Environmental Friendly Pig Farm /Zero Waste Pig Farm [Tailândia]
- Criação:
- Atualização:
- Compilador/a: Kukiat SOITONG
- Editor: –
- Revisores: Rima Mekdaschi Studer, William Critchley
หมูหลุมอินทรีย์ตามวิถึชุมชน
technologies_4252 - Tailândia
Veja as seções
Expandir tudo Recolher tudo1. Informação geral
1.2 Detalhes do contato das pessoas capacitadas e instituições envolvidas na avaliação e documentação da tecnologia
Pessoa(s) capacitada(s)
usuário de terra:
สิงห์โตศรี นายสุพจน์
กลุ่มหมูหลุมอินทรีย์ ตามวิถีชุมชนตำบลดอนแร่
Tailândia
1.3 Condições em relação ao uso da informação documentada através de WOCAT
O/a compilador/a e a(s) pessoa(s) capacitada(s) aceitam as condições relativas ao uso de dados documentados através da WOCAT:
Sim
1.4 Declaração de sustentabilidade da tecnologia descrita
A tecnologia descrita aqui é problemática em relação a degradação da terra de forma que não pode ser declarada uma tecnologia de gestão sustentável de terra?
Não
Comentários:
-
1.5 Referência ao(s) questionário(s) sobre abordagens GST (documentado(s) usando WOCAT)
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม (Zero Waste Pig Farm Technology Transfer Center) [Tailândia]
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดความรู้เรื่องการเลี้ยงหมูหลุม จากเกษตรกรผู้ประสบความสำเร็จไปยังเกษตรกรและผู้สนใจ รวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุมให้เป็นเวทีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
- Compilador/a: Kukiat SOITONG
2. Descrição da tecnologia de GST
2.1 Descrição curta da tecnologia
Definição da tecnologia:
หมูหลุม เป็นการจัดการในการเลี้ยงสุกร ด้วยวิธีการจัดการคอกและการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสานกับการทำงานของจุลินทรีย์ที่ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์หมูที่ปลอดภัย และสามารถกักเก็บของเสียจากคอกเป็นปุ๋ยอินทรีย์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ตลอดจนไม่เกิดมลภาวะต่อชุมชน
2.2 Descrição detalhada da tecnologia
Descrição:
(1) เทคโนโลยีนำไปใช้ที่ไหน(สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของมนุษย์ )
โดยทั่วไปการเลี้ยงสุกร ในชุมชน มักจะก่อให้เกิดมลภาวะอันเนื่องมาจาก ของเสียจากการเลี้ยงสุกรได้แก่ มูลสุกร น้ำเสียจากการเลี้ยงและกลิ่น ทำให้เกิดมลภาวะและความขัดแย้งในการใช้ประโยชน์จากที่ดินของชุมชน การจัดการเลี้ยงหมู แบบ หมูหลุม เป็นเทคโนโลยีทางเลือกในการลดปัญหาอันเนื่องมาจากการเลี้ยงหมูแบบเดิม ที่ส่งผลกระทบชีวิตความเป็นอยู่ สภาวะสิ่งแวดล้อมของชุมชนที่นำไปสู่ความขัดแย้งในการใช้ประโยชน์จากที่ดินของชุมชน
(2) อะไรคือลักษณะหรือองค์ประกอบที่สำคัญของเทคโนโลยี
การเลี้ยงหมูหลุม มีลักษณะการจัดการเฉพาะประกอบด้วย2 ส่วน คือ การจัดการเลี้ยงหมูหลุมและการจัดการของเสียจากการเลี้ยงหมู
ก.การจัดการเลี้ยงหมูหลุม มีองค์ประกอบที่สำคัญ คือการจัดการโรงเรือนและวิธีการเลี้ยง
การจัดการโรงเรือน สร้างโรงเรือนบนพื้นที่ดอนที่ไม่มีน้ำท่วมขัง ใช้วัสดุที่หาได้ตามท้องถิ่น เช่น ไม้ไผ่ หญ้าคา เป็นต้น สร้างเป็นลักษณะเพิงหมาแหงนหรือหน้าจั่วโดยให้โรงเรือนมีการระบายอากาศที่ดี การทำคอกหมูหลุม ในการเลี้ยงหมูหลุม ให้ทำคอกบนพื้นดิน ไม่เทพื้นซีเมนต์ แต่จะขุดหลุมลึกประมาณ 60-70 เซนติเมตร แล้วรองก้นหลุมด้วยแกลบ ขี้เลื่อย หรือขุยมะพร้าว
