Подходы

ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด จังหวัดจันทบุรี [Таиланд]

ศูนย์พัฒนาที่ดินวังโตนด

approaches_4247 - Таиланд

Просмотреть разделы

Развернуть все
Завершённость: 97%

1. Общая информация

1.2 Контактные данные специалистов и организаций, участвующих в описании и оценке Подхода

Ответственный (-ые) специалист (-ы)

co-compiler:
ผู้รวบรวม:

ไผผักแว่น นางสาวปาริชาติ

0-3721-0781 / 08-5920-8429

parichat19@hotmail.com / -

สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี

135/1ม. 5 ต.เนินหอม อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี

Таиланд

สนับสนุนปจัจัยการผลิต จัดพิมพ์เอกสาเผยแพร่ จัดอบรมและถ่ายทอดองค์ความรู้และสาธิตให้แก่เกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย:

ช่างถม นายเฉลิมชล

0-3932-2158 / 08-1872-9509

c.changthom@gmail.com / -

สำนักงานเกษตรจังหวัดจันทบุรี

1196 ถนนท่าแฉลบ ต. หน้าตลาด อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000

Таиланд

землепользователь:

กิ่งมณี นายบุญชัย

08-5217-3509 / -

- / -

เกษตรกร และเป็นหมอดินอาสาประจำหมู่บ้าน

25/2 ม. 7 ต. รำพัน อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี

Таиланд

землепользователь:

นางสาวกมลศินี

08-4781-2071 / -

pimg134082@gmail.com / -

เกษตรกร

44 หมู่ม. 4 ตำบล. วังโตนด อำเภอ. นายายอาม จังหวัด. จันทบุรี

Таиланд

землепользователь:

เมตตา นายจำรัส

08-7032-4142 / -

- / -

เกษตร

24 หมู่. 4 ตำบล. วังโตนด อำเภอ. นายายอาม จังหวัด. จันทบุรี

Таиланд

1.3 Условия, регламентирующие использование собранных ВОКАТ данных

Когда были собраны данные (на местах)?

03/10/2018

Составитель и ответственный/-ые специалист(-ы) согласны с условиями, регламентирующими использование собранных ВОКАТ данных:

Да

2. Описание Подхода УЗП

2.1 Краткое описание Подхода

ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด เป็นแหล่งเรียนรู้ การจัดการดินกรด และสร้างเครือข่ายเพื่อผลิตพริกไทยคุณภาพ ของจังหวัดจันทบุรี

2.2 Подробное описание Подхода

Подробное описание Подхода:

