถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืชอินทรีย์เพื่อส่งเสริมและขยายผลสู่หย่อมบ้านอื่น ๆ
3.2 ການມີສ່ວນຮ່ວມຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນໃນທ້ອງຖິ່ນ / ຊຸມຊົນທ້ອງຖິ່ນໃນໄລຍະທີ່ແຕກຕ່າງກັນຂອງແນວທາງ
ການລວບລວມ ເອົາຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນ ໃນທ້ອງຖິ່ນ / ຊຸມຊົນທ້ອງຖິ່ນ | ໃຫ້ລະບຸ ຜູ້ໃດທີ່ມີສ່ວນຮ່ວມ ໃນແຕ່ລະກິດຈະກໍາ? | |
---|---|---|
ການເລີ່ມຕົ້ນ / ແຮງຈູງໃຈ | ການນໍາໃໍຊ້ເອງ | เกิดปัญหาการทำเกษตรบนพื้นที่สูง ผลผลิตน้อย รายได้ไม่เพียงพอ ผู้นำชุมชนได้ทำหนังสือถวายฎีกาถึงหม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ประธานมูลนิธิโครงการหลวง เพื่อขอให้สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์เข้ามาส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ |
ການວາງແຜນ | ການຮ່ວມມື | 2545 สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์เริ่มดำเนินการทดสอบและสาธิตการผลิตพืชอินทรีย์ 2554 ไปอบรมดูงานที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่โถ ได้รับความรู้เกี่ยวกับการวางแผนการผลิตและการปลูกพืชภายใต้โรงเรือนไม้ไผ่กางมุ้ง |
ການປະຕິບັດ | ການຮ່ວມມື | เกษตรกรดำเนินการตั้งกลุ่มผู้ผลิตผักอินทรีย์ กลุ่มผู้ใช้น้ำ ปี2548-2552 ผลิตผักอินทรีย์ภายใต้มาตรฐานเกษตรอินทรีย์รับรองมาตรฐานโดยกรมวิชาการเกษตร 2548 ตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำ จัดสรรการใช้น้ำทำเกษตรภายในชุมชนให้เพียงพอ 2553 ผลิตผักอินทรีย์แบบโรงเรือนกางมุ้ง และยกระดับการผลิตภายใต้มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ IFOAM |
ຕິດຕາມກວດກາ / ການປະເມີນຜົນ | ການຮ່ວມມື | ตั้งกฎระเบียบตามเกณฑ์มาตรฐานเกษตรอินทรีย์IFOAM และมีการตรวจสอบและลงโทษโดยสมาชิกกลุ่มผู้ผลิตผักอินทรีย์ |
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืชอินทรีย์ | ບໍ່ມີ | สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ ร่วมกับสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) , ศูนย์ส่งเสริมการเกษตรที่สูงอินทนนท์ , เทศบาลตำบลบ้านหลวง , อำเภอจอมทองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ร่วมจัดงานถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืชอินทรีย์เพื่อขยายกิจกรรมไปสู่หย่อมบ้านอื่นๆ ปัจจุบันปี 2560 บ้านเมืองอางผลิตพืชอินทรีย์ที่มีคุณภาพได้รับการรับรองมาตรฐานจาก 3 หน่วยงาน คือ กรมวิชาการเกษตร สำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ประเทศไทย (มกท.) และหน่วยงานรับรองมาตรฐานเกษตรของประเทศสิงคโปร์ |
