แนวทาง

The Upland Community Disaster Risk Reduction Project [ลาว]

approaches_3218 - ลาว

สมบูรณ์: 89%

1. ข้อมูลทั่วไป

1.2 รายละเอียดที่ติดต่อได้ของผู้รวบรวมและองค์กรที่เกี่ยวข้องในการประเมินและการจัดเตรียมทำเอกสารของแนวทาง

วิทยากรหลัก

ผู้ใช้ที่ดิน:

Malichanse Soukkaseum

smalychansy@gmail.com

Oxfam Australia in Saravan province

ลาว

District steering committee:

Vilaysak Seuth

Taouy District of Agriculture and Forestry Office

ลาว

District steering committee:

Keokhamma Boutsa

ໍ+8562099704868

TaOuy District Labour and Social Welfare Office

ลาว

ชื่อของโครงการซึ่งอำนวยความสะดวกในการทำเอกสารหรือการประเมินแนวทาง (ถ้าเกี่ยวข้อง)
Scaling-up SLM practices by smallholder farmers (IFAD)
ชื่อของโครงการซึ่งอำนวยความสะดวกในการทำเอกสารหรือการประเมินแนวทาง (ถ้าเกี่ยวข้อง)
National Agriculture and Forestry Research Institute (NAFRI) - ลาว

1.3 เงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการใช้ข้อมูลที่ได้บันทึกไว้ผ่านทาง WOCAT

วันที่เก็บรวบรวมข้อมูล (ภาคสนาม):

31/08/2017

ผู้รวบรวมและวิทยากรหลักยอมรับเงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลที่ถูกบันทึกผ่านทาง WOCAT:

ใช่

2. คำอธิบายของแนวทาง SLM

2.1 การอธิบายแบบสั้น ๆ ของแนวทาง

The disaster risk reduction project in upland communities aims to increase understanding about disaster management, disaster risk reduction, and community resilience. The main activities include emergency response during floods/droughts, reduction of impacts from disease outbreaks, livestock revolving funds, and village rice banks.

2.2 การอธิบายอย่างละเอียดของแนวทาง

การอธิบายอย่างละเอียดของแนวทาง:

The disaster risk reduction project in upland communities was established after the Ketsana typhoon hit the southern region of Lao PDR in 2008, causing significant losses to assets, infrastructure, and agricultural land. The project was approved by the Ministry of Labour and Social Welfare, and Ministry of Planning and Investment to be implemented at community level through a project steering committee which included the deputy provincial governor. The district governor was the project director at the local level based on an action plan developed by the ministries concerned with assistance from Oxfam Australia. This action plan was aimed at disaster prevention and control. The project coordinators came from the relevant government agencies including the District Labour and Social Welfare Office, the District Agriculture and Forestry Office, the District Administration Office, the District Health Office, the District of Natural Resources and Environment Office, and mass organizations (Women’s Union, Youth Union, Trades Union, and Lao Front for National Construction). The key project aims are to increase understanding about disaster management, disaster risk reduction, and community resilience. The main activities to be implemented include emergency response during floods/droughts, reduction of impacts from disease outbreaks, livestock revolving funds, and village rice banks. In the agriculture sector, the project promotes integrated crop cultivation (maize, beans, lemons, etc), a particular rice planting method termed SRI (System of Rice Intensification), and household gardens. In addition, Oxfam Australia and the local government of Lao PDR in cooperation with Care International (Xekong Province), and the World Food Programme provided emergency response and relief, and sanitation. Although there are a number of organizations which have contributed to disaster risk reduction and emergency response, constraints remain such as the implementation of limited life projects, inadequate funding, and a lack of coordination in the province and districts.. Village Committees for Disaster Prevention and Control have been established with regular meetings and disaster awareness campaign activities implemented. The project outcomes demonstrated that the communities are satisfied with their active participation.