(1) อะไรคือลักษณะที่สำคัญหรือคุณลักษณะที่เห็นเด่นชัดของแนวทาง
ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด จังหวัดจันทบุรีเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการดินตื้น ดินกรด ดินเสื่อมโทรม เพื่อผลิตพริกไทยคุณภาพ เกษตรกรเจ้าของศุนย์ฯเป็นผู้มีความรู้และมีความพากภูมิใจในความสำเร็จจากการใช้เทคโนโลยี และมีความพร้อมที่จะถ่ายทอดความรู้นั้นไปสู่ชุมชนข้างเคียง โดยมีแปลงสาธืต ให้เยี่ยมชมดูงาน มีกระบวนการถ่ายทอด และมีความสามารถในการทำหน้าที่เป็นวิทยากรบรรยาย
2) อะไรคือเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของแนวทาง
ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด จังหวัดจันทบุรี มีเป้าหมายในการดำเนินงานเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการดินกรด ในการผลิตพริกไทยคุณภาพ และเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ปลูกพริกไทย
(3) วิธีการใดที่ถูกเอามาใช้
ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ยฯ มีวิธีการดำเนินงานประกอบด้วย
1.Technology Transfe-อบรม ดูงาน แปลงสาธิต นิทรรศการ สื่อสิ่งพิมพ์
2.การสร้างNetworking
3.การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
4.มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ เช่น Seedling ,fresh&Dry Peper products
5.การจัดแสดงผลงานนอกสถานที่ Exhibition
6.มีการนำสนอการวิเคราะห์ทางตลาด
r (4) ขั้นตอนของการเอาไปปฏิบัติใช้มีอันไหนบ้าง
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1 ภาครัฐ โดยหน่วยในพื้นที่ได้แก่ กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พิจารณาคัดเลือก สถานที่และเกษตรกรผุ้ประสบผลสำเร็จในการปลูกพริกไทย เป็นศูนย์เรียนรู้ฯ และให้การสนับสนุนในการดำเนินงาน เช่น ก่อสร้างอาคาร ปัจจัยผลิต เอกสารวิชาการเผยแพร่ ป้ายโฆษณา ค่าตอบแทน การจัดแสดงนอกสถานที่
2.มีการประชาสัมพันธ์ ศูนย์เรียนรู้ฯ ได้แก่ การติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ การออกแสดงแสดงนิทรรศการนอกสถานที่ ถ่ายVDOลงYoutube ออกรายทีวี การเป็นวิทยากร เผยแพร่ผ่านภาครัฐ
3 จัดทำแปลงสาธิต ได้แก่ การปรับปรุงดิน การปลูกพริกไทยคุณภาพ ธนาคารปุ๋ยอินทรีย การป้องกันกำจัศัตรูพืช โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ
4 จัดให้มีการ อบรม ศึกษา ดูงาน เยี่ยมชม โดยหน่วยงานภาครัฐ หรือ เกษตรกรสนใจเข้ามาศึกษาด้วยตนเอง
5.มีการสร้างเครือข่ายผู้ปลูกพริกไทย โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ และเกิดจากกล่มเกษตรกรที่เข้ามาศึกษาดูงานเอง ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเทคโนโลยี การร่วมกันจัดหาปัจจัยผลิต(seedling พริกไทย) ร่วมกันวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการตลาด
6.ภาครัฐให้การสนับสนุนเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับกล่ม/เครือข่ายจากการเรียนรู้ดูงาน เช่น ให้ความรู้ จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ปัจจัยการผลิต พาไปศึกษาดูงาน ส่งเสริมและพัฒนาการผลิคพริกไทย
7 จัดให้มีการจำหน่าย สินค้าและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง เช่น Seedling ผลิตภัณฑ์จากพริกไทย
8.มีการจัดตั้ง ธนาคารปุ๋ยอินทรีย เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มของเกษตรกร ร่วมกันผลิตปุ๋ยอินทรีย์ (ปุ๋ยหมัก ) โดยให้สมาชิกนำวัสดุอินทรีย์ (เช่น วัสดุเหลือใช้จากการเกษตร ซากพืช มูลสัตว์ )มาแลกกับปุ๋ยอินทรีย์ที่กลุ่มผลิต
9.พัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ศูนย์การเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ ด้วยการแสวงหาผู้ให้การสนับสนุน โดยการเสนอโครงการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ เช่น การเสนอโครงการแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ จาก อบจ.


(5) ผู้มีส่วนได้เสียมีผู้ใดที่เกี่ยวข้องและบทบาทของบุคคลเหล่านั้นมีอะไรบ้าง
ในการดำเนินงานของศูนย์เรียนรู้ฯ มีผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่
-เกษตรกรเจ้าของศูนย์ โดยมีบทบาท บริหารจัดการศูนย์ ฯ พัฒนาศูนย์ ถ่ายทอด
-กล่มผู้มาเรียนรู้ ศึกษาดูงาน ได้แก่ เกษตรกรทั่วไป หมอดิน นักเรียน/นักศึกษา
-กล่ม/เครือข่ายผู้ปลูกพริกไทย แลกเปลี่ยนรู้ การจัดการด้านการตลาด ซื้อ-ขาย
-ผุ้มีบทบาทให้การสนับสนุน( งบประมาณ การเผยแพร่ การเวทีเรียนรู้ดูงาน) ได้แก่ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ อบต อบจ สื่อมวลชน