3.3 ແຜນວາດ (ຖ້າມີ)
ການອະທິບາຍ:
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1. เกษตรกรรวมกลุ่มจัดตั้งกลุ่มผู้ผลิตผักอินทรีย์ รับสมัครสมาชิก โดยสมาชิกต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบของกลุ่มโดยจะต้องยืนยันการเป็นเกษตรกรอินทรีย์ทุกปี ต้องเข้าร่วมประชุมประจำเดือนของหมู่บ้านไม่น้อยกว่า 6 ครั้งต่อปี ต้องไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ต้องไม่ปลูกพืช 2 ระบบคือ อินทรีย์และ GAP ในเวลาเดียวกัน ยกเว้นการปลูกข้าว ต้องเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ กรณีละเมิดจะมีบทลงโทษ การจัดตั้งกลุ่มเพื่อหาเงินสนับสนุนในลงทุนทำเกษตรอินทรีย์ให้กับสมาชิก และเป็นแหล่งผลิตที่ใหญ่สามารถต่อรองราคาหรือหาตลาดได้ง่าย
2. สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์และศูนย์ส่งเสริมการเกษตรที่สูงอินทนนท์ จัดอบรมความรู้การทำเกษตรอินทรีย์ทุกปี ปีละอย่างน้อย 1 ครั้ง และพากลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตผักอินทรีย์ ไปเรียนรู้ดูงานในสถานที่ที่ประสบความสำเร็จ
3. การคัดเลือกพื้นที่ และปลูกสร้างโรงเรือน โดยผู้นำและเกษตรกรในพื้นที่คัดเลือก จัดสรร เน้นการปลูกเพื่อพอเพียงไม่เน้นการค้า จึงมีระเบียบกติกาว่า สมาชิกแต่ละคนมีโรงเรือนได้ไม่เกิน 3 โรงเรือน โดยเฉลี่ยสมาชิกจึงมีรายละ 2 โรงเรือน ดังนั้นเงินลงทุนสร้างโรงเรือน 2 โรงเรือนแรกมีเงินกองทุนสนับสนุนช่วยเหลือให้ 60% ของค่าโรงเรือน และลงทุนเองอีก 40% ถ้าใครจะทำโรงเรือนที่ 3 ต้องลงทุนเองทั้งหมด ขนาดของโรงเรือน กว้าง 6 เมตร ยาว 30 เมตร สูงประมาณ 3-5 เมตร (180 ตารางเมตรต่อโรงเรือน)
4. วางแผนการผลิตผักอินทรีย์ สมาชิกประชุมหารือกับเจ้าหน้าที่สถานีเกษตรหลวง อินทนนท์ วางแผนการผลิตผักอินทรีย์ตามกำหนดการที่ตลาดรับซื้อต้องการ โดยกำหนดชนิดผักที่ปลูก วันเพาะกล้า วันปลูก จนถึงวันตัดผลผลิต ทำเป็นปฏิทินการดำเนินการของเกษตรกรเป็นรายบุคคล กรณีสมาชิกไม่ปฏิบัติตามแผน จะหักค่าผลผลิต 50% เข้ากลุ่ม
5. การจัดหาปัจจัยการผลิต เช่น เมล็ดพันธุ์ผัก ตัวห้ำตัวเบียน ได้รับการสนับสนุนจากโครงการหลวง, การกระจายน้ำสู่แปลงในระบบท่อ ทางลำเลียง โดโลไมท์ ปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ ได้รับการสนับสนุนจากกรมพัฒนาที่ดินทั้งความรู้และงบประมาณ, ขี้วัว กาวเหนียวดักแมลง และสารชีวภัณฑ์ เกษตรกรซื้อเองจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ และต้องเก็บหลักฐานทุกชิ้นเพื่อให้หน่วยงานมาตรวจสอบย้อนกลับได้