วิธีการเลี้ยงหมูหลุม ประกอบด้วย. การจัดการเรื่อง อาหารได้แก่ อาหารข้นและอาหารหมัก วัตถุดิบต้องคัดเลือกว่ามาจากกระบวนการผลิตที่ไม่ใช้สารเคมี และมีการใช้สมุนไพรผงร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพ ผสมน้ำ ให้สัตว์กินเพื่อส่งเสริมสุขภาพสัตว์ เป็นการป้องกันและรักษาโรค
พันธุ์สุกรที่นำมาเลี้ยงในลักษณะหมูหลุม ได้แก่สายพันธุ์ที่นิยมนำมาเลี้ยงจะเป็นลูกผสมสามสายพันธ์ คือ ดูร็อคเจอร์ซี่ + แลนด์เลซ + ลาร์จไวท์ โดยให้อยู่ในช่วงหย่านม ( ประมาณ 1 เดือน )
ข.การจัดการของเสียจากการเลี้ยงหมู ให้ใช้แกลบรองก้นหลุม แบ่งเป็น 2 ชั้น ชั้นละประมาณ 30 เซนติเมตร ระหว่างชั้น ใส่ดินแล้ว หว่านเกลือ แล้วรดน้ำหมักชีวภาพให้ชุ่ม จากนั้นทุกสัปดาห์ให้รดน้ำหมักชีวภาพเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายสิ่งปฏิกูลต่างๆ หลังจากเลี้ยงหมู ในแต่ละรอบของการเลี้ยง จะได้ปุ๋ยหมักมูลหมูหลุมพร้อมใช้
(3)อะไรคือจุดประสงค์หรือหน้าที่ของเทคโนโลยี
1.เพื่อให้การเลี้ยงหมูไม่ก่อให้เกิดมลภาวะและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
2.เพื่อให้ได้ปุ๋ยหมักมูลหมูหลุมที่มีคุณภาพ เพื่อนำไปใช้ในการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์
3. เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์จากสุกรที่ปลอดภัยจากสารพิษไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค
(4)กิจกรรมที่สำคัญหรือปัจจัยการผลิตที่จำเป็นในการจัดตั้งหรือบำรุงรักษาสภาพเทคโนโลยี
ขั้นตอนการเลี้ยงหมูหลุม
1.สร้างโรงเรือน บนพื้นที่ดอนที่ไม่มีน้ำท่วมขัง ให้โรงเรือนมีการระบายอากาศที่ดี
2.สร้างคอกหมูหลุม ขนาดคอกกว้าง 4 x 4 เมตร สามารถเลี้ยงได้คอกละ8 ตัว
3. การเตรียมคอก
4.พันธุ์สุกร สายพันธ์ที่นิยมนำมาเลี้ยงจะเป็นลูกผสมสามสายพันธ์
5. อาหารหมูหลุม วัตถุดิบ ต้องคัดเลือกว่ามาจากกระบวนการผลิตที่ไม่ใช้สารเคมี
6. การป้องกันและรักษาโรค ใช้การฉีดพ่นน้ำหมักชีวภาพที่พื้นคอกและตัวหมูทุก 7 วันใช้น้ำหมักชีวภาพผสมน้ำให้หมูกิน เมื่อมีอาการป่วยก็รักษาตามอาการโดยการใช้ยาสมุนไพร
7. การดูแลรักษา
(5)ประโยชน์ที่ได้รับหรือผลกระทบของเทคโนโลยีคืออะไรบ้าง
1)มีวัสดุและวัตถุดิบในพื้นที่ทำให้ช่วยลดต้นทุนการผลิต
2)ได้ปุ๋ยที่เป็นประโยชน์สามารถนำไปเป็นธาตุอาหารให้กับพืชได้
3)ได้ผลิตภัณฑ์เนื้อหมูที่ปลอดภัย
4)ไม่เป็นมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม และไม่มีกลิ่นรบกวนชุมชน
5)เป็นอาชีพที่สามารถดำรงชีพได้อย่างยั่งยืน
(6)อะไรบ้างที่ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินชอบหรือไม่ชอบเกี่ยวกับเทคโนโลยี
อะไรบ้างที่ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินชอบ
1.สามารถเลี้ยงในชุมชนได้ เนื่องจากไม่มีปัญหาเรื่องกลิ่นเหม็นจากมูลสุกรและ แมลงวัน
2.ได้ปุ๋ยอินทรีย์ที่มีคุณภาพ ใข้ปรับปรุง บำรุงดิน ที่ปลูกพืชอาหารสัตว์ในพื้นที่ และจำหน่ายเป็นรายได้เสริม
3.ประหยัดแรงงานเนื่องจากไม่ต้องใช้แรงงานในการเก็บกวาดมูล สุกร ทำความสะอาด คอกและล้างตัวสุกรรวมทั้งยังทำให้ประหยัดน้ำที่ใช้ในการเลี้ยงด้วย
อะไรบ้างที่ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินหรือไม่ชอบ
1.กระบวนการและการเลี้ยงหมูหลุมใช้เวลามากกว่าปกติ
