This is an outdated, inactive version of this case. Go to the current version.
เทคโนโลยี
ไม่มีการใช้งาน

Bio-fermentation technology for soil improvement

  • ผู้สร้างสรรค์:
  • การอัพเดท:
  • ผู้รวบรวม:
  • ผู้เรียบเรียง:
  • ผู้ตรวจสอบ: ,

Num Mak She Wa Parp

technologies_4233

สมบูรณ์: 94%

1. ข้อมูลทั่วไป

1.2 รายละเอียดที่ติดต่อได้ของผู้รวบรวมและองค์กรที่เกี่ยวข้องในการประเมินและการจัดเตรียมทำเอกสารของเทคโนโลยี

วิทยากรหลัก

ผู้เชี่ยวชาญ SLM:
ผู้รวบรวม:

ดุรงค์กาญจน์ นายสาโรช

สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 กรมพัฒนาที่ดิน

ไทย

ผู้ใช้ที่ดิน:

สนลอย นางวันเพ็ญ

เกษตรกร และหมอดินอาสาประจำจังหวัดปราจีนบุรี กรมพัฒนาที่ดิน

ไทย

ผู้เชี่ยวชาญ SLM:

สนลอย นางวันเพ็ญ

เกษตรกร และหมอดินอาสาประจำจังหวัดปราจีนบุรี กรมพัฒนาที่ดิน

ไทย

ผู้เชี่ยวชาญ SLM:

สนลอย นางวันเพ็ญ

เกษตรกร และหมอดินอาสาประจำจังหวัดปราจีนบุรี กรมพัฒนาที่ดิน

ไทย

1.3 เงื่อนไขการใช้ข้อมูลที่ได้บันทึกผ่านทาง WOCAT

ผู้รวบรวมและวิทยากรหลักยอมรับเงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลที่ถูกบันทึกผ่านทาง WOCAT:

ใช่

1.4 การเปิดเผยเรื่องความยั่งยืนของเทคโนโลยีที่ได้อธิบายไว้

เทคโนโลยีที่ได้อธิบายไว้นี้เป็นปัญหาของความเสื่อมโทรมโทรมของที่ดินหรือไม่ จึงไม่ได้รับการยอมรับว่าเป็นเทคโนโลยีเพื่อการจัดการที่ดินอย่างยั่งยืน:

ไม่ใช่

แสดงความคิดเห็น:

การใช้เทคโนโลยีชีวภาพในพื้นที่ดินค่อนข้างเป็นทราย เสื่อมโทรม ช่วยปรับปรุงโครงสร้างดิน เพิ่มจุลินทรีย์ในดิน ทำให้ดินร่วนซุย ช่วยลดการใช้สารเคมี และช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม

2. การอธิบายลักษณะของเทคโนโลยี SLM

2.1 การอธิบายแบบสั้น ๆ ของเทคโนโลยี

คำจำกัดความของเทคโนโลยี:

Bio-fermentation technology for soil improvement is an alternative technology that helps to restore degraded land from intensive land usage which lack of soil improvement to get back to be the soil productivity that can provide effective production.

2.2 การอธิบายแบบละเอียดของเทคโนโลยี

คำอธิบาย:

The area has chemical and physical degradation problems. The area is the lowland. The soil is quite sandy. The soil structure is poor which the draining system is quite bad. The organic matter, soil nutrients and soil fertility is low.
Farmers use the land to grow rice but have the low rice yield. Farmers have changed their rice fields to grow their crops instead.






Which changing the area from the normal rice field by digging the ditch for 1 meter wide on growing area, 1 meter wide for the drain and 0.80 meters deep)that grow durian, banana, lime, vegetable (Climbing Wattle)
The weed management by using chemicals and chemical fertilizers in the high rate continuously to make the soil degrade or dense and grow the ineffective crops.

Bio-fermentation technology for soil improvement consists of the production of 3 types of biological fermentation and the usage of 3 types of biological fermentation as follows:
1. Product Processions of bio-fermented water
The methods of the 3 types bio-fermented producing are as follows.
1.1 Production of bio-fermented from the fish fraction by using the Microbial Activators from LDD.
1.2. Production of photosynthetic microorganisms
1.3 Production of Bio-Fermented Water from rice flour water
2. How to use the bio-fermentation to improve the soil



Mix the three bio-nutrients at a rate of 1: 1: 1 per 200 litters of water and spray or pour on the ground every 3 days or use sprinkler system by releasing the bio-fermented water mix with water for 10 minutes followed and wash it with water for 3 minutes for 3 years (at the beginning of the growing season).
The usage of Bio-fermentation technology to improve the soil has the objective is to restore the degradation of agricultural land for a long term and using the high rate of chemical fertilizers continuously to be able to do the farm effectively.