6. ปลูกพืชอินทรีย์ เกษตรกรต้องปฏิบัติตามปฏิทินการปลูกพืชที่ร่วมกันทำตามข้อ 4 และจดบันทึกกิจกรรมทุกขั้นตอน
7. การดูแลรักษาแปลงผลิตพืชอินทรีย์ เกษตรกรสมาชิกกลุ่มฯ มีหน้าที่จดบันทึกและควบคุมดูแลกำกับเรื่องห้ามใช้สารเคมีของสมาชิกกลุ่มฯ หากมีการละเมิดจะถูกลงโทษ และตัดจากการเป็นสมาชิก เจ้าหน้าที่สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์และกรมส่งเสริมการเกษตร มีหน้าที่ติดตามให้คำแนะนำการใช้สารชีวภัณฑ์ สารไล่แมลง ตัวห้ำตัวเบียนฯลฯ ในการควบคุมกรณีมีโรคและแมลงในแปลง กรมวิชาการและมกท.ทำหน้าที่ ติดตาม ตรวจสอบกระบวนการผลิตต้องสะอาดได้มาตรฐาน
8. การเก็บเกี่ยว เกษตรกรต้องเก็บเกี่ยวตามแผนการเก็บเกี่ยวที่กำหนดไว้ การเก็บเกี่ยวให้ใช้มีดคมตัด เพื่อรักษาผักให้ได้คุณภาพ ป้องกันการฉีกขาด หน่วยงานกรมวิชาการและ มกท.วิเคราะห์สารตกค้างในผลผลิต
9. การคัดและบรรจุ เป็นขั้นตอนหลังการเก็บเกี่ยว เกษตรกรต้องล้างผักให้สะอาดด้วยน้ำที่ไม่ปนเปื้อน ผึ่งให้แห้ง คัดผักที่ไม่ได้คุณภาพออก จัดแบ่งขนาดให้มีความสม่ำเสมอ บรรจุในตระกร้าพลาสติกที่ที่มีกระดาษกรุทั้งตะกร้านำส่งโรงคัดบรรจุของสถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ต่อไป หน่วยงานกรมวิชาการและ มกท.ติดตามตรวจสอบเรื่องของความสะอาดในขั้นตอนการคัดแยก บรรจุผลผลิต ไม่ปนเปื้อนสารเคมีทุกขั้นตอน และรับรองระบบงานการผลิตที่ได้มาตรฐาน
10. มีความร่วมมือของกลุ่มเกษตรกรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ โครงการหลวง สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) , ศูนย์ส่งเสริมการเกษตรที่สูงอินทนนท์ , เทศบาลตำบลบ้านหลวง, อำเภอจอมทอง กรมพัฒนาที่ดิน ฯลฯ จัดงานประชุมถ่ายทอดองค์ความรู้การทำเกษตรอินทรีย์ เพื่อเผยแพร่สู่เกษตรกรหมู่บ้านอื่น นอกจากนี้มีรายการทีวีถ่ายทำรายการเพื่อถ่ายทอดความสำเร็จ
ຜູ້ຂຽນ:
กมลาภา วัฒนประพัฒน์
3.4 ການຕັດສິນໃຈກ່ຽວກັບການຄັດເລືອກເຕັກໂນໂລຢີຂອງການຄຸ້ມຄອງທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ / ເຕັກໂນໂລຢີ
ລະບຸ ຄົນທີ່ຕັດສິນໃຈ ກ່ຽວກັບການຄັດເລືອກຂອງ ເຕັກໂນໂລຢີ / ເຕັກໂນໂລຢີ ຈະໄດ້ຮັບການປະຕິບັດ:
- ພາກສ່ວນກ່ຽວຂ້ອງທັງໝົດ, ເປັນສ່ວນໜຶ່ງ ຂອງວິທີທາງແບບມີສ່ວນຮ່ວມ
Specify on what basis decisions were made:
- ປະເມີນເອກກະສານ ຄວາມຮູ້ກ່ຽວກັບ ການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ (ຫຼັກຖານທີ່ຊ່ວຍໃນການຕັດສິນໃຈ)
4. ການສະໜັບສະໜູນທາງດ້ານວິຊາການ, ການສ້າງຄວາມສາມາດ, ແລະ ການຈັດການຄວາມຮູ້.
4.1 ການສ້າງຄວາມສາມາດ / ການຝຶກອົບຮົມ
ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ ຫຼື ພາກສ່ວນກ່ຽວຂ້ອງອື່ນໆ ໄດ້ຮັບການຝຶກອົບຮົມບໍ່?