2.ผลิตภัณฑ์จากหมูหลุมยังไม่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย
3.ยังไม่มีการกำหนดมาตรฐานการเลี้ยงหมูหลุม จากภาครัฐ
4.การเลี้ยงหมูหลุม ต้องมีพื้นที่ปลูกพืชอาหารเพื่อเป็นวัตถุดิบอาหารให้หมูที่ปลอดภัย
2.3 Fotos da tecnologia
2.4 Vídeos da tecnologia
Comentários, breve descrição:
-
Localização:
-
Nome do cinegrafista:
-
2.5 País/região/locais onde a tecnologia foi aplicada e que estão cobertos nesta avaliação
País:
Tailândia
Região/Estado/Província:
ราชบุรี
Especificação adicional de localização:
พื้นที่ตำบลดอนแร่ อ.เมือง จ.ราชบุรี
Comentários:
นายสุพจน์ สิงห์โตศรี 95/1 ม.9 ต.ดอนแร่ อ.เมือง จ.ราชบุรี
Map
×2.6 Data da implementação
Indique o ano de implementação:
1969
Caso o ano exato seja desconhecido, indique a data aproximada:
- mais de 50 anos atrás (tradicional)
2.7 Introdução da tecnologia
Especifique como a tecnologia foi introduzida:
- Como parte do sistema tradicional (>50 anos)
- การศึกษาดูงาน
Comentários (tipos de projeto, etc.):
-
3. Classificação da tecnologia de GST
3.1 Principal/principais finalidade(s) da tecnologia
- Melhora a produção
- Reduz, previne, recupera a degradação do solo
- Criar impacto econômico benéfico
- Cria impacto social benéfico
3.2 Tipo(s) atualizado(s) de uso da terra onde a tecnologia foi aplicada
Floresta/bosques
- Plantação de árvores, reflorestamento
Plantação de árvores, florestamento: Especificar a origem e composição das espécies:
- Variedades mistas
Comentários:
-
3.3 O uso do solo mudou devido à implementação da Tecnologia?
Comentários:
-
3.4 Abastecimento de água
Outros (p. ex. pós-inundação):
- ใช้ในปศุสัตว์,สระน้ำ
Comentários:
-
3.5 Grupo de GST ao qual pertence a tecnologia
- Gestão integrada de fertilidade do solo
- Gestão de resíduos/gestão de águas residuais
3.6 Medidas de GST contendo a tecnologia
Medidas de gestão
- M6: Gestão de resíduos (reciclagem, reuso ou redução)
Outras medidas
Especifique:
-
Comentários:
การเลี้ยงหมูในคอกที่ทำให้ไม่มีของเสีย/ทำลายสิ่งแวดล้อม
3.7 Principais tipos de degradação da terra abordados pela tecnologia
Degradação da água
- Hp: declínio da qualidade de água de superfície
Comentários:
ถ้าทำปศุสัตว์แบบปกติจะทำให้เกิดมลภาวะต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม
3.8 Redução, prevenção ou recuperação da degradação do solo
Especifique o objetivo da tecnologia em relação a degradação da terra:
- Reduzir a degradação do solo
Comentários:
นำปุ๋ยมูลหมูหลุมมาปรับปรุงบำรุงดิน
4. Especificações técnicas, implementação de atividades, entradas e custos
4.1 Desenho técnico da tecnologia
Especificações técnicas (relacionada ao desenho técnico):
1.โรงเรือนหมูหลุม
สร้างโรงเรือนบนพื้นที่ดอนที่ไม่มีน้ำท่วมขัง ไม่เทพื้นซีเมนต์ ใช้วัสดุที่หาได้ตามท้องถิ่น เช่น ไม้ไผ่ หญ้าคา เป็นต้น สร้างเป็นลักษณะเพิงหมาแหงนหรือหน้าจั่ว โดยให้โรงเรือนมีการระบายอากาศที่ดี
2. การเตรียมคอก