(6) สิ่งที่ผู้ใช้ที่ดินชอบหรือไม่ชอบเกี่ยวกับแนวทาง
ประเด็นที่ เกษตรกร มีชอบในกระบวนของศูนย์เรียนรู้ ได้แก่
- การจัดทำศูนย์เรียนรู้ฯ ทำให้เกิด มีแหล่งเรียนรู้ ดูงาน เพื่อศึกษาหาข้อมูลไปแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพ
-ทำให้เกิดความมั่นคงในอาชีพในกล่มเกษตรกรผู้ปลูกพริกไทย เนื่องจากมีเครือข่ายคอยให้คำแนะนำเช่น ทำให้มีข้อมูลการผลิต ข้อมูลตลาด
- ทำให้เกิดมี่สังสรรค์ recreation ทำให้เกิดความสุขในการที่ได้มีโอกาสพบและแลกเปลี่ยน ซึ่งกันและกัน

2.3 Фотографии, иллюстрирующие Подход

2.4 Видеоматериалы по применению Подхода

Комментарий, краткое описание:

-

Дата:

10/05/2016

Место:

-

Автор съемки:

กรมพัฒนาที่ดิน

Комментарий, краткое описание:

-

Дата:

03/04/2017

Место:

-

Автор съемки:

รักษ์บ้านเกิด Rakbankerd.com

2.5 Страна/ регион/ место, где применялся Подход

Страна:

Таиланд

Административная единица (Район/Область):

จันทบุรี

Более точная привязка места:

35 หมู่. 4 ตำบล.วังโตนด อำเภอ. นายายอาม จังหวั.ด จันทบุรี

Комментарии:

คิดเห็น เดิมเป็นพื้นที่ปลูกไม้ผล (เงาะ ทุเรียน) แต่ประสบปัญหาผลผลิตล้นตลาด ราคาตกต่ำ ปรับเปลี่ยนมาปลูกพริกไทย แต่ประสบปัญหาดินและน้ำเป็นกรดจัด ลักษณะดิน คือ ชุดดินชุมพร เป็นดินตื้นปนกรวดลูกรัง ค่าปฏิกิริยาดินเป็นกรดรุนแรงมาก (pH 3.0) และมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ ก่อนปลูกพริกไทย ต้องฟื้นฟูและปรับสภาพความเป็นกรดของดินให้เหมาะสม โดยการใช้ปูนโดโลไมท์ เพื่อยกระดับ pH ของดินให้เพิ่มขึ้น ในทางอ้อมช่วยลดการระบาดของโรครากเน่าโคนเน่าและโรคแอนแทรคโนส การปลูกพริกไทยในดินลักษณะนี้ทำให้รายได้เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากพริกไทยมีราคารับซื้อสูง เมื่อเปรียบกับการปลูกไม้ผล เกษตรกรหลายคนจึงปรับเปลี่ยนมาปลูกพริกไทยตาม และมีการเผยแพร่องค์ความรู้เรื่องการปรับปรุงดินกรดก่อนปลูก จนจัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ เพื่อใช้เป็นจุดศึกษาดูงานและเผยแพร่องค์ความรู้สู่ชุมชน

2.6 Даты начала и окончания реализации Подхода

Год начала реализации:

2013

Если год начала реализации Подхода достоверно неизвестен, дайте примерную оценку:

менее 10 лет назад (недавняя)

Комментарии:

ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในด้านงบประมาณ ปัจจัยการผลิต สื่อ และเอกสารวิชาการ ตลอดจนส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ปูนโดโลไมท์ เพื่อผลิตพริกไทยคุณภาพ ให้เป็นที่รู้จักของเกษตรกรทั่วไป