ແມ່ນ
ໃຫ້ລະບຸ ຜູ້ໃດທີ່ໄດ້ຮັບການຝຶກອົບຮົມ:
- ຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນ
- ประชาชนผู้สนใจ
ຖ້າເປັນໄປໄດ້, ໃຫ້ລະບຸເພດ, ອາຍຸ, ສະຖານະພາບ, ຊົນເຜົ່າ, ແລະ ອື່ນໆ:
-
ຮູບແບບຂອງການຝຶກອົບຮົມ:
- ຕົວຕໍ່ຕົວ
- ເນື້ອທີ່ສວນທົດລອງ
- ກອງປະຊຸມ
- ຫຼັກສູດ
ຮູບແບບຂອງການຝຶກອົບຮົມ:
- ถ่ายทำรายการออกอากาศ…
ໃນຫົວຂໍ້:
วิถีผัก...อินทรีย์ ที่บ้านเมืองอาง
ຄວາມຄິດເຫັນ:
-
4.2 ການບໍລິການໃຫ້ຄໍາປຶກສາ
ເຮັດຜູ້ໃຊ້ທີ່ດິນມີການເຂົ້າເຖິງການບໍລິການໃຫ້ຄໍາປຶກສາ?
ແມ່ນ
ລະບຸວ່າການສະໜອງ ການບໍລິການ ໃຫ້ຄໍາປຶກສາ:
- ໃນພື້ນທີ່ຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນ
- ສູນຄົ້ນຄວ້າ
4.3 ສະຖາບັນການສ້າງຄວາມເຂັ້ມແຂງ (ການພັດທະນາອົງການຈັດຕັ້ງ)
ສະຖາບັນ ໄດ້ຮັບການສ້າງຕັ້ງຂື້ນ ຫຼື ໄດ້ຮັບການສ້າງຄວາມເຂັ້ມແຂງ ໂດຍການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງບໍ່?
- ມີ, ຫຼາຍ
ລະບຸ ທາງສະຖາບັນ ໄດ້ສ້າງຄວາມເຂັ້ມແຂງ ໃນລະດັບໃດ (ຫຼາຍ):
- ທ້ອງຖິ່ນ
ອະທິບາຍ ສະຖາບັນການຈັດຕັ້ງ, ພາລະບົດບາດ ແລະ ໜ້າທີ່ຮັບຜິດຊອບ, ສະມາຊິກ ແລະ ອື່ນໆ.
จัดตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชน เป็นองค์กรที่มีความเข้มแข็ง สร้างรายได้ ให้ความรู้และศึกษาดูงานด้านการปลูกผักอินทรีย์ที่ประสบผลสำเร็จของบ้านเมืองอาง
ລະບຸ ປະເພດ ຂອງສະໜັບສະໜູນ:
- ທາງດ້ານການເງິນ
- ການສ້າງຄວາມອາດສາມາດ / ການຝຶກອົບຮົມ
- ອຸປະກອນ
ໃຫ້ລາຍລະອຽດເພີ່ມເຕີມ:
-
4.4 ຕິດຕາມກວດກາ ແລະ ປະເມີນຜົນ
ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ ໄດ້ມີການປະເມີນຜົນ ແລະ ຕິດຕາມບໍ?
ແມ່ນ
ຄວາມຄິດເຫັນ:
ติดตามและประเมินผล โดย สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ กรมวิชาการ มกท.
ຖ້າແມ່ນ, ເອກກະສານສະບັບນີ້ ແມ່ນໄດ້ນໍາໃຊ້ເຂົ້າໃນການຕິດຕາມ ແລະ ປະເມີນຜົນບໍ່?
ແມ່ນ
ຄວາມຄິດເຫັນ:
-
4.5 ການຄົ້ນຄວ້າ
ນີ້້ແມ່ນສ່ວນໜຶ່ງ ການຄົ້ນຄວ້າ ຂອງວິທີທາງບໍ່?