การเลี้ยงแบบนี้จะเป็นพื้นอ่อนและโรงเรือนจะต้องสัมพันธ์กับจำนวนหมู โดยใช้มีขนาดคอกกว้าง 4 x 4 เมตร สามารถเลี้ยงได้คอกละ8 ตัว ส่วนแม่หมูจะใช้คอกเล็กกว่าหมูขุน จะใช้คอกขนาด 2x3 เมตร เริ่มด้วยการขุดพื้นคอกลึกลงไป 60 เซนติเมตร (หรือก่ออิฐขึ้นมาก็ได้) ในการมุงหลังคานั้นควรให้ตีนชายคากว้างกันไม่ให้น้ำฝนสาดเข้ามาในคอก และเมื่อตีฝาคอกแล้วต้องใช้อิฐบล็อกหรือไม้ไผ่กั้นรอบๆ คอกลึกลงไปจากพื้นดินประมาณ 40-50 เซนติเมตร เพื่อกันไม่ใช่หมูขุดนอกคอกได้ (การกั้นฝาคอกควรติดตั้งประตูปิด-เปิดได้ไว้ เพื่อความสะดวกในการนำหมูเข้า-ออก)
3.การเตรียมวัสดุพื้นคอก
ปูพื้นคอกโดยใช้แกลบหนา 60 เซ็นติเมตร แล้วใช้แกลือเม็ด ครึ่งลิตรโรยหน้าแล้วใช้น้ำหมักชีวภาพ ผสมน้ำ 20 ลิตร ราดให้ทั่ว ช่วงนี้วัสดุพื้นคอกจะยังร้อนจากการทำงานของจุลินทรีย์ ทิ้งไว้ประมาณ 7 วัน จึงนำหมูเข้าอยู่ได้ และควรราดน้ำหมักชีวภาพลงบนพื้นคอกเพิ่มเติมทุกๆ 5 – 7 วัน ครั้งละ 10ลิตร ภายหลังจากเริ่มเลี้ยงหมูแล้วเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายสิ่งปฏิกูลต่างๆ
แกลบจะทำหน้าที่ดูดซับความชื้นของเสียต่างๆ ลดการเกิดแก๊สจากการสะสมของเสีย พื้นแกลบนุ่มเดินสบายเท้าทำให้ไม่มีปัญหาเล็บเท้าฉีกขาด หมูชอบขุดคุ้ยดินที่เย็นสบาย นอกจากนั้นไม่ต้องใช้แรงงานและน้ำจำนวนมากในการทำความสะอาดโรงเรือน แกลบที่ใช้รองพื้นเมื่อหมูอายุครบกำหนด ยังได้ขายเป็นปุ๋ยคอกอีกด้วย สภาพแวดล้อมโดยรอบแห้งสะอาด ไม่มีสิ่งปฏิกูลให้เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค
4.พันธุ์สุกร
พันธุ์สุกรที่นำมาเลี้ยงในลักษณะหมูหลุม ได้แก่สายพันธุ์ที่นิยมนำมาเลี้ยงจะเป็นลูกผสมสามสายพันธ์ คือ ดูร็อคเจอร์ซี่ + แลนด์เลซ + ลาร์จไวท์ โดยให้อยู่ในช่วงหย่านม ( ประมาณ 1 เดือน )
5.อาหารหมูหลุม อาหารข้นและอาหารหมัก ผสมในอัตราส่วน อาหารข้น 50% และอาหารหมัก 50% เพื่อลดต้นทุนค่าอาหาร นอกจากนี้ยังมีการเสริมหญ้าสดให้กินทุกวันด้วย โดยให้กินประมาณครึ่งกิโลกรัม ต่อตัว สำหรับอาหารหมัก จะใช้พืชจากธรรมชาติมาหมัก คือ หยวกกล้วย 100 กิโลกรัม น้ำตาลทรายแดง 4 กิโลกรัม เกลือ 1 กิโลกรัม หมักทิ้งไว้ประมาณ 4-5 วัน วัตถุดิบที่นำมาผสมเป็นอาหาร ต้องคัดเลือกว่ามาจากกระบวนการผลิตที่ไม่ใช้สารเคมี
การผลิตอาหารหมักชีวภาพในการเลี้ยงหมูหลุม น้ำหมักชีวภาพเป็นเทคโนโลยีชีวภาพท้องถิ่นที่ชาวบ้านสามารถทำเองได้โดยการนำเอาพืชผักผลไม้ซากสัตว์ไปหมัก โดยจุลินทรีย์ที่มีในบรรยากาศและกากน้ำตาลเป็นอาหารของจุลินทรีย์หรือการใช้หัวเชื้อที่คัดเลือก การใช้สารสกัดจากสมุนไพร และสารสกัดจากพืช โดยกระบวนการการหมักบ่มด้วยจุลินทรีย์ที่มีลักษณะจำเพาะ ด้วยระยะเวลาและวิธีการหมักบ่มที่เหมาะสมจะได้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นประโยชน์กับสัตว์การใช้สมุนไพรผงและการใช้น้ำหมักชีวภาพ ผสมน้ำ ให้สัตว์กิน เป็นการส่งเสริมสุขภาพให้กับสัตว์ สามารถป้องกันและรักษาโรค นอกจากนี้ยังมีการใช้สมุนไพร ในการฆ่าเชื้อและต้านทานเชื้อก่อโรค
6.การให้อาหารและน้ำ
1.หมูเล็ก น้ำหนัก 15-30 กก.ใช้ อาหารข้น:อาหารหมัก=2:1
2.หมูรุ่น น้ำหนัก 30-60 กก.ใช้ อาหารข้น:อาหารหมัก=1:1
3.หมูใหญ่ น้ำหนัก 60-ส่งตลาดใช้ อาหารข้น:อาหารหมัก=1:2
4.แม่พันธุ์ พ่อพันธุ์ ใช้ อาหารข้น:อาหารหมัก=1:2
ส่วนการให้น้ำ ให้ตามปกติ และควรมีถ้วยรองน้ำเพื่อไม่ให้แฉอะแฉะ
7. การให้ยาและการป้องกันโรค
1. ในการเสริมสร้างความแข็งแรงให้กับหมู ใช้น้ำหมักชีวภาพผสมน้ำให้หมูกิน แต่หากอาหารหรือน้ำไม่สะอาดพอ หมูอาจมีอาการท้องเสีย หรือขี้เหลวได้ (ซึ่งปกติไม่ค่อยเกิดบ่อยนัก) ต้องรักษาโดยนำใบฝรั่งสด ใบฟ้าทะลายโจรสด และเถาบอระเพ็ดเอาให้หมูกิน