2.7 Тип Подхода

  • в рамках проекта/ программы

2.8 Каковы цели/ задачи Подхода

ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด จังหวัดจันทบุรี มีเป้าหมายในการดำเนินงานเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการดินกรด ในการผลิตพริกไทยคุณภาพ และเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ปลูกพริกไทย

2.9 Условия содействующие применению Технологии/ Технологий в рамках Подхода или затрудняющие его

Социальные/ культурные/ религиозные нормы и ценности
  • содействуют

ไม่เป็นอุปสรรคต่อการถ่ายทอดองค์ความรู้และการนำเทคโนโลยีไปใช้

Наличие/ доступность финансовых ресурсов и услуг
  • содействуют

เกษตรกรที่เห็นความสำคัญของปัญหาในเรื่องดินกรด แม้มีงบประมาณน้อย เกษตรกรจะซื้อปูนโดโลไมท์ใช้เอง โดยสถาบันทางการเงินในพื้นที่พร้อมให้การสนับสนุน

Институциональные условия
  • содействуют

สำนักงานเกษตรจังหวัดและเกษตรอำเภอ กรมพัฒนาที่ดิน จัดสรรงบประมาณมาช่วยขับเคลื่อนการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพริกไทย ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัยและยั่งยืน (มีการจัดอบรม ศึกษาดูงานในพื้นที่ที่ประสบความสำเร็จ และ สนับสนุนปัจจัยการผลิต

Сотрудничество/ координация действий
  • содействуют

หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ จัดทำแผนของบประมาณจากกลุ่มจังหวัด เพื่อช่วยสนับสนุนเกษตรกรผู้ปลูกพริกไทย ที่ประสบปัญหาดินกรดจัด และปัญหาทางการเกษตรอื่น

Нормативно-правовая база (землевладение, права на земле- и водопользование)
  • содействуют

กฎหมายไม่มีข้อบังคับห้ามการใช้ปูนโดโลไมท์ในพื้นที่เกษตร

Программные документы/ руководящие установки
  • содействуют

เร่งฟื้นฟูทรัพยากรที่ดิน/ทรัพยากรดินเสื่อมโทรม

Управление земельными ресурсами (принятие решений, осуществление и контроль за выполнением)
  • содействуют

ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชให้เหมาะสมกับศักยภาพของดิน

Осведомленность в области УЗП, доступность технической поддержки
  • содействуют

องค์ความรู้ในเรื่องการจัดการดินกรดด้วยปูนโดโลไมท์ มีแพร่หลายและตรวจวัดได้
กรมพัฒนาที่ดิน ให้บริการตรวจวิเคราะห์ดิน สนับสนุนปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรด จัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ และธนาคารปุ๋ยอินทรีย์
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ ของจังหวัดจันทบุรี ร่วมบูรณาการจัดทำโครงการ FTA เพื่อช่วยเหลือ สนับสนุน และส่งเสริมเกษตรกรผู้ปลูกพริกไทยในพื้นที่ดินกรด

Рынки (для приобретения материалов и услуг, продажи продукции) и цены
  • содействуют

มีตลาดหรือแหล่งรับซื้อผลผลิตพริกไทยได้ราคาสูง เป็นแรงจูงใจให้เกษตรกรหันมาปลูกพริกไทยเพิ่มขึ้น

  • затрудняют

ปูนโดโลไมท์มีราคาแพง และต้องใช้ตามค่าวิเคราะห์ดินจึงจะเห็นผล

Объем работ, доступность рабочей силы
  • затрудняют

แรงงานในพื้นที่มีน้อย ส่วนใหญ่เป็นแรงงานผู้สูงอายุ

3. Участие и распределение ролей заинтересованных сторон

3.1 Заинтересованные стороны, участвующие в реализации Подхода и их роли

  • местные землепользователи/ местные сообщества

เกษตรกร

เห็นความสำคัญของปัญหาดินกรด ต้องมีการปรับปรุงดินกรดก่อนการปลูกพืช

  • организации местных сообществ

อบจ และอบต

.เป็นผู้ให้การสนับสนุนการดำเนินงาน งบประมาณ

  • эксперты по УЗП/ сельскому хозяйству

กรมพัฒนาที่ดิน

ให้บริการตรวจวิเคราะห์ดิน สนับสนุนปูนโดโลไมท์ จัดตั้งเป็นศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน และเชิญเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้แก่หมอดินอาสา และเกษตรกรทั่วไป