The usage of Bio-fermentation technology to improve the soil has the important activities to do are following:
1. Product Processions of Bio-fermentation Solution
The methods of the 3 types bio-fermented producing are as follows.
1.1 Production of bio-fermented from the fish fraction by using the Microbial Activators PD2 by using the fish fraction about 10 kilograms, the fruit and vegetable fraction about 10 kilograms, molasses about 20 kilograms, the rice flour water or the banana fraction about 5 spire and the Microbial Activators PD 1 packet to mix everything in the tank size 120 litters for 3 months.
1.2. Production of photosynthetic microorganisms made by 5 eggs, 3 tablespoons of MSG, 1 tablespoon of fish sauce, 1 tablespoon of filtered water and 20 liters of pure water mixed in a homogeneous mixture at the rate of 1.5 liters per 200 liters of water for 7 days and it will be red (in case of using the pure water) and 1 month (in case of using clear water).
1.3 Production of bio-fermented solution from using 100 liter of rice flour water, 10 kilogram of sugar, 1 yakult bottle (curd) and 10 milliliters of fermented soy sauce in a 120 liters pot size fermentation tank for 3 months
2. The using steps of bio-fermented solution to improve the soil to improve the soil in the crop land for the different periods of cultivation as follows.
2.1. The early stage before the production period (1-3 years)
Mix the three types ofBio-fermentation solution at a rate of 1: 1: 1 per 200 litters of water and spray or pour on the ground every 3 days or use sprinkler system to release the bio-fermented water for 10 minutes and use the clear water later for 30 minutes
2.2 The yield period (more than 4 years)
To dissolve the bio-fermented which from the fish for 5 liters: 200 liters of water and spray or pour on the ground every 3 days or use sprinkler system to release the bio-fermented water for 10 minutes, followed by 30 minutes of the clear water.
1. Make the soil more fertile, organic matter and microorganisms in soil (earthworm). The benefits of nutrients in the soil increase. It can grow durian which can be sold at high prices (180 baht / tree).
2. Reduce the plant production costs due to using the waste materials from the land to be the fermentation materials. The farmers have increased income, lives are not dependent on themselves and the using the biotechnology does not have an impact on the environment.



1. This technology is the knowledge that is derived from experiential / practical experiments in the area of farmer prototype technology users which can see the real results from using it.
2. The methods / procedures are not complicated.
3. It is easy to use, not difficult mosquitoes.
4. There are multichannel technology has been released that the farmers can access it easily.
1. This technology (bio-fermentation / bio-extract) does not have any nutritional status checking which cannot be shown the quantity.
2. Farmers generally lack of the motivation to do and use.

2.3 รูปภาพของเทคโนโลยี

2.4 วีดีโอของเทคโนโลยี

ความคิดเห็น/อธิบายสั้นๆ:

การใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการพัฒนาที่ดิน

วันที่:

07/03/2018

ชื่อผู้ถ่ายวีดีโอ:

กรมพัฒนาที่ดิน

2.5 ประเทศภูมิภาค หรือสถานที่ตั้งที่เทคโนโลยีได้นำไปใช้และได้รับการครอบคลุมโดยการประเมินนี้

ภูมิภาค/รัฐ/จังหวัด:

ภาคตะวันออก/จังหวัดปราจีนบุรี

ข้อมูลจำเพาะเพิ่มเติมของสถานที่ตั้ง :

62/1 หมู่ 5 ตำบลไม้เค็ด อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี

2.6 วันที่การดำเนินการ

ระบุปีที่ใช้:

1997

ถ้าไม่รู้ปีที่แน่นอน ให้ระบุวันที่โดยประมาณ:
  • 10-50 ปี

2.7 คำแนะนำของเทคโนโลยี

ให้ระบุว่าเทคโนโลยีถูกแนะนำเข้ามาอย่างไร:
  • ด้วยการริเริ่มของผู้ใช้ที่ดินเอง

3. การจัดประเภทของเทคโนโลยี SLM

3.1 วัตถุประสงค์หลักของเทคโนโลยี

  • ปรับปรุงการผลิตให้ดีขึ้น
  • ลด ป้องกัน ฟื้นฟู การเสื่อมโทรมของที่ดิน
  • อนุรักษ์ระบบนิเวศน์
  • รักษาสภาพหรือปรับปรุงความหลากหลายทางชีวภาพ

3.2 ประเภทของการใช้ที่ดินในปัจจุบันที่ได้นำเทคโนโลยีไปใช้

พื้นที่ปลูกพืช

พื้นที่ปลูกพืช

  • การปลูกไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม
  • การปลูกพืชผสมผสาน
จำนวนของฤดูเพาะปลูกต่อปี:
  • 2
ระบุ:

-

แสดงความคิดเห็น:

-

3.3 Has land use changed due to the implementation of the Technology?

แสดงความคิดเห็น:

-

3.4 การใช้น้ำ

การใช้น้ำของที่ดินที่มีการใช้เทคโนโลยีอยู่:
  • จากน้ำฝน
แสดงความคิดเห็น:

-

3.5 กลุ่ม SLM ที่ตรงกับเทคโนโลยีนี้

  • การจัดการความอุดมสมบรูณ์ของดินแบบผสมผสาน
  • การจัดการศัตรูพืชและโรคพืชแบบผสมผสาน (รวมถึงเกษตรอินทรีย์ด้วย)

3.6 มาตรการ SLM ที่ประกอบกันเป็นเทคโนโลยี

มาตรการอื่น ๆ

มาตรการอื่น ๆ

ระบุ:

others การผลิตและการใช้น้ำหมักชีวภาพ

แสดงความคิดเห็น:

มีการทำเกษตรแบบผสมผสานทั้งไม้ผลและพืชผักสวนครัว

3.7 รูปแบบหลักของการเสื่อมโทรมของที่ดินที่ได้รับการแก้ไขโดยเทคโนโลยี

การเสื่อมโทรมของดินทางด้านเคมี

การเสื่อมโทรมของดินทางด้านเคมี

  • Cn (Fertility decline): ความอุดมสมบูรณ์และปริมาณอินทรียวัตถุในดินถูกทำให้ลดลงไป (ไม่ได้เกิดจากสาเหตุการกัดกร่อน)
การเสื่อมโทรมของดินทางด้านกายภาพ