2. ใช้ตาข่าย สำหรับกันยุงในเวลากลางคืน แต่หากเป็นพื้นที่ที่มีตัวริ้นชุกชุม ควรนำเอาตะไคร้หอมมาทุบแช่น้ำ แล้วฉีดพ่นให้หมูในช่วงหัวค่ำ
8. การดูแลหมูหลุม
1. ฉีดพ่นน้ำหมักชีวภาพที่พื้นคอกและตัวหมูทุก 7 วัน
2 .ทำความสะอาดบริเวณโรงเรือนทุกๆเดือน เติมขี้เถ้าแกลบ 1-2 กระสอบเดือนละครั้งต่อคอก
3. ตรวจสอบน้ำดื่มหมู เปลี่ยนที่เหลือสาดเข้าไปในคอกให้หญ้าสด,ผักสด ปริมาณ 1 ใน 3 ของอาหาร
Autor:
-
4.2 Informação geral em relação ao cálculo de entradas e custos
Especifique como custos e entradas foram calculados:
- por área de tecnologia
Indique o tamanho e a unidade de área:
27ไร่
Se utilizar uma unidade de área local, indicar fator de conversão para um hectare (por exemplo, 1 ha = 2,47 acres): 1 ha =:
-
Se for relevante, indique a taxa de câmbio do USD para moeda local (por exemplo, 1 USD = 79,9 Real): 1 USD =:
32,0
Indique a média salarial da mão-de-obra contratada por dia:
300บาทต่อวัน
4.3 Atividades de implantação
Atividade | Periodicidade (estação do ano) | |
---|---|---|
1. | การจัดการเลี้ยงหมูหลุม | 2 ครั้งต่อปี |
2. | การจัดการมูลจากหมูหลุม | 2 ครั้งต่อปี |
4.4 Custos e entradas necessárias para a implantação
Especifique a entrada | Unidade | Quantidade | Custos por unidade | Custos totais por entrada | % dos custos arcados pelos usuários da terra | |
---|---|---|---|---|---|---|
Mão-de-obra | 1.การจัดการเลี้ยงหมูหลุม | แรง | 210,0 | 300,0 | 63000,0 | 100,0 |
Mão-de-obra | 2.การจัดการอาหารหมูหลุม | แรง | 60,0 | 300,0 | 18000,0 | 100,0 |
Mão-de-obra | 3.การจัดการมูลหมูหลุม | แรง | 300,0 | 300,0 | 90000,0 | 100,0 |
Mão-de-obra | 4.การสร้างโรงเรือน | แรง | 120,0 | 300,0 | 36000,0 | 100,0 |
Material de construção | 1.ค่าวัสดุการสร้างโรงเรือน | โรง | 1,0 | 84000,0 | 84000,0 | 100,0 |
Outros | 1.ค่าอาหารการเลี้ยงหมูหลุม | ตัว | 90,0 | 3800,0 | 342000,0 | 100,0 |
Outros | 2.ค่าพันธุ์ลูกสุกร | ตัว | 90,0 | 1500,0 | 135000,0 | 100,0 |
Custos totais para a implantação da tecnologia | 768000,0 | |||||
Custos totais para o estabelecimento da Tecnologia em USD | 24000,0 |
Se o usuário da terra arca com menos que 100% dos custos, indique quem cobre os custos remanescentes:
-
Comentários:
-
4.5 Atividades recorrentes/manutenção
Atividade | Periodicidade/frequência | |
---|---|---|
1. | 1. การจัดการเลี้ยงหมูหลุม | 2 ครั้งต่อปี |
2. | 2. การจัดการอาหารหมูหลุม | 2 ครั้งต่อปี |
3. | 3. การจัดการมูลหมูหลุม | 2 ครั้งต่อปี |
Comentários:
-
4.6 Custos e entradas necessárias pata a manutenção/atividades recorrentes (por ano)
Especifique a entrada | Unidade | Quantidade | Custos por unidade | Custos totais por entrada | % dos custos arcados pelos usuários da terra | |
---|---|---|---|---|---|---|
Mão-de-obra | การจัดการเลี้ยงหมูหลุม | แรง | 210,0 | 300,0 | 63000,0 | 100,0 |
Mão-de-obra | การจัดกาอาหารรหมูหลุม | แรง | 60,0 | 300,0 | 18000,0 | 100,0 |
Mão-de-obra | การจัดการมูลหมูหลุม | แรง | 300,0 | 300,0 | 90000,0 | 100,0 |
Custos totais para a manutenção da tecnologia | 171000,0 | |||||