  • учителя/ преподаватели/ школьники / студенты

มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี

เชิญคุณภิรมย์ ไปเป็นวิทยากรบรรยายและดำเนินการจัดทำแปลงสาธิตการปรับปรุงดินกรดด้วยปูนมาร์ลในนาข้าว

  • государственные власти (отвечающие за планирование или принятие решений)

กรมพัฒนาที่ดิน

คัดเลือกให้เป็นตัวแทนเกษตรกร ร่วมจัดนิทรรศการเกี่ยวกับการใช้ปูนโดโลไมท์ในการผลิตพริกไทยคุณภาพ ในงานประชุมคณะรัฐมนตรีกลุ่มอาเซี่ยน ประจำปี พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมดุสิตธานี พัทยา ทำให้เทคโนโลยีได้รับการเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง

Если участвовало несколько заинтересованных сторон, назовите ведущую организацию:

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพริกไทยเพื่อลดผลกระทบการเปิดเสรีทางการค้า (FTA) เป็นโครงการร่วมระหว่าง ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี สำนักงานเกษตรจังหวัด และกรมวิชาการเกษตร ดำเนินการ 2 ปี (2557-2558) โดยมีกิจกรรมการศึกษาดูงานในพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จ ฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้ ตรวจ วิเคราะห์ดิน สนับสนุนปัจจัยการผลิต และพันธุ์พืช จัดทำแปลงสาธิต และตรวจสอบมาตรฐาน GAP รวมทั้งจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

3.2 Участие местных землепользователей/ местных сообществ на разных стадиях реализации Подхода
Участие местных землепользователей/ местных сообществ Перечислите участников и опишите их вовлеченность
инициирование/ мотивация интерактивное เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ดำเนินการ +เจ้าหน้าที่รัฐภายในพื้นที่
планирование интерактивное เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ดำเนินการ +เจ้าหน้าที่รัฐภายในพื้นที่
выполнение เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ดำเนินการ +เจ้าหน้าที่รัฐภายในพื้นที่
мониторинг/ оценка интерактивное เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ดำเนินการ +เจ้าหน้าที่รัฐภายในพื้นที่
- -

3.3 Схема реализации (если имеется)

Описание:

-

Автор:

-

3.4 Принятие решений по выбору Технологии/ Технологий УЗП

Укажите, кто принимал решение по выбору применяемой Технологии/ Технологий:
  • все участники как часть процесса совместных действий
Поясните:

กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ รู้ปัญหาดินและน้ำเป็นกรดจัด ปลูกพืชไม่ได้ผล ผลผลิตพืชตกต่ำ ได้รับการถ่ายทอดความรู้ในการปรับปรุงดินกรดด้วยปูนโดโลไมท์ จากหน่วยงานภาครัฐ และเกษตรกรเจ้าของเทคโนโลยี

Поясните на чём было основано принятие решений:
  • личный опыт и мнения (незадокументированные)

4. Техническая поддержка, повышение компетенций и управление знаниями

4.1 Повышение компетенций/ обучение

Проводилось ли обучение землепользователей/ других заинтересованных лиц?

Да

Укажите, кто проходил обучение:
  • землепользователи
Если существенно, укажите гендерный и возрастной состав, статус, этническую принадлежность и т.д.