2.3 รูปภาพของแนวทาง

2.5 ประเทศ ภูมิภาค หรือสถานที่ตั้งที่ได้นำแนวทางไปใช้

ประเทศ:

ลาว

ภูมิภาค/รัฐ/จังหวัด: :

Saravan province

ข้อมูลเฉพาะเพิ่มเติมของสถานที่ตั้ง:

Taouy district

2.6 วันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดของแนวทาง

ระบุปีที่เริ่ม:

2008

ถ้าไม่รู้ปีที่แน่นอนให้ประมาณวันที่ที่ริเริ่มใช้แนวทางนี้ :

น้อยกว่า 10 ปี (เร็วๆนี้)

การสิ้นสุดลง (ถ้าแนวทางไม่ได้ใช้อีกต่อไป):

2014

ความคิดเห็น:

There have been two different phase of project implementation. The first phase was from 1999-2001 and the second phase was 2008-2014.

2.7 ประเภทของแนวทาง

  • ใช้โครงงานหรือแผนงานเป็นฐาน

2.8 เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์หลักของแนวทาง

The objectives of the project are to increase understanding about disaster management, disaster risk reduction, and community development in disaster impacted areas.

2.9 เงื่อนไขที่เอื้ออำนวยหรือเป็นอุปสรรคต่อการนำเทคโนโลยีภายใต้แนวทางนี้ไปปฏิบัติใช้

บรรทัดฐานและค่านิยมทางสังคม วัฒนธรรม ศาสนา
  • เอื้ออำนวย

Gender aspect – the project changed immoral traditional and cultural beliefs of people by encouraging men to have more involvement in household activities with women.

  • เป็นอุปสรรค

The two different farmer’s groups in the village do not want to work together - including on establishment of village rice banks and water borehole drilling.

การมีไว้ให้หรือการเข้าถึงแหล่งการเงินและบริการ
  • เอื้ออำนวย

Provide greater opportunities to vulnerable households to participate in the project, encourage local communities to access finance and animals for their own operations.

การจัดตั้งระดับองค์กร
  • เอื้ออำนวย

Established the district and village committees levels in order to support the construction and administration work.

การร่วมมือหรือการทำงานประสานกันของผู้ลงมือปฏิบัติ
  • เอื้ออำนวย

Regular collaboration with various levels including provincial, district and village.

กรอบแนวทางในการดำเนินการด้านกฎหมาย (การถือครองที่ดิน สิทธิในการใช้ที่ดินและน้ำ)
  • เอื้ออำนวย
นโยบาย
  • เอื้ออำนวย
การกำกับดูแลที่ดิน (การตัดสินใจ การนำเอาไปปฏิบัติใช้ และการบังคับใช้)
  • เอื้ออำนวย
ความรู้เกี่ยวกับ SLM การเข้าถึงการสนับสนุนด้านเทคนิค
  • เอื้ออำนวย
ตลาด (จัดซื้อปัจจัยนำเข้า ขายผลิตภัณฑ์) และราคา
  • เอื้ออำนวย

Set up the Chinese pear selling group

ปริมาณงานที่ทำได้ กำลังคนที่มีให้
  • เอื้ออำนวย

3. การมีส่วนร่วมและบทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง

3.1 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องในแนวทางนี้และบทบาท

  • ผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นหรือชุมชนระดับท้องถิ่น

Farmer’s group

Implementer

  • องค์กรที่ขึ้นอยู่กับชุมชน

Village authorities and village organisation

Approve, certify and dissemination of key information

  • ผู้เชี่ยวชาญ SLM หรือที่ปรึกษาการเกษตร

District Agriculture and Forestry Office staffs

Supervise the project implementation and provide training

  • องค์กรพัฒนาเอกชน

Oxfam Project Staffs

Supervise the project implementation and provide training

  • รัฐบาลระดับท้องถิ่น

Provincial Agriculture and Forestry Office and District of Agriculture and Forestry Office staffs

Leading, monitoring the implementation of the project and provide training

  • รัฐบาลแห่งชาติ (ผู้วางแผน ผู้ทำการตัดสินใจ)

Central Administrative Office in Vientiane and Ministries level.

Consultaition and approve the project implementation at national level.

  • องค์การระหว่างประเทศ

Oxfam International Office

Financial support

3.2 การเกี่ยวข้องของผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นหรือชุมชนระดับท้องถิ่นในช่วงต่างๆของแนวทาง
ความเกี่ยวข้องของผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นหรือชุมชนระดับท้องถิ่น ระบุผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องและอธิบายกิจกรรม
การริเริ่มหรือการจูงใจ ปฏิสัมพันธ์
การวางแผน ปฏิสัมพันธ์
การดำเนินการ ปฏิสัมพันธ์
การติดตามตรวจสอบหรือการประเมินผล ปฏิสัมพันธ์
Field exchange ปฏิสัมพันธ์ Facilitate 20 staff and training on disaster management and 7 farmers from each village conducted the field exchange on rice production technologies.