Custos totais de manutenção da Tecnologia em USD | 5343,75 |
Se o usuário da terra arca com menos que 100% dos custos, indique quem cobre os custos remanescentes:
-
Comentários:
-
4.7 Fatores mais importantes que afetam os custos
Descreva os fatores mais determinantes que afetam os custos:
ค่าแรง
5. Ambiente natural e humano
5.1 Clima
Precipitação pluviométrica anual
- <250 mm
- 251-500 mm
- 501-750 mm
- 751-1.000 mm
- 1.001-1.500 mm
- 1.501-2.000 mm
- 2.001-3.000 mm
- 3.001-4.000 mm
- > 4.000 mm
Especifique a média pluviométrica anual em mm (se conhecida):
1210,00
Especificações/comentários sobre a pluviosidade:
อยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมทีพัดเวียนประจําฤดูกาล 2 ชนิด คือพัดจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือในฤดูหนาวเรียกว่าลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ อิทธิพลของลมนี้ทําให้ บริเวณจังหวัดราชบุรีมีอากาศหนาวเย็นและแห้งแล้ง กับมรสุมอีกชนิดหนึงคือมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึง พัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ในฤดูฝน ทําให้อากาศชุ่มชืนและมีฝนตกทัวไป
Indique o nome da estação meteorológica de referência considerada:
-
Zona agroclimática
- úmido
-
5.2 Topografia
Declividade média:
- Plano (0-2%)
- Suave ondulado (3-5%)
- Ondulado (6-10%)
- Moderadamente ondulado (11-15%)
- Forte ondulado (16-30%)
- Montanhoso (31-60%)
- Escarpado (>60%)
Formas de relevo:
- Planalto/planície
- Cumes
- Encosta de serra
- Encosta de morro
- Sopés
- Fundos de vale
Zona de altitude:
- 0-100 m s.n.m.
- 101-500 m s.n.m.
- 501-1.000 m s.n.m.
- 1.001-1.500 m s.n.m.
- 1.501-2.000 m s.n.m.
- 2.001-2.500 m s.n.m.
- 2.501-3.000 m s.n.m.
- 3.001-4.000 m s.n.m.
- > 4.000 m s.n.m.
Indique se a tecnologia é aplicada especificamente em:
- Posições côncavas
Comentários e outras especificações sobre a topografia:
ราชบุรีเป็นจังหวัดทีมีเทือกเขาใหญ่น้อยเป็ นอันมาก โดยเฉพาะทางด้านตะวันตก ของจังหวัดมีเทือกเขาตะนาวศรี เป็ นแนวยาวกันเขตแดนไทยกับพม่า ทางตอนกลางของจังหวัดมีทีราบลุ่ม แม่นํ าแม่กลอง ซึงเหมาะแก่การเพาะปลูก และทางด้านตะวันออกเฉียงใต้เป็ นทีราบตํา ซึงได้รับอิทธิพลจาก การหนุนเนืองของนําทะเล
5.3 Solos
Profundidade do solo em média:
- Muito raso (0-20 cm)
- Raso (21-50 cm)
- Moderadamente profundo (51-80 cm)
- Profundo (81-120 cm)
- Muito profundo (>120 cm)
Textura do solo (solo superficial):
- Médio (limoso, siltoso)
Textura do solo (>20 cm abaixo da superfície):
- Médio (limoso, siltoso)
Matéria orgânica do solo superficial:
- Médio (1-3%)
Caso disponível anexe a descrição completa do solo ou especifique as informações disponíveis, p. ex. tipo de solo, PH/acidez do solo, nitrogênio, capacidade de troca catiônica, salinidade, etc.
-
5.4 Disponibilidade e qualidade de água
Lençol freático:
> 50 m
Disponibilidade de água de superfície:
Bom
Qualidade da água (não tratada):
apenas para uso agrícola (irrigação)
A salinidade da água é um problema?
Não
Ocorre inundação da área?