ແມ່ນ
ລະບຸ ຫົວຂໍ້:
- ເສດຖະສາດ / ການຕະຫຼາດ
- ລະບົບນິເວດ
- ເຕັກໂນໂລຢີ
ໃຫ້ຂໍ້ມູນ ເພີ່ມເຕີມ ແລະ ກໍານົດ ຜູ້ໃດເຮັດການຄົ້ນຄວ້າ:
สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)
5. ການສະໜັບສະໜູນທາງດ້ານການເງິນ ແລະ ອຸປະກອນຈາກພາຍນອກ
5.1 ງົບປະມານປະຈໍາປີ ສໍາລັບວິທີທາງ ຂອງການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ
ຖ້າຫາກບໍ່ຮູ້ຈັດງົບປະມານທີ່ແນ່ນອນ ແມ່ນໃຫ້ປະມານເອົາ:
- 2,000-10,000
ຄໍາເຫັນ (ຕົວຢ່າງ: ແຫຼ່ງຂໍ້ມູນຫຼັກ ຂອງການສະໜອງທຶນ / ຜູ້ໃຫ້ທຶນທີ່ສໍາຄັນ):
เงินงบประมาณโครงการหลวง กรมส่งเสริมการเกษตร งบองค์การเทศบาลตำบล
5.2 ການສະໜັບສະໜູນ ທາງດ້ານການເງິນ / ອຸປະກອນ ສະໜອງໃຫ້ແກ່ຜູ້ນໍາທີ່ດິນ
ຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນ ໄດ້ຮັບການສະໜັບສະໜູນ ທາງດ້ານ ການເງິນ / ອຸປະກອນ ໃນການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ເຕັກໂນໂລຢີບໍ?
ແມ່ນ
ຖ້າແມ່ນ, ໃຫ້ລະບຸປະເພດ (ຫຼາຍ) ຂອງການສະໜັບສະໜູນ, ເງື່ອນໄຂ ແລະ ຜູູ້ສະໜອງ (ຫຼາຍ):
ได้รับเป็นวัสดุปัจจัยการผลิต เช่น โดโลไมท์ สารเร่งพด.1 พด.2 ทางลำเลียง ฝาย แมลงตัวห้ำตัวเบียน ปุ๋ยหมัก
5.3 ເງິນສົມທົບສໍາລັບການນໍາໃຊ້ສະເພາະປັດໃຈຂາເຂົ້າໃນການຜະລີດກະສິກໍາ (ລວມທັງແຮງງານ)
- ກະສິກໍາ
ໃຫ້ລະບຸໄດ້ຮັບການສະໜັບສະໜູນປັດໃຈຂາເຂົ້າຫຍັງແດ່ | ທີ່ຂອບເຂດ | ລະບຸ ການອຸດໜູນ |
---|---|---|
None | ງົບປະມານບາງສ່ວນ | โดโลไมท์ หัวเชื้อจุลินทรีย์ทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ |
- ພື້ນຖານໂຄງລ່າງ
ໃຫ້ລະບຸໄດ້ຮັບການສະໜັບສະໜູນປັດໃຈຂາເຂົ້າຫຍັງແດ່ | ທີ່ຂອບເຂດ | ລະບຸ ການອຸດໜູນ |
---|---|---|
None | ງົບປະມານບາງສ່ວນ | ทางลำเลียงในไร่นา ฝาย |
5.4 ສິນເຊື່ອ
ໄດ້ປ່ອຍສິນເຊື່ອ ສະໜອງໃຫ້ພາຍໃຕ້ ວິທີການສໍາລັບກິດຈະກໍາ ການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນນຍົງບໍ່?
ແມ່ນ
ເງື່ອນໄຂກໍານົດ (ອັດຕາດອກເບ້ຍ, ຈ່າຍຄືນ, ແລະ ອື່ນໆ) :
ปลอดดอกเบี้ย
ລະບຸ ການໃຫ້ບໍລິການ ການປ່ອຍສິນເຊື່ອ:
สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวง กลุ่มผู้ผลิตพืชอินทรีย์ สนับสนุนปัจจัยการผลิต
ລະບຸ ຜູ້ທີ່ໄດ້ຮັບສິນເຊື່ອ:
เกษตรกรผู้เป็นสมาชิก
5.5 ສິ່ງຈູງໃຈ ຫຼື ເຄື່ອງມືອື່ນໆ
ການສົ່ງເສີມ ຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ເຕັກໂນໂລຢີ ໃນການຄຸ້ມຄອງ ດິນແບບຍືນຍົງ ໄດ້ສະໜອງສິ່ງກະຕຸກຊຸກຍູ້ບໍ່?