3.3 แผนผังแสดงขั้นตอนการทำงาน (ถ้ามี)

ผู้เขียน:

Pasalath KHOUNSY

3.4 การตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยี SLM

ระบุผู้ที่ทำการตัดสินใจเลือกเทคโนโลยีมากกว่าหนึ่งวิธีไปปฏิบัติใช้:
  • ผู้ลงมือปฏิบัติที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในฐานะที่เป็นส่วนรวมของแนวทาง
ระบุว่าการตัดสินใจตั้งอยู่บนพื้นฐานของ:
  • การประเมินความรู้ SLM ที่ได้ทำการบันทึกไว้เป็นอย่างดี (การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ)
  • ประสบการณ์และความคิดเห็นส่วนตัว (ไม่ได้ลงบันทึกไว้)

4. การสนับสนุนด้านเทคนิค การสร้างขีดความสามารถ และการจัดการด้านความรู้

4.1 การสร้างขีดความสามารถ / การอบรม

ได้มีการจัดอบรมให้แก่ผู้ใช้ที่ดินหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคนอื่น ๆ หรือไม่:

ใช่

ให้ระบุว่าใครเป็นผู้ได้รับการอบรม:
  • ผู้ใช้ที่ดิน
  • เจ้าหน้าที่ภาคสนาม / ที่ปรึกษา
รูปแบบการอบรม:
  • กำลังดำเนินการ
  • เกษตรกรกับเกษตรกร
หัวข้อที่พูด:

The fund management, water supply uses, rice bank, veterinary, chicken raising, aquaculture, rice production, disaster risk preparedness and response, typhoon, forest fires, disaster warning equipment.

4.2 การบริการให้คำแนะนำ

ผู้ใช้ที่ดินมีการเข้าถึงการรับบริการให้คำปรึกษาหรือไม่:

ใช่

ระบุว่ามีบริการให้คำปรึกษาหรือไม่:
  • ไปเยี่ยมชมสถานที่
การอธิบาย/แสดงความคิดเห็น:

Once per month

4.3 การเสริมความแข็งแกร่งให้กับสถาบัน (การพัฒนาองค์กร)

สถาบันได้รับการจัดตั้งขึ้นมาหรือเสริมความแข็งแกร่งโดยแนวทางนี้หรือไม่:
  • ใช่ ปานกลาง
ระบุระดับของสถาบันที่ได้รับการเสริมความแข็งแกร่งหรือจัดตั้งขึ้นมา:
  • ท้องถิ่น
อธิบายถึงสถาบัน บทบาทและความรับผิดชอบ สมาชิก เป็นต้น:

The district and village committees for disaster prevention and control are responsible for supervising, acting as focal points and reporting to the provincial and central levels.

ระบุประเภทของการให้ความช่วยเหลือสนับสนุน:
  • ด้านการเงิน
  • การสร้างขีดความสามารถ / การอบรม
  • อุปกรณ์

4.4 การติดตามตรวจสอบและประเมินผล

การติดตามตรวจสอบและประเมินผลเป็นส่วนหนึ่งของแนวทางหรือไม่:

ใช่

ความคิดเห็น:

The M&E team of the Oxfam project organized a monthly monitoring meeting involving collaboration with the community board at village and district levels.

ถ้าตอบว่าใช่ แสดงว่าการจัดเตรียมเอกสารนี้มุ่งหวังที่จะเอาไปใช้สำหรับการติดตามตรวจสอบและประเมินผลใช่หรือไม่:

ใช่

4.5 การวิจัย

การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของแนวทางหรือไม่:

ใช่

ระบุหัวข้อเรื่อง:
  • เทคโนโลยี
ให้ข้อมูลเพิ่มเติมและให้ระบุผู้ทำการวิจัย:

A number of potentially appropriate activities have been modified to fit local conditions, such as: promotion economics / marketing of animal breeds that people never raised before.