Não
Comentários e outras especificações sobre a qualidade e a quantidade da água:
-
5.5 Biodiversidade
Diversidade de espécies:
- Médio
Diversidade de habitat:
- Médio
Comentários e outras especificações sobre biodiversidade:
-
5.6 Características dos usuários da terra que utilizam a tecnologia
Sedentário ou nômade:
- Sedentário
Orientação de mercado do sistema de produção:
- Comercial/mercado
Rendimento não agrícola:
- Menos de 10% de toda renda
Nível relativo de riqueza:
- Rico
Indivíduos ou grupos:
- Indivíduo/unidade familiar
- Grupos/comunidade
Nível de mecanização:
- Trabalho manual
- Mecanizado/motorizado
Gênero:
- Homens
Idade dos usuários da terra:
- meia-idade
Indique outras características relevantes dos usuários da terra:
-
5.7 Área média de terrenos utilizados pelos usuários de terrenos que aplicam a Tecnologia
- < 0,5 ha
- 0,5-1 ha
- 1-2 ha
- 2-5 ha
- 5-15 ha
- 15-50 ha
- 50-100 ha
- 100-500 ha
- 500-1.000 ha
- 1.000-10.000 ha
- > 10.000 ha
É considerado pequena, média ou grande escala (referente ao contexto local)?
- Média escala
Comentários:
-
5.8 Propriedade de terra, direitos de uso da terra e de uso da água
Propriedade da terra:
- Indivíduo, intitulado
Direitos do uso da terra:
- Indivíduo
Direitos do uso da água:
- Indivíduo
Especifique:
-
Comentários:
-
5.9 Acesso a serviços e infraestrutura
Saúde:
- Pobre
- Moderado
- Bom
Educação:
- Pobre
- Moderado
- Bom
Assistência técnica:
- Pobre
- Moderado
- Bom
Emprego (p. ex. não agrícola):
- Pobre
- Moderado
- Bom
Mercados:
- Pobre
- Moderado
- Bom
Energia:
- Pobre
- Moderado
- Bom
Vias e transporte:
- Pobre
- Moderado
- Bom
Água potável e saneamento:
- Pobre
- Moderado
- Bom
Serviços financeiros:
- Pobre
- Moderado
- Bom
Comentários:
-
6. Impactos e declarações finais
6.1 Impactos no local mostrados pela tecnologia
Impactos socioeconômicos
Produção
Qualidade da safra
Comentários/especificar:
ดีขึ้นเนื่องจกกมีการใช่ปุ๋ยหมักจากมูลหมูหลุมที่มีคุณภาพ
Produção animal
Quantidade posterior à GST:
10%
Comentários/especificar:
ลดการตายของประชากรหมูหลุม
Risco de falha de produção
Comentários/especificar:
มีตลาดหลากหลาย
Diversidade de produtos
Comentários/especificar:
มีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย
Gestão de terra
Comentários/especificar:
แบ่งพื้นที่จัดการได้เหมาะสม
Disponibilidade e qualidade de água
Disponibilidade de água para criação de animais
Qualidade da água para criação de animais
Renda e custos
Rendimento agrícola
Diversidade de fontes de rendimento
Carga de trabalho
Comentários/especificar:
เอาใจใส่ในการผลิตมากขึ้น
Impactos socioculturais
Segurança alimentar/auto-suficiência
Comentários/especificar:
สามารผลิตได้อย่างยั่งยืน
Estado de saúde
Comentários/especificar:
สุขภาพแข็งแรง
Direitos do uso da terra/à água
Comentários/especificar:
มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มที่
Atenuação de conflitos
Comentários/especificar:
ทำให้ไม่มีกลิ่นเหม็นรบกวน
Impactos ecológicos
Solo
Ciclo e recarga de nutrientes
Comentários/especificar:
มีการนำมูลสุกรไปใช้ในพื้นที่
Salinidade
Comentários/especificar:
ปรับปรุงดินด้วยมูลหมูหลุม
Acidez
Comentários/especificar:
มีการใช้มูลหมูหลุมปรับปรุงดิน
Outros impactos ecológicos
ลดกลิ่นเหม็นในชุมชน
Comentários/especificar:
ลดกลิ่นจากการเลี้ยงหมูหลุม
ไม่มีของเสียจากการเลี้ยงสัตว์
6.2 Impactos externos mostrados pela tecnologia
Especificar a avaliação dos impactos fora do local (medidas):
-
6.3 Exposição e sensibilidade da tecnologia às mudanças climáticas graduais e extremos/desastres relacionados ao clima (conforme o ponto de vista dos usuários da terra)
Mudança climática gradual
Mudança climática gradual
Estação do ano | aumento ou diminuição | Como a tecnologia lida com isso? | |
---|---|---|---|
Temperatura anual | aumento | não bem | |
Temperatura sazonal | aumento | não bem |
Extremos (desastres) relacionados ao clima
Desastres biológicos
Como a tecnologia lida com isso? | |
---|---|
Doenças epidêmicas | não bem em absoluto |
Comentários:
ระบุสัตว์ตายมากขึ้น
6.4 Análise do custo-benefício
Como os benefícios se comparam aos custos de implantação (do ponto de vista dos usuários da terra)?
