المناهج

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม (Zero Waste Pig Farm Technology Transfer Center) [تايلاند]

-

approaches_4253 - تايلاند

الإكتمال: 100%

1. معلومات عامة

1.2 تفاصيل الاتصال بالأشخاص الرئيسيين لمصدر المعلومات والمؤسسات المعنية بتقييم وتوثيق النهج

الشخص (الأشخاص) الرئيسي لمصدر المعلومات

جامع المعلومات المشارك:
ผู้รวบรวม:

- ทีมสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต10

032-320929 / -

- / -

สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต10

196 .ม.11 ต.หินกองอำเภอเมืองจังหวัดราชบุรี รหัสไปรษณีย์70000

تايلاند

مستخدم الأرض:

.สิงห์โตศรี นายสุพจน์

086-8050749 / -

supojkb@gmail.com / -

กลุ่มหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน

95/1.....ม.9.....ต.ดอนแร่อำเภอ.......เมืองจังหวัด......ราชบุรี รหัสไปรษณีย์ ........70000

تايلاند

مستخدم الأرض:

กิจติสร นายประเสริฐ

087-9928353

- / -

-

33/1.....ม.10....ต.ดอนแร่....อ.เมือง....จ.ราชบุรี.......ประเทศ......ไทย

تايلاند

مستخدم الأرض:

ห่วงทอง นายสมนึก

081-1930988 / -

- / -

-

25…ม.9....ต.ดอนแร่.....อ.เมือง........จ.ราชบุรี……ประเทศ.....ไทย

تايلاند

مستخدم الأرض:

พุทธา นางวันเพ็ญ

083-4299299 / -

- / -

-

.8…..ม.10.....ต.ดอนแร่....อ.เมือง.....จ.ราชบุรี……ประเทศ.....ไทย

تايلاند

1.3 الشروط المتعلقة باستخدام البيانات الموثقة من خلال WOCAT

يوافق جامع المعلومات والشخص (لاشخاص) الرئيسي لمصدر المعلومات على الشروط المتعلقة باستخدام البيانات الموثقة من خلال WOCAT:

نعم

1.4 المراجع الخاصة باستبيان(استبيانات) تقنيات الإدارة المستدامة للأراضي

Environmental Friendly Pig Farm /Zero Waste Pig Farm
technologies

Environmental Friendly Pig Farm /Zero Waste Pig Farm [تايلاند]

หมูหลุม เป็นการจัดการในการเลี้ยงสุกร ด้วยวิธีการจัดการคอกและการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสานกับการทำงานของจุลินทรีย์ที่ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์หมูที่ปลอดภัย และสามารถกักเก็บของเสียจากคอกเป็นปุ๋ยอินทรีย์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ตลอดจนไม่เกิดมลภาวะต่อชุมชน

  • جامع المعلومات: Kukiat SOITONG

2. وصف نهج الإدارة المستدامة للأراضي

2.1 وصف موجز للنهج

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดความรู้เรื่องการเลี้ยงหมูหลุม จากเกษตรกรผู้ประสบความสำเร็จไปยังเกษตรกรและผู้สนใจ รวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุมให้เป็นเวทีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน

2.2 وصف تفصيلي للنهج

وصف تفصيلي للنهج:

แนวทางของ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นกลุ่มที่จัดตั้งขึ้นเพื่อรวมกลุ่มเกษตรกรที่ประกอบอาชีพการเลี้ยงสุกรแบบหลุม โดยเน้นการใช้จุลินทรีย์ มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ในการผลิตสุกรแบบหลุม ให้กับเกษตรกรที่มีความสนใจ และสร้างเครือข่าย เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมและเพิ่มขีดความสามารถในการจัดการด้านการตลาด

2. อะไรคือเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของแนวทาง
วัตถุประสงค์ของ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม
-1 เพื่อให้เกษตรกรและผู้สนใจการเลี้ยงหมูหลุม มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเลี้ยงหมูหลุม
-2 เพื่อสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุม ให้มีการช่วยเหลือ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
-3. เพื่อให้สมาชิกเกษตรกรภายในกลุ่ม มีโอกาสแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
3. วิธีการใดที่ถูกเอามาใช้
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม มีวิธีการดำเนินงานดังนี้
- ศึกษาดูงาน
- อมรมให้ความรู้ องค์ประกอบอยู่ 4 เรื่อง คือ พันธุ์ อาหาร การจัดการ ตลาด
- จัดตั้งเป็นกลุ่มเกษตรผู้เลี้ยงหมูหลุม เพื่อจะได้มีผลผลิตที่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด และมีอำนาจต่อรองได้มาขี้น และทำให้มีโอกาสเข้าถึงทุนได้ง่ายขึ้น
- สร้างเครือข่ายหมูหลุมในจังหวัด และเชื่อมโยงเครือข่ายทั้งประเทศ เพื่อเพิ่มความเข้มแข็งในกลุ่มอาชีพ


4. ขั้นตอนของการเอาไปปฏิบัติใช้มีอันไหนบ้าง

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม มีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
1.ศึกษา ดูงาน และเข้ารับอบรม จากสถานที่ต่างๆ
2.รวมกลุ่มเกษตรกร ผู้สนใจในชุมชนที่เคยเลี้ยงหมูแบบเดิม มาตั้งกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเลี้ยงหมูแบบหลุม
3.จัดตั้ง ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม
4. จัดให้มีกระบวนการถ่ายทอดความรู้ จากการปฏิบัติจริง
5. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยใช้สื่อต่างๆ ได้แก่ แผ่นพับ วิดีโอ youtube การให้สัมภาษณ์ผ่านสื่อโทรทัศน์ และวิทยุ
6. สร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุม ในระดับ ชุมชน และนอกชุมชน โดยจัดให้มีการอบรมการเลี้ยงหมูหลุมทุกเสาร์ที่ 3 ของเดือน
7. มีการส่งเสริมและสนับสนุน จากหน่วยงานรัฐ ได้แก่ กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

ที่เกี่ยวข้องและบทบาทของบุคคลเหล่านั้นมีอะไรบ้าง
ในการดำเนินงานศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม มีผู้เกี่ยวข้องดังนี้
1 เกษตรกรและผู้นำเกษตรกร มีบทบาท ร่วมเรียนรู้ ปฏิบัติ แลกเปลี่ยนความรู้ สนับสนุน
2. หน่วยงานของรัฐ มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณและปัจจัยการผลิต และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
3. หน่วยงานเอกชน มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
4.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทควบคุม กำกับ ดูแล พื้นที่
5. โรงเรียน มหาวิทยาลัย

(6) สิ่งที่ผู้ใช้ที่ดินชอบหรือไม่ชอบเกี่ยวกับแนวทาง
Impact:
1.กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมเป็นที่ยอมรับในชุมชนเนื่องจากไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมและลดมลภาวะด้านกลิ่นในระบบการจัดการ
2.ทำให้เกิดมีผู้สนใจผลิตภัณฑ์หมูหลุมมากขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย
3. สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ ได้สะดวกและรวดเร็
4. การรวมกลุ่มทำให้สมาชิกในกลุ่มมีความเข้มแข็งและมีการประสานงานและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้และให้ความช่วยเหลือกัน ตลอดจนให้ความสำคัญในกิจกรรมกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ
5. มีหน่วยงานภาครัฐให้ความสนใจและเข้ามาช่วยเหลือในเรื่องหลักวิชาการเพื่อให้สามารถผลิตได้เป็นไปตามมาตรฐาน โดยปศุสัตว์จังหวัด
6. ทำให้มีผู้สนใจมาศึกษาหาความรู้ตลอดจนมาฝึกงานจากกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมจำนวนมากทำให้คนรู้จักมากขึ้นส่งผลทำให้มีตลาดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้น
Opportunity:
1.การส่งเสริมการเลี้ยงหมูหลุม หากมีการเลี้ยงจำนวนมากขึ้น จะทำให้ขาดแคลนพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุมในท้องถิ่น ดังนั้น ควรมีการส่งเสริมให้มีการปลูกพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุม ให้มากขึ้น หรือ ให้ศึกษาสูตรของอาหารให้สอดคล้องกับวัตถุดิบที่มี
2. ราคาจำหน่ายผลิตภัณฑ์หมูหลุม ยังไม่แตกต่างจากราคาผลิตภัณฑ์หมูทั่วไป ดังนั้นควรมีการพิจารณามาตรฐานหมูหลุม เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีกว่าให้มีราคาสูงขึ้น