ແມ່ນ
ຖ້າແມ່ນ, ໃຫ້ລະບຸ:
เห็นประโยชน์ของการรักษาระบบนิเวศน์ การรักษาป่าต้นน้ำ ผู้ผลิตและผู้บริโภคมีความปลอดภัย สร้างรายได้ตลอดปี
6. ວິເຄາະຜົນກະທົບ ແລະ ສັງລວມບັນຫາ
6.1 ຜົນກະທົບຂອງແນວທາງ
ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ ສາມາດຊ່ວຍຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ ໃນການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ແລະ ບໍາລຸງຮັກສາ ເຕັກໂນໂລຢີ ການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງໄດ້ບໍ?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
เกษตรกรตั้งกลุ่มฯ เพื่อช่วยเหลือสมาชิก ในเรื่องความรู้และปัจจัยการผลิต
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ສາມາດປັບປຸງ ການປະສານງານ ແລະ ຄ່າໃຊ້ຈ່າຍ ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ທີ່ມີປະສິດທິພາບ ຂອງການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືດຍົງໄດ້ບໍ່?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
ให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่รัฐ สอดส่องดูแลหาบทลงโทษผู้กระทำผิดกฎระเบียบ
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ສາມາດປັບປຸງຄວາມຮູ້ ແລະ ຄວາມສາມາດຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ ໃນການປະຕິບັດ ການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືດຍົງໄດ້ບໍ່?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
มีการอบรมให้ความรู้อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ສາມາດປັບປຸງຄວາມຮູ້ ແລະ ຄວາມສາມາດ ຂອງພາກສ່ວນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງໄດ້ບໍ່?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
มีการถ่ายทอดความรู้เพื่อหาแนวร่วมการทำเกษตรอินทรีย์เพิ่มทุกปี
ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ ສາມາດປັບປຸງ ຄວາມສະເໜີພາບ ຂອງບົດບາດ ຍິງຊາຍ ແລະ ສ້າງຄວາມເຂັ້ມແຂງໃຫ້ຜູ້ຍິງໄດ້ບໍ່?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
ไม่กีดกันสามารถทำได้ทุกคน
ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ ສາມາດຊຸກຍູ້ ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນທີ່ເປັນຊາວໜຸ່ມ / ຄົນລຸ້ນໃໝ່ ໃນການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງໄດ້ບໍ?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
ถ่ายทอดให้เยาวชน บุตรหลาน มาช่วยงาน
ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ ສາມາດປັບປຸງ ປະເດັນການຖືຄອງທີ່ດິນ / ສິດທິໃນການນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ ທີ່ເຊື່ອງຊ້ອນໃນການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ເຕັກໂນໂລຢີ ການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງໄດ້ບໍ?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
ใช้พื้นที่น้อย มีการควบคุมจำกัดจำนวนโรงเรือน และคืนพื้นที่เกษตรเป็นป่าไปแล้ว 1700ไร่
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ໄດ້ປັບປຸງ ການຄໍ້າປະກັນສະບຽງອາຫານ ຫຼື ປັບປຸງໂຄສະນາການໄດ້ບໍ່?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
การผลิตมีความปลอดภัยไม่ใช้สารเคมีมีมาตรฐานรองรับ
ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ ສາມາດປັບປຸງ ການເຂົ້າເຖິງຕະຫຼາດໄດ້ບໍ?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
-
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ໄດ້ປັບປຸງ ການນໍາໃຊ້ແຫຼ່ງພະລັງງານ ແບບຍືນຍົງຫຼາຍຂື້ນບໍ່?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
-
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ໄດ້ປັບປຸງ ການຈ້າງງານ, ໂອກາດ ໃນການສ້າງລາຍຮັບບໍ່?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
ผลผลิตมีคุณภาพและตลาดต้องการมาก จึงขายได้ราคาสูง
6.2 ແຮງຈູງໃຈຫຼັກຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນໃນການປະຕິບັດການຄຸ້ມຄອງທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ
- ການຜະລິດເພີ່ມຂຶ້ນ
ปริมาณและคุณภาพผลผลิตดีขึ้นปลูกผักได้11 รอบต่อปี
- ຫຼຸດຜ່ອນດິນເຊື່ອມໂຊມ
การปลูกอยู่ในโรงเรือน ลดการชะล้างของหน้า ดิน มีการใช้อินทรียวัตถุลงดินตลอด เพิ่ม/รักษาสิ่งมีชีวิตในดิน
- ລວມເຂົ້ານໍາກັນກັບການເຄື່ອນໄຫວ / ໂຄງການ / ກຸ່ມ / ເຄືອຂ່າຍ
สมาชิกกลุ่มผลิตพืชอินทรีย์มี จำนวนเพิ่มขึ้นเนื่องจากเห็นว่าการ ปลูกพืชอินทรีย์สร้างรายได้เพิ่มขึ้น
6.3 ຄວາມຍືນຍົງຂອງກິດຈະກໍາວິທີທາງ
ຜູ້ນໍາໃຊ້ ທີ່ດິນ ສາມາດສືບຕໍ່ ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ຜ່ານວິທີທາງໄດ້ບໍ່ (ໂດຍປາດສະຈາກ ການຊ່ວຍເຫຼືອ ຈາກພາກສ່ວນພາຍນອກ)?