Retornos a curto prazo:
positivo
Retornos a longo prazo:
muito positivo
Como os benefícios se comparam aos custos recorrentes/de manutenção(do ponto de vista dos usuários da terra)?
Retornos a curto prazo:
positivo
Retornos a longo prazo:
muito positivo
Comentários:
-
6.5 Adoção da tecnologia
- 1-10%
Se disponível, determine a quantidade (número de unidades familiares e/ou área abordada):
จำนวนสมาชิกในกลุ่ม 15 ครัวเรือน
De todos aqueles que adotaram a Tecnologia, quantos o fizeram espontaneamente, ou seja, sem receber nenhum incentivo/ pagamento material?
- 0-10%
Comentários:
-
6.6 Adaptação
A tecnologia foi recentemente modificada para adaptar-se as condições variáveis?
Sim
Caso afirmativo, indique as condições variáveis as quais ela foi adaptada:
- Mercados dinâmicos
Especifique a adaptação da tecnologia (desenho, material/espécie, etc):
-คัดเลือกพันธุ์หมูหลุมให้เหมาะสม
-ลดหรือกำจัดกลิ่นเหม็นในการเลี้ยงหมูหลุม
6.7 Pontos fortes/vantagens/oportunidades da tecnologia
Pontos fortes/vantagens/oportunidades na visão do usuário da terra |
---|
1)มีวัสดุแลวัตถุดิบในพื้นที่ทำให้ช่วยลดต้นทุนการผลิต |
2)ได้ปุ๋ยที่เป็นประโยชน์สามารถนำไปเป็นธาตุอาหารให้กับพืชได้ |
3)ได้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย |
4)ไม่เป็นมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม ไม่มีกลิ่นรบกวนชุมชน |
5)สามารถเลี้ยงหมูหลุมในพื้นที่ชุมชนได้ |
6)เป็นอาชีพที่สามารถดำรงชีพได้อย่างยั่งยืน |
Pontos fortes/vantagens/oportunidades na visão do/a compilador/a ou de outra pessoa capacitada |
---|
1)มีพื้นที่ที่เหมาะสมกับการใช้เทคโนโลยี |
2)ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินมีความรู้ความสามารถเป็นอย่างดี |
3)มีการปรับให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในชุมชน |
4)เป็นบุคคลที่น่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับในสังคมและชุมชน |
6.8 Pontos fracos, desvantagens/riscos da tecnologia e formas de superá-los
Pontos fracos/desvantagens/riscos na visão do usuário da terra | Como eles podem ser superados? |
---|---|
1.กระบวนการและการเลี้ยงหมูหลุมใช้เวลามากกว่าปกติ | 1ควรวิจัยหาเทคนิคและวิธีการตลอดจนเทคโนโลยีเข้ามาช่วย |
2) ผลิตภัณฑ์จากหมูหลุมยังไม่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย | 2เสนอให้ทั้งภาครัฐและผู้ที่เกี่ยวข้องเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น |
3)ยังไม่มีการกำนดมาตรฐานการเลี้ยงหมูหลุม จากภาครัฐ | 3.ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรพิจารณากำหนดให้มีมาตรฐาน การเลี้ยงหมูหลุมเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ |
4)การเลี้ยงหมูหลุม ต้องมีพื้นที่ปลูกพืชอาหารเพื่อเป็นวัตถุดิบอาหารให้หมูที่ปลอดภัย | 4ให้พิจารณาดำเนินการแบบกล่มและ/หรือชุมชนมีส่วนร่วม |
Pontos fracos/vantagens/riscos na visão do/a compilador/a ou de outra pessoa capacitada | Como eles podem ser superados? |
---|---|
- |
7. Referências e links
7.1 Métodos/fontes de informação
7.2 Referências às publicações disponíveis
Título, autor, ano, ISBN:
-
Disponível de onde? Custos?
-
7.3 Links para informações on-line relevantes
Título/ descrição:
-
URL:
-
7.4 Comentários gerais
-
Links e módulos
Expandir tudo Recolher tudoLinks
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม (Zero Waste Pig Farm Technology Transfer Center) [Tailândia]
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดความรู้เรื่องการเลี้ยงหมูหลุม จากเกษตรกรผู้ประสบความสำเร็จไปยังเกษตรกรและผู้สนใจ รวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุมให้เป็นเวทีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
- Compilador/a: Kukiat SOITONG
Módulos
Não há módulos