อบรมหรือถ่ายทอดความรู้ ให้แก่ เกษตรกร หมอดินอาสา และผู้สนใจ

Тип обучения:
  • обмен опытом между фермерами
  • опытные участки
  • общие собрания
Рассматриваемые темы:

การใช้ผลิตภัณฑ์กรมพัฒนาที่ดินในการปรับปรุงบำรุงดิน

Комментарии:

เป็นการบรรยายถ่ายทอดความรู้ และศึกษาดูงานในพื้นที่จริง ในศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ

4.2 Консультационные услуги

Есть ли у землепользователей возможность получать консультации?

Да

Укажите, где именно оказываются консультационные услуги:
  • на полях землепользователей
  • в постоянно функционирующих центрах
Описание/ комментарий:

เกษตรกรที่สนใจ สามารถเข้ามาศึกษาเรียนรู้ ขอคำแนะนำ จากเกษตรกรเจ้าของเทคโนโลยีได้ ที่ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด อำเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี และสอบถามทางโทรศัพท์ หมายเลข 085-2788035

4.3 Институциональная (организационная) поддержка

В ходе реализации Подхода были ли организованы новые институциональные структуры или поддержаны уже существующие?
  • нет

4.4 Мониторинг и оценка

Являются ли мониторинг и оценка частью Подхода?

Да

Комментарии:

กรมพัฒนาที่ดิน มีการติดตามประเมินผลการใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะผลการตรวจวิเคราะห์ดิน (ค่า pH)

Если да, будет ли данный документ использоваться для мониторинга и оценки?

Да

Комментарии:

การติดตามผลวิเคราะห์ดินหลังการใช้เทคโนโลยี ทำให้เทคโนโลยีนี้มีความน่าเชื่อถือ และเป็นที่ยอมรับ

4.5 Научные исследования

Были ли научные исследования частью Подхода?

Нет

5. Финансирование и внешняя материальная поддержка

5.1 Годовой бюджет мероприятий по УЗП в рамках Подхода

Укажите годовой бюджет мероприятий УЗП в рамках Подхода в долларах США :

9753,00

Если точный годовой бюжет неизвестен, укажите примерный диапазон затрат:
  • 2000-10000
Комментарий (например, основные источники финансирования/ ключевые доноры):

กรมพัฒนาที่ดินและกรมส่งเสริมการเกษตร สนับสนุนการสร้างอาคารศูนย์ฯ ปัจจัยการผลิต ในการจัดทำแปลงสาธิตแผ่นป้ายเผยแพร่ความสำเร็จ ตลอดจนสนับสนุนการจัดตั้งธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ในพื้นที่

5.2 Финансирование и внешняя материальная поддержка, предоставляемая землепользователям

Предоставлялась ли землепользователям финансовая/ материальная поддержка для применения Технологии /Технологий?

Да

Если да, укажите тип(-ы) поддержки, кто ее предоставил и условия предоставления:

กรมพัฒนาที่ดิน ถ่ายทอดความรู้ในการปรับปรุงดินกรด สนับสนุนปูนโดโลไมท์และปัจจัยการผลิตอื่นๆ สำนักงานเกษตรจังหวัด/ ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี สนับสนุนปัจจัยการผลิต และถ่ายทอดความรู้ภายใต้โครงการ FTA และ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพริกไทย ในจังหวัดจันทบุรีให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัยและยั่งยืน

5.3 Субсидии на отдельные затраты (включая оплату труда)

  • сельскохозяйственные
Укажите, какие ресурсы были субсидированы В какой степени Опишите субсидии подробнее
семена профинансированы частично 13,200
удобрения профинансированы частично 100,000
ปูนโดโลไมท์ เชื้อจุลินทรีย์ทรีย์สารเร่ง พด.2 กากน้ำตาล และถังหมัก профинансированы частично 22,800
Если труд землепользователя был существенным вкладом, укажите, был ли этот вклад:
  • в обмен на другие материальные ресурсы
Комментарии:

-

5.4 Кредитование

Предоставлялись ли в рамках Подхода кредиты на мероприятия УЗП?