- ບໍ່ແນ່ນອນ
ຖ້າ ບໍ່ ຫຼື ບໍ່ແນ່ໃຈ, ໃຫ້ອະທິບາຍ ແລະ ຄໍາເຫັນ:
ผู้ใช้ที่ดินยังต้องพึ่งพาการชี้นำแนวทางจากหน่วยงานเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการวางแผนการผลิต การหาตลาดรับซื้อผลผลิตที่แน่นอน และยังไม่มี แบรนด์เป็นของตนเอง แต่อย่างไรก็ดี ผู้ใช้ที่ดินมีความพึงพอใจมากในการปลูกผักอินทรีย์ในโรงเรือน
6.4 ຈຸດແຂງ / ຂໍ້ດີ ຂອງວິທີທາງ
ຈຸດແຂງ / ຂໍ້ດີ / ໂອກາດໃນການນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ |
---|
1) ช่วยรักษาระบบนิเวศน์ และสภาพแวดล้อม ไม่บุกรุกพื้นที่ป่าใช้ที่ดิน และทำให้ชุมชนมีพื้นที่ป่าเพิ่มขึ้น เป็นแหล่งต้นน้ำลำธารที่ปลอดภัย |
2) เกษตรกรมีอาชีพที่มั่นคง รายได้และฐานะดีขึ้น |
3) ผลิตอาหารที่มีความปลอดภัย และส่งต่อความปลอดภัยมาถึงผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม |
ຈຸດແຂງ / ຈຸດດີ / ໂອກາດ ຈາກທັດສະນະຂອງຜູ້ປ້ອນຂໍ້ມູນ ຫຼື ບຸກຄົນສຳຄັນ |
---|
1) สอดรับกับนโยบาย ”เกษตรอินทรีย์และครัวไทยสู่ครัวโลก” ของรัฐบาล แนวทางนี้สนับสนุนให้เกษตรกรสามารถผลิตอาหารที่มีความปลอดภัย และส่งต่อความปลอดภัยมาถึงผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม |
2) ลดปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่า เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ปลูกพืชไร่หมุนเวียน เพื่อหาเลี้ยงชีพ |
3) ช่วยเสริมสร้างความตระหนักรู้เรื่องทรัพยากรดิน การอนุรักษ์ดินและน้ำ ให้แก่เกษตรกรชาวเขา สามารถใช้ทรัพยากรที่ดินและทรัพยากรน้ำได้อย่างคุ้มค่า มีการอนุรักษ์บำรุงรักษาที่ถูกวิธีเช่น ปรับปรุงบำรุงดินด้วยอินทรียวัตถุ ไม่ใช้สารเคมี รักษาให้เกิดสมดุลตามธรรมชาติ |
6.5 ຈຸດອ່ອນ / ຂໍ້ເສຍຂອງແນວທາງ ແລະ ວິທີການແກ້ໄຂໃຫ້ເຂົາເຈົ້າ
ຈຸດອ່ອນ / ຂໍ້ເສຍ / ຄວາມສ່ຽງໃນມູມມອງຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ | ມີວິທີການແກ້ໄຂຄືແນວໃດ? |
---|---|
1) เกษตรกรยังอ่อนแอเรื่องของการตลาด | พัฒนาองค์ความรู้เรื่องการทำตลาดออนไลน์ |