การเสื่อมโทรมของดินทางด้านกายภาพ

  • Pc (Compaction): การอัดแน่น
การเสื่อมโทรมของดินทางด้านชีวภาพ

การเสื่อมโทรมของดินทางด้านชีวภาพ

  • Bl (Loss of soil life): การสูญเสียสิ่งมีชีวิตในดิน
แสดงความคิดเห็น:

เกิดจากการใช้ปุ๋ยเคมีมากเกินความจำเป็น เกินความต้องการของพืชต่อเนื่อง เป็นระยะเวลานาน ทำให้ดินเสื่อมโทรม

3.8 การป้องกัน การลดลง หรือการฟื้นฟูความเสื่อมโทรมของที่ดิน

ระบุเป้าหมายของเทคโนโลยีกับความเสื่อมโทรมของที่ดิน:
  • ลดความเสื่อมโทรมของดิน
  • ฟื้นฟูบำบัดที่ดินที่เสื่อมโทรมลงอย่างมาก
แสดงความคิดเห็น:

การใช้ปุ๋ยเคมีต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ทำให้สมบัติทางเคมีและชีวภาพของดิน เสื่อมโทรมลง จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟู

4. ข้อมูลจำเพาะด้านเทคนิค กิจกรรมการนำไปปฏิบัติใช้ ปัจจัยนำเข้า และค่าใช้จ่าย

4.1 แบบแปลนทางเทคนิคของเทคโนโลยี

ข้อมูลจำเพาะด้านเทคนิค (แบบแปลนทางเทคนิคของเทคโนโลยี):

1.กระบวนการผลิต น้ำหมักชีวภาพ
วิธีการผลิตน้ำหมักชีวภาพ 3 สูตร มีดังนี้
1.1 การผลิตน้ำหมักชีวภาพจากเศษปลาด้วยสารเร่ง พด 2 ผลิตโดยใช้ เศษปลา 10 กก. เศษผัก/ผลไม้ 10 กก. กากน้ำตาล 20 กก. น้ำซาวข้าว/หน่อกล้วยสับ 5 หน่อ และสารเร่ง พด.2 1 ซอง หมักในถังหมักขนาด 120 ลิตร นาน 3 เดือน
2. วิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน
ให้นำน้ำหมักชีวภาพทั้งสามสูตรผสมกันในอัตรา1:1:1 ต่อน้ำ200 ลิตร ฉีดพ่นหรือรดลงดินทุกๆ 3 วัน หรือใช้ระบบสปริงเกอร์ โดยปล่อยน้ำหมักชีวภาพไปกับน้ำ 10 นาที ตามด้วยการล้างด้วยน้ำเปล่าอีก 30 นาที เป็นเวลา 3 ปี (ช่วงเริ่มต้นของการปลูกปลูกไม้ผล

ผู้เขียน:

นายสาโรช ดุรงค์กาญจน์

วันที่:

02/10/2018

ข้อมูลจำเพาะด้านเทคนิค (แบบแปลนทางเทคนิคของเทคโนโลยี):

1.2.การผลิตจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง ผลิตโดยใช้ส่วนผลมไข่ไก่ ผงชูรส 3 ช้อนโต๊ะ น้ำปลา 1 แก้ว กะปิ 1 ช้อนโต๊ะ และน้ำกรองสะอาด 20 ลิตร ผสมจนเป็นเนื้อเดียวกัน ผสมนำในอัตรา 1.5 ลิตร ต่อน้ำ 200 ลิตร กรอกใส่ขวดพลาสติกใส วางตากแดด ใช้เวลา 7 วัน จะเกิดสีแดง (ในกรณีที่ใช้น้ำบริสุทธิ์) และใช้เวลา 1 เดือน (ในกรณีใช้น้ำประปาทั่วไป)
2. วิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน
ให้นำน้ำหมักชีวภาพทั้งสามสูตรผสมกันในอัตรา1:1:1 ต่อน้ำ200 ลิตร ฉีดพ่นหรือรดลงดินทุกๆ 3 วัน หรือใช้ระบบสปริงเกอร์ โดยปล่อยน้ำหมักชีวภาพไปกับน้ำ 10 นาที ตามด้วยการล้างด้วยน้ำเปล่าอีก 30 นาที เป็นเวลา 3 ปี (ช่วงเริ่มต้นของการปลูกปลูกไม้ผล

ผู้เขียน:

นายสาโรช ดุรงค์กาญจน์

วันที่:

02/10/2018

ข้อมูลจำเพาะด้านเทคนิค (แบบแปลนทางเทคนิคของเทคโนโลยี):

1.3 การผลิตน้ำหมักชีวภาพจาก น้ำซาวข้าว ผลิตโดยใช้ น้ำซาวข้าว 100 ลิตร น้ำตาลทราย 10 กก. ยาคูลท์ 1 ขวด และซีอิ๊วดำ 10 มล. หมักในถังหมักขนาด 120 ลิตร นาน 3 เดือน
2. วิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน
ให้นำน้ำหมักชีวภาพทั้งสามสูตรผสมกันในอัตรา1:1:1 ต่อน้ำ200 ลิตร ฉีดพ่นหรือรดลงดินทุกๆ 3 วัน หรือใช้ระบบสปริงเกอร์ โดยปล่อยน้ำหมักชีวภาพไปกับน้ำ 10 นาที ตามด้วยการล้างด้วยน้ำเปล่าอีก 30 นาที เป็นเวลา 3 ปี (ช่วงเริ่มต้นของการปลูกปลูกไม้ผล