Нет

5.5 Другие методы или инструменты стимулирования

Использовались ли другие методы или инструменты стимулирования для продвижения Технологий УЗП?

Да

Если да, поясните:

1การจำหน่ายยอดพริกไทยSeedling แก่สมาชิกเครือข่าย ผู้เรียนรู้ดูงาน
2.ค่าตอบแทนการทำหน้าที่วิทยากร เผยแพร่ความรู้จากภาครัฐ
3.ทำให้เกิดชื่อเสียงแพร่หลาย เป้นที่รู้จัก ทำให้ยิ่งขายผลิตของศูนย์ได้มากขึ้น"
4 การได้รับรางวัลจากผลงานที่ทำ

6. Анализ влияния и заключительные положения

6.1 Влияние Подхода

Сумел ли Подход дать возможность принимать решения на основе подтвержденных фактов?
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

เกษตรกรที่ได้รับการถ่ายทอดความรู้ ตระหนักถึงปัญหาดินกรดจัด และเห็นความสำคัญของการแก้ไขปัญหา บางรายจึงลงทุนซื้อปูนโดโลไมท์มาใช้เอง โดยไม่รอภาครัฐสนับสนุน

Сумел ли Подход помочь землепользователям внедрить и поддерживать технологии УЗП?
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

เมื่อนำเทคโนโลยีไปใช้แล้วเกิดผลดี ดินดีขึ้น ช่วยป้องกันโรครากเน่าโคนเน่าในทางอ้อม และผลผลิตพืชดีขึ้น เกษตรกรข้างเคียงจึงนำไปปฏิบัติในพื้นที่ของตนเอง

Сумел ли Подход улучшить согласованность действий и повысить рентабельность применения практик УЗП:
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

มีกลุ่มเครื่อข่ายเกษตรกรหลายกลุ่ม ซึ่งมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มผลผลิตพืชของสมาชิกกลุ่ม

Сумел ли Подход расширить знания и возможности землепользователей в применении практик УЗП?
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเกษตรกรผู้ใช้เทคโนโลยีเอสแอลเอ็ม ศึกษาดูงานในพื้นที่ ตลอดจนภาครัฐจัดฝึกอบรมเพื่อถ่ายทอดความรู้และให้การสนับสนุนการดำเนินงาน

Сумел ли Подход расширить знания и возможности других заинтересованных сторон?
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

การแลกเปลี่ยนความรู้และศึกษาดูงานในพื้นที่ที่ประสบความสำเร็จ

Сумел ли Подход укрепить сотрудничество между заинтересоваными сторонами/ выстроить механизмы сотрудничества?
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

มีกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง

Сумел ли Подход стимулировать молодежь/ будущее поколение землепользователей заниматься УЗП?
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

การเผยแพร่ความรู้จากผู้ใช้เทคโนโลยีสู่เกษตรกรแปลงข้างเคียง ทำให้เกษตรกรรุ่นใหม่ ตระหนักถึงปัญหาดินกรดจัด และน้ำเทคโนโลยีเอสแอลเอ็มไปปฏิบัติในพื้นที่ มีการเผยแพร่ความสำเร็จของผู้ใช้เทคโนโลยีเอสแอลเอ็มผ่านสื่อทีวี ยูทูป การจัดนิทรรศการของหน่วยงานภาครัฐ ทำให้เกษตรกร นักเรียน นิสิต นักศึกษาสามารถเข้าถึงความรู้ได้

เทคโนโลยีช่วยฟื้นฟูและปรับปรุงดินกรด เกษตรกรผู้ใช้เทคโนโลยีส่วนใหญ่หันมาใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร ทำให้ได้ผลผลิตอาหารที่ปลอดภัย