5. การสนับสนุนด้านการเงินและวัสดุอุปกรณ์

5.1 ระบุงบประมาณประจำปีสำหรับแนวทาง SLM นี้

ระบุงบประมาณประจำปีสำหรับแนวทาง SLM นี้ เป็นหน่วยดอลลาร์สหรัฐ:

100000.00

ถ้าหากว่างบประมาณประจำปีไม่เป็นที่ทราบแน่นอน ให้ระบุช่วงลงไป:
  • 10,000-100,000
แสดงความคิดเห็น (แหล่งของการระดมทุน ผู้บริจาคคนสำคัญ):

AUSAid funding source

5.2 การสนับสนุนด้านการเงิน / วัสดุอุปกรณ์ให้แก่ผู้ใช้ที่ดิน

ผู้ใช้ที่ดินได้รับการสนับสนุนด้านการเงิน / วัสดุอุปกรณ์ไปปฏิบัติใช้เทคโนโลยีหรือไม่:

ใช่

ถ้าใช่ ให้ระบุประเภทของการสนับสนุน เงื่อนไขและผู้จัดหามาให้:

Financial supported by AUSAid and implemented by Oxfam Australia

5.3 เงินสนับสนุนสำหรับปัจจัยนำเข้า (รวมถึงแรงงาน)

  • แรงงาน
เห็นด้วยระดับไหน ระบุเงินสนับสนุน
ได้รับการช่วยเหลือทางการเงินแบบเต็ม local communities supplied labor and the project paid for this
  • วัสดุสำหรับการก่อสร้าง
ระบุปัจจัยนำเข้าที่ได้รับการสนับสนุน เห็นด้วยระดับไหน ระบุเงินสนับสนุน
หิน ได้รับการช่วยเหลือทางการเงินแบบเต็ม
ไม้ ได้รับการช่วยเหลือทางการเงินบางส่วน Villagers
  • โครงสร้างพื้นฐาน
ระบุปัจจัยนำเข้าที่ได้รับการสนับสนุน เห็นด้วยระดับไหน ระบุเงินสนับสนุน
ถนน ได้รับการช่วยเหลือทางการเงินแบบเต็ม Project
โรงเรียน ได้รับการช่วยเหลือทางการเงินแบบเต็ม Project
ถ้าแรงงานโดยผู้ใช้ที่ดินเป็นปัจจัยนำเข้าที่มีอยู่มากมาย ระบุด้วยว่าเนื่องจาก:
  • อาหารสำหรับการทำงาน

5.4 เครดิต

มีการจัดหาเครดิตมาให้ภายใต้แนวทาง SLM หรือไม่:

ไม่ใช่

5.5 แรงจูงใจหรือเครื่องมืออื่น ๆ

แรงจูงใจหรือเครื่องมืออื่น ๆ ได้ถูกนำไปใช้ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี SLM หรือไม่:

ไม่ใช่

6. การวิเคราะห์ผลกระทบและการสรุป

6.1 ผลกระทบของแนวทาง

ทำให้ผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นมีอำนาจขึ้น ปรับปรุงการเข้าร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ดีขึ้นหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก
ช่วยในการตัดสินใจโดยดูจากหลักฐาน ได้หรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก
ช่วยให้ผู้ใช้ที่ดินนำเอาเทคโนโลยี SLMไปใช้และบำรุงรักษาสภาพไว้ได้หรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก
ปรับปรุงความร่วมมือกันและการดำเนิน งานของ SLM ได้อย่างมีประสิทธิผลหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก
ระดมกำลังหรือปรับปรุงการเข้าถึงแหล่ง เงินทุนสำหรับการดำเนินการ SLM หรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก
ปรับปรุงความรู้และความสามารถของผู้ใช้ที่ดินในการดำเนินการ SLM หรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก
ปรับปรุงความรู้และความสามารถของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคนอื่น ๆ ให้ดีขึ้นหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก
ทำให้ผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นมีอำนาจขึ้น ปรับปรุงการเข้าร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ดีขึ้นหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก
ช่วยบรรเทาความขัดแย้งหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก
ทำให้กลุ่มด้อยโอกาสมีอำนาจทางสังคมและเศรษฐกิจหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก
ปรับปรุงความทัดเทียมกันด้านเพศและให้อำนาจแก่ผู้หญิงและเด็กผู้หญิงหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก
ส่งเสริมให้เยาวชนหรือบุตรหลานของผู้ใช้ที่ดินให้เข้าร่วมใน SLM:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก
นำไปสู่ความมั่นคงด้านอาหารหรือปรับปรุงโภชนาการให้ดีขึ้น:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก
ปรับปรุงการเข้าถึงตลาดหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก
นำไปสู่การเข้าถึงเรื่องน้ำและสุขาภิบาลได้ดีขึ้นหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก
ปรับปรุงความสามารถของผู้ใช้ที่ดินในการปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศหรือสภาพที่รุนแรงและภัยพิบัติหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