ผู้เขียน:

นายสาโรช ดุรงค์กาญจน์

วันที่:

02/10/2018

ข้อมูลจำเพาะด้านเทคนิค (แบบแปลนทางเทคนิคของเทคโนโลยี):

1.3 การผลิตน้ำหมักชีวภาพจาก น้ำซาวข้าว ผลิตโดยใช้ น้ำซาวข้าว 100 ลิตร น้ำตาลทราย 10 กก. ยาคูลท์ 1 ขวด และซีอิ๊วดำ 10 มล. หมักในถังหมักขนาด 120 ลิตร นาน 3 เดือน
2. วิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน
ให้นำน้ำหมักชีวภาพทั้งสามสูตรผสมกันในอัตรา1:1:1 ต่อน้ำ200 ลิตร ฉีดพ่นหรือรดลงดินทุกๆ 3 วัน หรือใช้ระบบสปริงเกอร์ โดยปล่อยน้ำหมักชีวภาพไปกับน้ำ 10 นาที ตามด้วยการล้างด้วยน้ำเปล่าอีก 30 นาที เป็นเวลา 3 ปี (ช่วงเริ่มต้นของการปลูกปลูกไม้ผล

ผู้เขียน:

นายสาโรช ดุรงค์กาญจน์

4.2 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการคำนวณปัจจัยนำเข้าและค่าใช้จ่าย

ให้ระบุว่าค่าใช้จ่ายและปัจจัยนำเข้าได้รับการคำนวณอย่างไร:
  • ต่อพื้นที่ที่ใช้เทคโนโลยี
ระบุขนาดและหน่วยพื้นที่:

1 ไร่

If using a local area unit, indicate conversion factor to one hectare (e.g. 1 ha = 2.47 acres): 1 ha =:

-

อื่นๆ หรือสกุลเงินประจำชาติ (ระบุ):

Thai Baht

If relevant, indicate exchange rate from USD to local currency (e.g. 1 USD = 79.9 Brazilian Real): 1 USD =:

32.0

ระบุค่าเฉลี่ยของค่าจ้างในการจ้างแรงงานต่อวัน:

แรงงานต่อวันคือ 300 บาท

4.3 กิจกรรมเพื่อการจัดตั้ง

กิจกรรม Timing (season)
1. กระบวนการผลิตน้ำหมักชีวภาพ -
2. วิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพ -
แสดงความคิดเห็น:

เป็นการใช้เทคโนโลยีระหว่างการบำรุงและดูแลไม้ผลก่อนเก็บเกี่ยวผลผลิต

4.4 ค่าใช้จ่ายของปัจจัยนำเข้าที่จำเป็นสำหรับการจัดตั้ง

ปัจจัยนำเข้า หน่วย ปริมาณ ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อปัจจัยนำเข้า %ของค่าใช้จ่ายที่ก่อให้เกิดขึ้นโดยผู้ใช้ที่ดิน
แรงงาน จ้างผลิตน้ำหมักชีวภาพพด.2,จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงน้ำหมักชีวภาพน้ำซาวข้าว คน 2.0 300.0 600.0 100.0
แรงงาน ต่อท่อน้ำสปริงเกอร์ คน 2.0 300.0 600.0 100.0
อุปกรณ์ ท่อน้ำและข้อต่อ ตัว 50.0 40.0 2000.0 100.0
อุปกรณ์ ปั๊มน้ำ ปั๊ม 1.0 8000.0 8000.0 100.0
ปุ๋ยและสารฆ่า/ยับยั้งการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (ไบโอไซด์) ถังหมัก ใบ 3.0 500.0 1500.0 80.0
ปุ๋ยและสารฆ่า/ยับยั้งการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (ไบโอไซด์) กากน้ำตาล ลิตร 120.0 12.0 1440.0 80.0
ปุ๋ยและสารฆ่า/ยับยั้งการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (ไบโอไซด์) เศษปลา/เศษผักผลไม้Waste กิโลกรัม 40.0 10.0 400.0 100.0
ปุ๋ยและสารฆ่า/ยับยั้งการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (ไบโอไซด์) ผงชูรส/กะปิ/ไข่/Yakult/ซีอิ๋ว/น้ำตาลทราย - 1.0 100.0 100.0 100.0
ปุ๋ยและสารฆ่า/ยับยั้งการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (ไบโอไซด์) สารเร่วพด2 ซอง 1.0 14.0 14.0 100.0
ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของการจัดตั้งเทคโนโลยี 14654.0
Total costs for establishment of the Technology in USD 457.94
ถ้าผู้ใช้ที่ดินรับภาระน้อยกว่า 100% ของค่าใช้จ่าย ให้ระบุว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบส่วนที่เหลือ:

สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี

แสดงความคิดเห็น:

สถานีพัฒนาที่ดินสนับสนุนปัจจัยการผลิต ได้แก่ ถังหมัก กากน้ำตาล และเชื้อจุลินทรีย์สารเร่ง พด.2

4.5 การบำรุงรักษาสภาพหรือกิจกรรมที่เกิดขึ้นเป็นประจำ

กิจกรรม ช่วงระยะเวลา/ความถี่
1. 1. การใช้น้ำหมักชีวภาพ สัปดาห์ละ1ครั้ง
2. 2. การผลิตน้ำหมักชีวภาพ 3 เดือน/ครั้ง
แสดงความคิดเห็น:

เป็นการดูแลรักษาเครื่องมือ เช่น ข้อต่อ หัวฉีด ไม่ให้อุดตัน

4.6 ค่าใช้จ่ายของปัจจัยนำเข้าและกิจกรรมที่เกิดขึ้นเป็นประจำที่ต้องการการบำรุงรักษา (ต่อปี)

ปัจจัยนำเข้า หน่วย ปริมาณ ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อปัจจัยนำเข้า %ของค่าใช้จ่ายที่ก่อให้เกิดขึ้นโดยผู้ใช้ที่ดิน
แรงงาน จ้างผลิตน้ำหมักชีวภาพพด.2,จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง,น้ำหมักชีวภาพน้ำซาวข้าว คน 4.0 300.0 1200.0 100.0
อุปกรณ์ ท่อน้ำและข้อต่อ ตัว 50.0 40.0 2000.0 100.0
ปุ๋ยและสารฆ่า/ยับยั้งการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (ไบโอไซด์) กากน้ำตาล ลิตร 120.0 12.0 1440.0 80.0
ปุ๋ยและสารฆ่า/ยับยั้งการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (ไบโอไซด์) เศษปลา/เศษผักผลไม้Waste กิโลกรัม 40.0 10.0 400.0 100.0
ปุ๋ยและสารฆ่า/ยับยั้งการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (ไบโอไซด์) ผงชูรส/กะปิ/ไข่/Yakult/ซีอิ๋ว/น้ำตาลทราย กิโลกรัม 1.0 100.0 100.0 100.0
ปุ๋ยและสารฆ่า/ยับยั้งการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (ไบโอไซด์) สารเร่วพด2 ซอง 1.0 14.0 14.0
ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของการบำรุงรักษาสภาพเทคโนโลยี 5154.0
Total costs for maintenance of the Technology in USD 161.06
ถ้าผู้ใช้ที่ดินรับภาระน้อยกว่า 100% ของค่าใช้จ่าย ให้ระบุว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบส่วนที่เหลือ:

-

แสดงความคิดเห็น:

เป็นค่ารักษาซ่อมแซมในกรณีที่ชำรุดเสียหาย

4.7 ปัจจัยสำคัญที่สุดที่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่าย

ปัจจัยสำคัญที่สุดที่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายต่างๆ:

ราคาวัตถุดิบในการผลิคน้ำหมักชีวภาพ เช่นกากน้ำตาล

5. สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและของมนุษย์

5.1 ภูมิอากาศ

ฝนประจำปี
  • < 250 ม.ม.
  • 251-500 ม.ม.
  • 501-750 ม.ม.
  • 751-1,000 ม.ม.
  • 1,001-1,500 ม.ม.
  • 1,501-2,000 ม.ม.
  • 2,001-3,000 ม.ม.
  • 3,001-4,000 ม.ม.
  • > 4,000 ม.ม.
ข้อมูลจำเพาะ/ความคิดเห็นเรื่องปริมาณน้ำฝน:

-

ระบุชื่อของสถานีตรวดวัดอากาศที่ใช้อ้างอิงคือ:

-

เขตภูมิอากาศเกษตร
  • ชื้น

-

5.2 สภาพภูมิประเทศ

ค่าเฉลี่ยความลาดชัน:
  • ราบเรียบ (0-2%)
  • ลาดที่ไม่ชัน (3-5%)
  • ปานกลาง (6-10%)
  • เป็นลูกคลื่น (11-15%)
  • เป็นเนิน (16-30%)
  • ชัน (31-60%)
  • ชันมาก (>60%)
ธรณีสัณฐาน:
  • ที่ราบสูง/ที่ราบ
  • สันเขา
  • ไหล่เขา
  • ไหล่เนินเขา
  • ตีนเนิน
  • หุบเขา
ระดับความสูง:
  • 0-100 เมตร
  • 101-500 เมตร
  • 501-1,000 เมตร
  • 1,001-1,500 เมตร
  • 1,501-2,000 เมตร
  • 2,001-2,500 เมตร
  • 2,501-3,000 เมตร
  • 3,001-4,000 เมตร
  • > 4,000 เมตร
ให้ระบุถ้าเทคโนโลยีได้ถูกนำไปใช้:
  • ไม่เกี่ยวข้อง
ความคิดเห็นและข้อมูลจำเพาะเพิ่มเติมเรื่องสภาพภูมิประเทศ:

-

5.3 ดิน

ค่าเฉลี่ยความลึกของดิน:
  • ตื้นมาก (0-20 ซ.ม.)
  • ตื้น (21-50 ซ.ม.)
  • ลึกปานกลาง (51-80 ซ.ม.)
  • ลึก (81-120 ซ.ม.)
  • ลึกมาก (>120 ซ.ม.)
เนื้อดิน (ดินชั้นบน):
  • หยาบ/เบา (ดินทราย)
เนื้อดินล่าง (> 20 ซ.ม.ต่ำจากผิวดิน):
  • หยาบ/เบา (ดินทราย)
อินทรียวัตถุในดิน:
  • ต่ำ (<1%)
(ถ้ามี) ให้แนบคำอธิบายเรื่องดินแบบเต็มหรือระบุข้อมูลที่มีอยู่ เช่น ชนิดของดิน ค่า pH ของดินหรือความเป็นกรดของดิน ความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวก ไนโตรเจน ความเค็ม เป็นต้น:

-

5.4 ความเป็นประโยชน์และคุณภาพของน้ำ

ระดับน้ำใต้ดิน:

5-50 เมตร

น้ำไหลบ่าที่ผิวดิน:

ปานกลาง

คุณภาพน้ำ (ที่ยังไม่ได้บำบัด):

เป็นน้ำใช้เพื่อการเกษตรเท่านั้น (การชลประทาน)

ความเค็มของน้ำเป็นปัญหาหรือไม่:

ไม่ใช่

กำลังเกิดน้ำท่วมในพื้นที่หรือไม่:

ใช่

ความคิดเห็นและข้อมูลจำเพาะเพิ่มเติมเรื่องคุณภาพและปริมาณน้ำ:

คุณภาพน้ำดีสามารถนำมาใช้ทางการเกษตรได้ แต่ยังไม่เหมาะสำหรับการดื่มกินต้องได้รับบำบัดก่อนจึงจะนำมาบริโภคได้

5.5 ความหลากหลายทางชีวภาพ

ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์:
  • สูง
ความหลากหลายของแหล่งที่อยู่:
  • ปานกลาง
ความคิดเห็นและข้อมูลจำเพาะเพิ่มเติมของความหลากหลายทางชีวภาพ:

เนื่องจากมีการปลูกพืชหลายชนิด เช่น ทุเรียน ลองกอง ส้มโอ มะนาว ถั่ว ชะอม ทำให้มีความหลากหลายทางพันธุกรรมพืชสูง ส่วนแหล่งที่อยู่อาศัยมีไม่มากทำให้มีความหลากหลายในระดับปานกลาง

5.6 ลักษณะของผู้ใช้ที่ดินที่นำเทคโนโลยีไปปฏิบัติใช้

อยู่กับที่หรือเร่ร่อน:
  • อยู่กับที่
แนวทางการตลาดของระบบการผลิต:
  • mixed (subsistence/ commercial)
รายได้ที่มาจากนอกฟาร์ม:
  • < 10% ของรายได้ทั้งหมด
ระดับของความมั่งคั่งโดยเปรียบเทียบ:
  • รวย
เป็นรายบุคคล/ครัวเรือน:
  • เป็นรายบุคคล/ครัวเรือน
ระดับของการใช้เครื่องจักรกล:
  • งานที่ใช้แรงกาย
เพศ:
  • หญิง
อายุของผู้ใช้ที่ดิน:
  • ผู้สูงอายุ
ระบุลักษณะอื่นๆที่เกี่ยวข้องของผู้ใช้ที่ดิน:

-

5.7 Average area of land used by land users applying the Technology

  • < 0.5 เฮกตาร์
  • 0.5-1 เฮกตาร์
  • 1-2 เฮกตาร์
  • 2-5 เฮกตาร์
  • 5-15 เฮกตาร์
  • 15-50 เฮกตาร์
  • 50-100 เฮกตาร์
  • 100-500 เฮกตาร์
  • 500-1,000 เฮกตาร์
  • 1,000-10,000 เฮกตาร์
  • >10,000 เฮกตาร์
พิจารณาว่าเป็นขนาดเล็ก กลาง หรือขนาดใหญ่ (ซึ่งอ้างอิงถึงบริบทระดับท้องถิ่น):
  • ขนาดกลาง
แสดงความคิดเห็น:

เนื่องจากเป็นการประเมินราคาที่ดินในเขตเมือง

5.8 กรรมสิทธิ์ในที่ดิน สิทธิในการใช้ที่ดินและสิทธิในการใช้น้ำ

กรรมสิทธิ์ในที่ดิน:
  • รายบุคคล ได้รับสิทธิครอบครอง
สิทธิในการใช้ที่ดิน:
  • รายบุคคล
สิทธิในการใช้น้ำ:
  • เข้าถึงได้แบบเปิด (ไม่ได้จัดระเบียบ)
ระบุ:

สิทธิในการใช้น้ำเป็นแบบเปิดเนื่องจากเป็นประปาของชุมชนไม่มีระเบียบว่าอย่างไรแต่เสียค่าใช้จ่ายตามปริมาณใช้จริงและส่วนใหญ่การใช้น้ำในพื้นที่มาจากบ่อของตนเองเป็นหลัก

5.9 การเข้าถึงบริการและโครงสร้างพื้นฐาน

สุขภาพ:
  • จน
  • ปานกลาง
  • ดี
การศึกษา:
  • จน
  • ปานกลาง
  • ดี
ความช่วยเหลือทางด้านเทคนิค:
  • จน
  • ปานกลาง
  • ดี
การจ้างงาน (เช่น ภายนอกฟาร์ม):
  • จน
  • ปานกลาง
  • ดี
ตลาด:
  • จน
  • ปานกลาง
  • ดี
พลังงาน:
  • จน
  • ปานกลาง
  • ดี
ถนนและการขนส่ง:
  • จน
  • ปานกลาง
  • ดี
น้ำดื่มและการสุขาภิบาล:
  • จน
  • ปานกลาง
  • ดี
บริการด้านการเงิน:
  • จน
  • ปานกลาง
  • ดี
แสดงความคิดเห็น:

-

6. ผลกระทบและสรุปคำบอกกล่าว

6.1 ผลกระทบในพื้นที่ดำเนินการ (On-site) จากการใช้เทคโนโลยี

ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจและสังคม

การผลิต

การผลิตพืชผล

ลดลง
เพิ่มขึ้น
จำนวนก่อน SLM:

10

หลังจาก SLM:

30

แสดงความคิดเห็น/ระบุ:

ผลทุเรียนเพิ่มขึ้น

คุณภาพพืชผล

ลดลง
เพิ่มขึ้น
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:

-

รายได้และค่าใช้จ่าย

ค่าใช่จ่ายของปัจจัยการผลิตทางการเกษตร

เพิ่มขึ้น
ลดลง
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:

ปัจจัยบางอย่างนามาใช้ในปีถัดไปได้ เช่น ถังหมัก

รายได้จากฟาร์ม

ลดลง
เพิ่มขึ้น
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:

รายได้จากการจำหน่ายต้นพันธุ์ และผลทุเรียน

ผลกระทบด้านสังคมวัฒนธรรมอื่น ๆ

ความมั่นคงด้านอาหาร / พึ่งตนเองได้

ลดลง
ปรับปรุงดีขึ้น
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:

ดีขึ้นสามารถพึ่งพาตนเองได้

สถานการณ์ด้านสุขภาพ

แย่ลง
ปรับปรุงดีขึ้น

การใช้ที่ดิน / สิทธิในการใช้น้ำ

แย่ลง
ปรับปรุงดีขึ้น

สถาบันของชุมชน

อ่อนแอลง
เสริมให้แข็งแรง
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:

สถาบันครอบครัว

SLM หรือความรู้เรื่องความเสื่อมโทรมของที่ดิน

ลดลง
ปรับปรุงดีขึ้น
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:

ดินมีอินทรีย์วัตถุเพิ่มขึ้น โครงสร้างดินดีขึ้น

ผลกระทบด้านนิเวศวิทยา

วัฐจักรน้ำหรือน้ำบ่า

คุณภาพน้ำ

ลดลง
เพิ่มขึ้น
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:

ลดการปนเปื้อนเนื่องจากเป็นการใช้สารอินทรีย์ ลดการใช้สารเคมี

น้ำไหลบ่าที่ผิวดิน

เพิ่มขึ้น
ลดลง

น้ำบาดาลหรือระดับน้ำในแอ่งน้ำบาดาล

ต่ำลง
ซึมลงเติม
ดิน

ความชื้นในดิน

ลดลง
เพิ่มขึ้น

สิ่งปกคลุมดิน

ลดลง
ปรับปรุงดีขึ้น
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:

มีหญ้าปกคลุมมีไส้เดือน

การสูญเสียดิน

เพิ่มขึ้น
ลดลง

การเกิดแผ่นแข็งที่ผิวดิน /การเกิดชั้นดาน

เพิ่มขึ้น
ลดลง
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:

ดินร่วนซุยขึ้น

การอัดแน่นของดิน

เพิ่มขึ้น
ลดลง

การหมุนเวียนและการเติมของธาตุอาหาร

ลดลง
เพิ่มขึ้น

ความเป็นกรด

เพิ่มขึ้น
ลดลง
จำนวนก่อน SLM:

4.0-4.5

หลังจาก SLM:

5.5-6.0

แสดงความคิดเห็น/ระบุ:

pH เพิ่มขึ้น

ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและสัตว์

ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช

ลดลง
เพิ่มขึ้น

ชนิดพันธุ์ที่ให้ประโยชน์

ลดลง
เพิ่มขึ้น
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:

ไส้เดือนเพิ่มขึ้น

การจัดการศัตรูพืชและโรคพืช

ลดลง
เพิ่มขึ้น
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:

ลดลง

ลดความเสี่ยงของภัยพิบัติ

ผลกระทบจากน้ำท่วม

เพิ่มขึ้น
ลดลง

6.2 ผลกระทบนอกพื้นที่ดำเนินการ (Off-site) จากการใช้เทคโนโลยี

น้ำที่ใช้ประโยชน์ได้

ลดลง
เพิ่มขึ้น

การเกิดมลพิษในน้ำบาดาลหรือแม่น้ำ

เพิ่มขึ้น
ลดลง
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:

ลดลงเนื่องจากลดการใช้สารเคมี

ความเสียหายต่อโครงสร้างพื้นฐานของรัฐหรือของเอกชน

เพิ่มขึ้น
ลดลง

6.3 การเผชิญและความตอบสนองของเทคโนโลยีต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ค่อยเป็นค่อยไป และสภาพรุนแรงของภูมิอากาศ / ภัยพิบัติ (ที่รับรู้ได้โดยผู้ใช้ที่ดิน)

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ค่อยเป็นค่อยไป

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ค่อยเป็นค่อยไป
ฤดู increase or decrease เทคโนโลยีมีวิธีการรับมืออย่างไร
อุณหภูมิประจำปี เพิ่มขึ้น ปานกลาง
อุณหภูมิตามฤดูกาล ฤดูร้อน เพิ่มขึ้น ไม่ค่อยดี
ฝนประจำปี เพิ่มขึ้น ปานกลาง
ฝนตามฤดู ฤดูฝน เพิ่มขึ้น ไม่ค่อยดี

สภาพรุนแรงของภูมิอากาศ (ภัยพิบัติ)

ภัยพิบัติจากน้ำ
เทคโนโลยีมีวิธีการรับมืออย่างไร
น้ำท่วมฉับพลัน ปานกลาง
แสดงความคิดเห็น:

ปีนี้ฝนประจำปีมาเร็วขึ้นทำให้ผลไม้ติดผลลดลงเนื่องจากฝนตกลงมาช่วงออกดอก

6.4 การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและผลประโยชน์ที่ได้รับ