ຈຸດອ່ອນ ຫຼື ຂໍ້ເສຍ ຫຼື ຄວາມສ່ຽງ ໃນມຸມມອງຂອງ ຜູ້ສັງລວມຂໍ້ມູນ ຫຼື ບັນດາຜູ້ຕອບແບບສອບຖາມ | ມີວິທີການແກ້ໄຂຄືແນວໃດ? |
---|---|
1) ระบบกรรมสิทธิ์ที่ดินของเกษตรกรชาวเขา เนื่องจากพื้นที่ทำกินอยู่ในเขตป่าสงวน จึงส่งผลทำให้การจัดสรรพื้นที่ดังกล่าวเกิดข้อจำกัด | รัฐควรปรับปรุง แก้ไข ปัญหาเกี่ยวกับแนวนโยบายและมาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองและควบคุมการทำเกษตรกรรมบนพื้นที่สูง |
7. ເອກກະສານອ້າງອີງ ແລະ ຂໍ້ມູນການເຊື່ອມໂຍງ
7.1 ວິທີການ / ແຫຼ່ງຂໍ້ມູນ
- ການໄປຢ້ຽມຢາມພາກສະໜາມ, ການສໍາຫຼວດພາກສະໜາມ
3 คน
- ການສໍາພາດ ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ
1 คน
- ການລວບລວມ ບົດລາຍງານ ແລະ ເອກະສານອື່ນໆ ທີ່ມີຢູ່ແລ້ວ
1 คน
7.2 ເອກະສານທົ່ວໄປທີ່ສາມາດໃຊ້ໄດ້
ຫົວຂໍ້, ຜູ້ຂຽນ, ປີ, ISBN:
-
ມີຢູ່ໃສ?ມູນຄ່າເທົ່າໃດ?
-
7.3 ການເຊື່ອມຕໍ່ກັບຂໍ້ມູນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງທີ່ສາມາດໃຊ້ອອນໄລນ໌
ຫົວຂໍ້ / ພັນລະນາ:
เมืองอางโมเดล Archives - เข้มข้น กับคนข่าวเกษตรตัวจริง – ข่าวเกษตรทำกิน 29 มกราคม 2561
URL:
https://kasettumkin.com/tag/เมืองอางโมเดล
ຫົວຂໍ້ / ພັນລະນາ:
The North องศาเหนือ – เมืองอางปลูกผักให้เป็นป่า 25 มิถุนายน 2560
URL:
http://program.thaipbs.or.th/thenorth/episodes/46187
ຫົວຂໍ້ / ພັນລະນາ:
เรียนรู้รักษ์ป่ากับอาสาเที่ยว...ที่หมู่บ้าน ปกาเกอะญอ "บ้านเมืองอาง" เชียงใหม่9 มีนาคม 2561
URL:
https://m.mgronline.com/travel/detail/9610000022292
ຫົວຂໍ້ / ພັນລະນາ:
ผักอินทรีย์เมืองอาง ปล่อยไก่..กำจัดศัตรูพืช 5 มิถุนายน 2558
URL:
https://www.thairath.co.th/content/502999
ຫົວຂໍ້ / ພັນລະນາ:
วิถีผักอินทรีย์ที่บ้านเมืองอ่าง | ผู้นำด้านนวัตกรรม-เกษตรชีวภาพ 1 กุมภาพันธ์ 2560
URL:
https://www.svgroup.co.th/ผักอินทรีย์เมืองอ่าง/
ຂໍ້ມູນການເຊື່ອມຕໍ່ ແລະ ເນື້ອໃນ
ຂະຫຍາຍທັງໝົດ ຍຸບທັງໝົດການເຊື່ອມຕໍ່
ບໍ່ມີຂໍ້ມູນການເຊື່ອມຕໍ່
ເນື້ອໃນ
ບໍ່ມີເນື້ອໃນ