Сумел ли Подход расширить доступ к рынкам?
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

ผลผลิตมีคุณภาพ เป็นที่ต้องการของตลาด

Сумел ли Подход привести к созданию новых рабочих мест/ к расширению возможностей получения дохода?
  • Нет
  • Да, немного
  • Да, умеренно
  • Да, существенно

ช่วงดำเนินการใช้เทคโนโลยี มีการจ้างแรงงานในพื้นที่

6.2 Основные причины, побуждающие землепользователей внедрять УЗП

  • рост продуктивности

pH ของดินสูงขึ้น ดินดีขึ้น เหมาะสำหรับการปลูกพืช
ทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น การผลิตในพื้นที่จึง
เพิ่มขึ้น

  • рост прибыли (доходности) и рентабельности

ผลผลิตเพิ่มขึ้น ราคาที่สูงขึ้น ทำให้เกษตรกรได้รับ
ผลตอบแทนมากขึ้น

  • снижение деградации земель

pH ของดินเพิ่มขึ้น ดินดีขึ้น

  • причастность к движению/ проекту/ группе/ сети

มีการรวมกลุ่ม และเครืื่อข่ายผู้ปลูกพริกไทย

  • приобретение знаний и опыта в области УЗП

เทคโนโลยีที่ใช้เห็นผลจริง ก่อให้เกิดการเรียนรู้และ
ปฏิบัติใช้อย่างแพร่หลาย

6.3 Долгосрочная устойчивость мероприятий в рамках Подхода

Могут ли землепользователи самостоятельно (без внешней поддержки) продолжать применение того, что было реализовано в рамках Подхода?
  • да
Если да, опишите как:

เกษตรกรผู้ใช้ที่ดินสามารถดำเนินการได้เองโดยไม่ต้องรอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ

6.4 Сильные стороны/ преимущества Подхода

Сильные стороны/ преимущества/ возможности по мнению землепользователей
1-มีแหล่งเรียนรู้ ดูงาน เพื่อศึกษาหาข้อมูลไปแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพ
2ทำให้เกิดความมั่นคงในอาชีพในกล่มเกษตรกรผู้ปลูกพริกไทย เนื่องจากมีเครือข่ายคอยให้คำแนะนำเช่น ทำให้มีข้อมูลการผลิต ข้อมูลตลาด
3 ทำให้เกิดมี่สังสรรค์ recreation ทำให้เกิดความสุขในการที่ได้มีโอกาสพบและแลกเปลี่ยน ซึ่งกันและกัน
4.มีการสนับสนุนจากภาครัฐ อย่างต่อเนื่อง
5.ทำให้เกิดช่องทางและโอกาสในการเรียนรู้มากขึ้น
Сильные стороны/ преимущества/ возможности по мнению составителя или других ключевых специалистов
1) หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ เห็นความสำคัญของการฟื้นฟูและปรับปรุงดินเสื่อมโทรม และการเพิ่มผลผลิตพืชในพื้นที่ จึงสนับสนุนงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ตลอดจนถ่ายทอดความรู้ ทำให้ชุมชน และกลุ่มเกษตรกรเข้มแข็ง

6.5 Слабые стороны/ недостатки Подхода и пути их преодоления

Слабые стороны/ недостатки/ риски по мнению землепользователей Возможные пути их преодоления/снижения?
- -
- -
- -
Слабые стороны/ недостатки/ риски по мнению составителя или ответственных специалистов Возможные пути их преодоления/снижения?
- -
- -
- -

7. Справочные материалы и ссылки

7.1 Методы сбора/источники информации

  • опросы землепользователей

5

  • опросы специалистов/экспертов по УЗП

1

7.2 Ссылки на опубликованные материалы

Название, автор, год публикации, ISBN:

-

Где опубликовано? Стоимость?

-

7.3 Ссылки на материалы, доступные онлайн

Название/ описание:

-

Адрес в сети Интернет:

-

Модули