The end of project, there is no follow up activity but some activity were went well especially for the rice bank.

นำไปสู่โอกาสในการจ้างงาน รายได้หรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

Some people have learned from the project and gained useful knowledge and experiences which has enabled them to find other employment opportunities.

6.2 แรงจูงใจหลักของผู้ใช้ที่ดินเพื่อที่จะนำ SLM ไปปฏิบัติใช้

  • การผลิตที่เพิ่มขึ้น
  • กำไร (ความสามารถ) อัตราส่วนค่าใช้จ่ายต่อผลประโยชน์ที่เพิ่มขึ้น
  • ความเสี่ยงของภัยพิบัติลดลง
  • ภาระงานลดลง
  • กฎและระเบียบ (ค่าปรับ) หรือการบังคับใช้
  • การเข้าร่วมสมทบในขบวนการ โครงการ กลุ่ม เครือข่าย
  • จิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อม
  • ประเพณีและความเชื่อ ศีลธรรม
  • ความรู้และทักษะ SLM ที่เพิ่มพูนขึ้น

6.3 ความยั่งยืนของกิจกรรมของแนวทาง

ผู้ใช้ที่ดินสามารถทำให้สิ่งต่างๆ ที่ได้ปฏิบัติใช้โดยแนวทางนี้ยั่งยืนได้หรือไม่ (โดยไม่มีการสนับสนุนจากภายนอก):
  • ใช่
ถ้าตอบว่าใช่ ให้อธิบายว่าอย่างไร :

The rice production and animal breeding groups are able to maintain their initiatives. Gravity fed water supply system, school, road have been supported by other development organizations.

6.4 จุดแข็งและข้อได้เปรียบของแนวทาง

จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบของแนวทางในทัศนคติของผู้ใช้ที่ดิน
Project implementation plan is parallel with the district development strategy and meets the needs of local people.
Build understanding on project management, project coordination in each level.
Continuous project monitoring for approximately 3 – 5 years.
Mobilization for participation in activities.
จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบของแนวทางในทัศนคติของผู้รวบรวมหรือวิทยากรหลัก
The project apply the participatory approach from early stage until monitoring phase.
Promotion of all concerned agencies and offices.
Detailed assessment for capacity building in planning for equipment/material supply, vehicles, staff visit the villages regularly.

6.5 จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบของแนวทางและวิธีในการแก้ไข

จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบในทัศนคติของผู้ใช้ที่ดิน สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างไร
The staff lack appropriate knowledge and skills Provide more training on technical knowledges and skills and other relevant topics.
There is still a large gap to understanding on certain topics between officials and local communities. On-the-job training, use video as a means for communication to increase local people’s understanding.
Dependency on project and government to implement activities.
Some immoral traditional and cultural beliefs are still hindering development efforts. It is recommended to increase awareness of village elders who can then influence the local people.
จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบในทัศนคติของผู้รวบรวมหรือวิทยากรหลัก สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างไร
Lack of financial resources to monitor project activities.
There were issues with repayment to village development fund, animal revolving fund in order to rotate to other households. The need to have a robust contract and revise regulations.
Delayed supply of materials which is impact to late activity implementation.
Hand over of responsibilities to persons with insufficient capability. Consider to transfer the activity to local implementers.

7. การอ้างอิงและการเชื่อมต่อ

7.1 วิธีการหรือแหล่งข้อมูล

  • ไปเยี่ยมชมภาคสนาม การสำรวจพื้นที่ภาคสนาม

1 time

  • การสัมภาษณ์กับผู้ใช้ที่ดิน

2 land users

  • การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้าน SLM หรือผู้ชำนาญ

1SLM expertise

โมดูล