ผลประโยชน์ที่ได้รับเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งเป็นอย่างไร (จากมุมมองของผู้ใช้ที่ดิน)
ผลตอบแทนระยะสั้น:

ด้านบวก

ผลตอบแทนระยะยาว:

ด้านบวกอย่างมาก

ผลประโยชน์ที่ได้รับเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาหรือต้นทุนที่เกิดขึ้นซ้ำอีก เป็นอย่างไร (จากมุมมองของผู้ใช้ที่ดิน)
ผลตอบแทนระยะสั้น:

เป็นกลางหรือสมดุล

ผลตอบแทนระยะยาว:

ด้านบวกอย่างมาก

แสดงความคิดเห็น:

คิดเห็น การทำน้ำหมักและการวางระบบกระจายน้ำในแปลงจะเป็นการลงทุนในปีแรกที่สูงแต่ในปีถัดไปค่าใช้จ่ายจะลดลงเพราะไม่ได้ซื้อเพิ่ม เช่น ถังหมัก ท่อน้ำ ปั๊มน้ำ มีแต่ค่าดูแลรักษาเวลาชำรุด เสียหาย เช่น ท่อน้ำแตก อุดตัน และมีระยะเวลาการใช้ ประมาณ 4-5 ปี

6.5 การปรับตัวของเทคโนโลยี

  • 1-10%
ถ้ามีข้อมูลให้บอกปริมาณด้วย (จำนวนของครัวเรือนหรือครอบคลุมพื้นที่):

เฉพาะอำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี

Of all those who have adopted the Technology, how many did so spontaneously, i.e. without receiving any material incentives/ payments?
  • 0-10%
แสดงความคิดเห็น:

ประมาณจากจำนวนผู้ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เข้ามาศึกษาที่ศูนย์เรียนรู้

6.6 การปรับตัว

เทคโนโลยีได้รับการปรับเปลี่ยนเมื่อเร็วๆนี้ เพื่อให้ปรับตัวเข้ากับสภาพที่กำลังเปลี่ยนแปลงหรือไม่:

ใช่

ถ้าตอบว่าใช่ ให้ระบุว่าเงื่อนไขการเปลี่ยนแปลงใดที่ถูกปรับตัว:
  • การเปลี่ยนแปลงของตลาด
ให้ระบุการปรับตัวของเทคโนโลยี (การออกแบบ วัสดุหรือชนิดพันธุ์ เป็นต้น):

ความต้องการสินค้าเกษตรปลอดภัยหรือเกษตรอินทรีย์มีเพิ่มขึ้น ทำให้เทคโนโลยีสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้

6.7 จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบ / โอกาสของเทคโนโลยี

จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบ / โอกาสในทัศนคติของผู้ใช้ที่ดิน
มีองค์ความรู้จากผู้ปฏิบัติจริง/เห็นผลจริง
เทคโนโลยีนี้เผยแพร่หลายช่องทาง
มีสถานที่และอุปกรณ์พร้อมในการเผยแพร่
มีองค์ความรู้จากผู้ปฏิบัติจริง/เห็นผลจริง
จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบ / โอกาสในทัศนคติของผู้รวบรวมหรือวิทยากรหลัก
วิธีการ/ขั้นตอนการผลิตไม่ยุ่งยากซับซ้อน
วิธีการใช้ นำไปใช้ได้ง่าย สะดวกไม่ยุงยาก
-

6.8 จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบ / ความเสี่ยงของเทคโนโลยีและวิธีการแก้ไข

จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบ / ความเสี่ยงในทัศนคติของผู้ใช้ที่ดิน มีวิธีการแก้ไขได้อย่างไร
ไม่ทราบปริมาณธาตุอาหารพืชในน้ำหมัก ให้มีกาตรวจวิเคราะห์
จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบ / ความเสี่ยงในทัศนคติของผู้รวบรวมหรือวิทยากรหลัก มีวิธีการแก้ไขได้อย่างไร
เกษตรกรยังขาดแรงจูงใจในการทำ ให้เกษตรกรเห็นว่าลดต้นทุนได้อย่างไร ส่งผลดีต่อพืชอย่างไร
การใช้เทคโนโลยีนี้ เเกษตรกรที่จะปฏิบัติตามต้องมีความเชื่อมั่น ขยันและอดทน...เนื่องจากต้องใช้เวล
าในการพิสูจน์ให้เก็นผลจากการใช้
รัฐและเกษตรกรต้องร่วมมือกันสร้างความเชื่อมั่นให้แก่เกษตรกร ด้วยการให้ความรู้ และเผยแพร่

7. การอ้างอิงและการเชื่อมต่อ

7.1 วิธีการและแหล่งข้อมูล

  • ไปเยี่ยมชมภาคสนาม การสำรวจพื้นที่ภาคสนาม

5 ราย

  • การสัมภาษณ์กับผู้ใช้ที่ดิน

5 ราย

วันที่เก็บรวบรวมข้อมูล(ภาคสนาม) :

10/10/2018

แสดงความคิดเห็น:

-

7.2 การอ้างอิงถึงสิ่งตีพิมพ์

หัวข้อ, ผู้เขียน, ปี, หมายเลข ISBN:

-

ชื่อเรื่อง ผู้เขียน ปี ISBN:

-

7.3 Links to relevant online information

ชื่อเรื่องหรือคำอธิบาย:

-

URL:

-

7.4 General comments

-

โมดูล