2.3 صور عن النهج

ملاحظات عامة بخصوص الصور:

-

2.4 فيديوهات عن النهج

تعليقات، وصف موجز:

-

الموقع:

-

اسم مصور الفيديو:

-

2.5 البلد/المنطقة/المواقع التي تم تطبيق النهج فيها

البلد:

تايلاند

المنطقة/الولاية/المحافظة:

ราชบุรี

مزيد من التفاصيل حول الموقع:

ต.ดอนแร่....อ.เมือง...จ.ราชบุรี

التعليقات:

-

2.6 تواريخ بدء وإنهاء تنفيذ النهج

أشر إلى سنة البدء:

2006

في حالة عدم معرفة السنة بالتحديد، يرجى الإشارة إلى التاريخ التقريبي لبدء النهج:

منذ 10-50 سنة

التعليقات:

เกษตรกรมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน

2.7 نوع النهج

  • قائم على مشروع/برنامج

2.8 الغايات/الأهداف الرئيسية للنهج

วัตถุประสงค์ของ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม
-1 เพื่อให้เกษตรกรและผู้สนใจการเลี้ยงหมูหลุม มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเลี้ยงหมูหลุม
-2 เพื่อสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุม ให้มีการช่วยเหลือ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
-3. เพื่อให้สมาชิกเกษตรกรภายในกลุ่ม มีโอกาสแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน

2.9 الظروف التي تمكن أو تعيق تنفيذ التقنية/التقنيات المطبقة بموجب النهج

المعايير والقيم الاجتماعية /الثقافية/ الدينية
  • تمكين/تمكيني
توفر/الوصول إلى الموارد والخدمات المالية
  • تمكين/تمكيني

มีการเลี้ยงหมูหลุมที่ยั่งยืนทำให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ง่าย

الإطار المؤسساتي
  • تمكين/تمكيني

มีหน่วยงานร่วมบูรณาการ ปศุสัตว์จังหวัด ธกส. พลังงาน พอช. และเกษตรอำเภอ

التعاون/التنسيق بين الجهات الفاعلة
  • تمكين/تمكيني

หน่วยงานต่างๆร่วมบูรณาการในพื้นที่

الإطار القانوني (حيازة الأراضي، وحقوق استخدام الأراضي والمياه)
  • تمكين/تمكيني

สามารถใช้ที่ดินในการในการทำฟาร์มเลี้ยงหมูหลุมได้

السياسات
  • تمكين/تمكيني

หน่วยงานทั้งภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัดเข้ามาช่วยให้สามารถดำเนินให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด

المعرفة حول الإدارة المستدامة للأراضي، والوصول إلى الدعم الفني
  • تمكين/تمكيني

เกษตรกรสามารถติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้สะดวก

الأسواق (لشراء المدخلات وبيع المنتجات) والأسعار
  • معيق

เนื่องจากตลาดยังไม่แพร่หลายและราคายังต่ำกว่าหมูฟาร์ม

عبء العمل، توفر القوى العاملة
  • معيق

.หาแรงงานที่มีความรู้ความชำนาญในการเลี้ยงหรือการจัดการค่อนข้างยาก

3. المشاركة وأدوار الأطراف المعنية

3.1 أصحاب المصلحة المعنيون بالنهج وأدوارهم

  • مستخدمو الأراضي المحليون/المجتمعات المحلية

เกษตรกร กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุม ต.ดอนแร่ อ.เมือง จ.ราชบุรี-

-

  • المنظمات المجتمعية

อบต

-

  • متخصصون في الإدارة المستدامة للأراضي / مستشارون زراعيون

กรมปศุสัตว์ กรมพั..ฒนาที่ดิน

-

  • المعلمون / أطفال المدارس / الطلاب

เข้ามาศึกษาดูงานจาก วิทยาลัยเกษตร มหาลัยราชภัฏ

-

  • القطاع الخاص

บทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์

-

إذا كان هناك العديد من الأطراف المعنية، قم بالإشارة إلى الوكالة الرائدة:

-

3.2 انخراط مستخدمي الأراضي المحليين/المجتمعات المحلية في المراحل المختلفة للنهج
انخراط مستخدمي الأراضي المحليين/المجتمعات المحلية حدد من شارك وصف الأنشطة
المبادرة/التحفيز التعبئة الذاتية หน่วยงานภาครัฐ กลุ่มสมาชิกศึกษาค้นคว้าหาความรู้และศึกษาดูงานในพื้นที่ต่างๆเพื่อนำมาปรับใช้ในพื้นที่ของตนเอง
التخطيط تفاعلي หน่วยงานภาครัฐ กลุ่มสมาชิก กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมและหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัด ช่วยกันวางแผนการดำเนินการให้เหมาะสมและเป็นไปตามมาตรฐาน
التنفيذ تفاعلي หน่วยงานภาครัฐ กลุ่มสมาชิกดำเนินการตามแผนให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
الرصد/التقييم تفاعلي มีการติดตามตรวจสอบและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มและมีการติดตามจากหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัดให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด

3.3 مخطط التدفق (إذا كان متاحًا)

الوصف:

เป็นขั้นตอนต่างๆของกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน ตำบลดอนแร่ อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี

المؤلف:

-

3.4 اتخاذ القرار بشأن اختيار تقنية/تقنيات الإدارة المستدامة للأراضي

حدد من الذي قرر اختيار التقنية/التقنيات التي سيتم تنفيذها:
  • جميع الجهات الفاعلة ذات الصلة، كجزء من نهج تشاركي
اشرح:

-

حدد على أي أساس تم اتخاذ القرارات:
  • خبرة وآراء شخصية(غير موثقة)
  • จากหน่วยงานภาครัฐปศุสัตว์จังหวัด

4. الدعم الفني وبناء القدرات وإدارة المعرفة

4.1 بناء القدرات/التدريب

هل تم تقديم التدريب لمستخدمي الأراضي / الأطراف المعنيين الآخرين؟:

نعم

حدد من تم تدريبه:
  • مستخدمو الأراضي
  • กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน
إذا كان ذلك على صلة، حدد الجنس والعمر والوضع والعرق وما إلى ذلك.

กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน และผู้สนใจทั่วไป

شكل التدريب:
  • في العمل
  • من مزارع إلى مزارع
التعليقات:

ทำให้กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน

4.2 خدمة استشارية

هل يملك مستخدمو الأراضي وصولا إلى خدمة استشارية؟:

نعم

  • กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน
وصف/تعليقات:

มีเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้คำแนะนำอย่างสม่ำเสมอ

4.3 تعزيز المؤسسات (التطوير التنظيمي)

هل تم إنشاء أو تعزيز مؤسسات من خلال هذا النهج؟:
  • لا

4.4 الرصد والتقييم

هل يشكل الرصد والتقييم جزءا من النهج؟:

نعم

التعليقات:

มีหน่วยงานปศุสัตว์จังหวัดเข้ามาช่วยให้คำแนะนำตรวจสอบให้เป็นไปตามมาตรฐาน

إذا كانت الإجابة بنعم، فهل من المقصود استخدام هذه الوثائق للمراقبة والتقييم؟:

كلا

4.5 البحوث

هل كانت البحوث جزءًا من النهج؟:

كلا

5. التمويل والدعم المادي الخارجي

5.1 الميزانية السنوية لمكون الإدارة المستدامة للأراضي في النهج المذكور

إذا لم تكن الميزانية السنوية الدقيقة معروفة، قم بالإشارة إلى نطاقها:
  • > 1,000,000

5.2 الدعم المالي/المادي المقدم لمستخدمي الأراضي

هل حصل مستخدمو الأراضي على دعم مالي/ مادي لتنفيذ التقنية/ التقنيات؟:

كلا

5.3 إعانات لمدخلات محددة (بما في ذلك العمالة)

  • غير موجود
 
التعليقات:

-

5.4 الائتمان

هل تم توفير ائتمان في إطار نهج أنشطة الإدارة المستدامة للأراضي؟:

كلا

5.5 حوافز أو وسائل أخرى

هل تم استخدام حوافز أو أدوات أخرى لتشجيع تنفيذ تقنيات الإدارة المستدامة للأراضي؟:

نعم

إذا كانت الإجابة بنعم، حدد:

มีการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐอย่างต่อเนื่อง ปศุสัตว์จังหวัด

6. تحليل الأثر والتصريحات الختامية

6.1 آثار النهج

هل ساهم النهج في تمكين مستخدمي الأراضي المحليين وتحسين مشاركة الأطراف المعنية؟:
  • لا
  • نعم، قليلا
  • نعم، باعتدال
  • نعم، إلى حد كبير

เป็นที่ต้องการของตลาด สำหรับผู้ที่ต้องการบริโภคอย่างปลอดภัย

هل مكّن النهج من اتخاذ القرارات المبنية على الأدلة؟:
  • لا
  • نعم، قليلا
  • نعم، باعتدال
  • نعم، إلى حد كبير

สามารถสร้างรายได้อย่างยั่งยืน

هل ساعد النهج مستخدمي الأراضي على تنفيذ وصيانة تقنيات الإدارة المستدامة للأراضي؟:
  • لا
  • نعم، قليلا
  • نعم، باعتدال
  • نعم، إلى حد كبير

ช่วยรักษามลภาวะภายในชุมชน

هل نجح النهج في تحسين التنسيق والتنفيذ الفعال من حيث التكلفة لأنشطة الإدارة المستدامة للأراضي؟:
  • لا
  • نعم، قليلا
  • نعم، باعتدال
  • نعم، إلى حد كبير

กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง

هل أدى النهج إلى تحسين معرفة وقدرات مستخدمي الأراضي على تنفيذ الإدارة المستدامة للأراضي؟:
  • لا
  • نعم، قليلا
  • نعم، باعتدال
  • نعم، إلى حد كبير

มีหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัดเข้ามาให้ความรู้และช่วยแนะนำให้ได้เป็นไปตามมาตรฐาน

هل أدى النهج إلى تحسين معرفة وقدرات الأطراف المعنية الأخرى؟:
  • لا
  • نعم، قليلا
  • نعم، باعتدال
  • نعم، إلى حد كبير

ทำให้สามารถดำเนินการเป็นไปตามมารฐานเดี่ยวกัน

هل ساهم النهج في بناء/تعزيز المؤسسات والتعاون بين الأطراف المعنية؟:
  • لا
  • نعم، قليلا
  • نعم، باعتدال
  • نعم، إلى حد كبير

มีการติดต่อประสานงานและมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน

هل شجع النهج الشباب/الجيل القادم من مستخدمي الأراضي على الانخراط في الإدارة المستدامة للأراضي؟:
  • لا
  • نعم، قليلا
  • نعم، باعتدال
  • نعم، إلى حد كبير

สามารถเป็นอาชีพที่ยั่งยืนและทำให้เป็นทางเลือกของรุ่นต่อไปสามารถสานต่อได้

هل أدى هذا النهج إلى تحسين الأمن الغذائي / تحسين التغذية؟:
  • لا
  • نعم، قليلا
  • نعم، باعتدال
  • نعم، إلى حد كبير

เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความปลอดภัยไร้สารเคมี

هل أدى النهج إلى تحسين الوصول إلى الأسواق؟:
  • لا
  • نعم، قليلا
  • نعم، باعتدال
  • نعم، إلى حد كبير

เป็นทางเลือกของผู้บริโภคที่เน้นความปลอดภัยจากสารเคมี

هل أدى النهج إلى استخدام طاقة/ مصادر طاقة أكثر استدامة؟:
  • لا
  • نعم، قليلا
  • نعم، باعتدال
  • نعم، إلى حد كبير

มีการนำมูลหมูหลุมไปทำก๊าชชีวภาพ

هل أدى النهج إلى تحسين قدرة مستخدمي الأراضي على التكيف مع التغيرات المناخية/الظواهر المناخية المتطرفة والتخفيف من الكوارث المرتبطة بالمناخ؟:
  • لا
  • نعم، قليلا
  • نعم، باعتدال
  • نعم، إلى حد كبير

มีการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการจัดการ

هل أدى النهج إلى توفير فرص عمل ودخل؟:
  • لا
  • نعم، قليلا
  • نعم، باعتدال
  • نعم، إلى حد كبير

.มีการจ้างแรงงานในท้องถิ่น

6.2 المحفز الرئيسي لقيام مستخدمي الأراضي بتنفيذ الإدارة المستدامة للأراضي

  • زيادة الإنتاج

ผู้บริโภคมีความต้องการเพิ่มขึ้น

  • زيادة الربح (القدرة)، وتحسين نسبة التكلفة إلى العائد

มีการแปรรูปผผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายเป็นทีต้องการของผู้บริโภค

  • الانتماء إلى حركة/ مشروع/ مجموعة/ شبكات

มีผู้สนใจและเข้าศึกษาดูงานจำนวนมาก

  • الوعي البيئي

เป็นการจัดการที่ลดมลภาวะทางกลิ่น

  • تعزيز المعرفة والمهارات في مجال الإدارة المستدامة للأراضي

ได้รับคำปรึกษาและคำแนะนำจากหน่วยงานภาครัฐปศุสัตว์จังหวัดอย่างต่อเนื่อง

6.3 استدامة أنشطة النهج

هل يمكن لمستخدمي الأراضي المحافظة على استدامة ما تم تنفيذه من خلال النهج (بدون دعم خارجي)؟:
  • نعم
إذا كانت الإجابة بنعم، صف كيف:

เพราะมีหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัด เข้ามาช่วยให้คำปรึกษา แนะนำ ส่งเสริม ควบคุมดูแลให้ระบบการเลี้ยงหมูหลุมเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด

6.4 نقاط قوة/مزايا النهج

نقاط القوة/ المزايا/ الفرص من وجهة نظر مستخدمي الأراضي
1.กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมเป็นที่ยอมรับในชุมชนเนื่องจากไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมและลดมลภาวะด้านกลิ่นในระบบการจัดการ
2.มีพื้นที่และทำเลที่ตั้งเหมาะสมเนื่องจากอยู่ไม่ไกลจากตลาดและชุมชน
3.มีผู้สนใจผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากปลอดภัยจากสารเคมี
4.สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ ปศุสัตว์จังหวัด ได้สะดวกและรวดเร็ว
نقاط القوة/ المزايا/ الفرص من وجهة نظر جامع المعلومات أو غيره من الاشخاص الرئيسيين لمصدر المعلومات
1.สมาชิกในกลุ่มมีความเข้มแข็งและมีการประสานงานและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้และให้ความช่วยเหลือกัน ตลอดจนให้ความสำคัญในกิจกรรมกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ
2.มีหน่วยงานภาครัฐให้ความสนใจและเข้ามาช่วยเหลือในเรื่องหลักวิชาการเพื่อให้สามารถผลิตได้เป็นไปตามมาตรฐาน โดยปศุสัตว์จังหวัด
3.มีผู้สนใจมาศึกษาหาความรู้ตลอดจนมาฝึกงานจากกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมจำนวนมากทำให้คนรู้จักมากขึ้นส่งผลทำให้มีตลาดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้น

6.5 نقاط الضعف/ العيوب في المنهج وطرق التغلب عليها

نقاط الضعف/ المساوىء/ المخاطر من وجهة نظر مستخدم الأراضي كيف يمكن التغلب عليها؟
1.การส่งเสริมการเลี้ยงหมูหลุม หากมีการเลี้ยงจำนวนมากขึ้น จะทำให้ขาดแคลนพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุมในท้องถิ่น 1. ควรมีการส่งเสริมให้มีการปลูกพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุม ให้มากขึ้น หรือ ให้ศึกษาสูตรของอาหารให้สอดคล้องกับวัตถุดิบที่มี
2. ราคาจำหน่ายผลิตภัณฑ์หมูหลุม ยังไม่แตกต่างจากราคาผลิตภัณฑ์หมูทั่วไป 2.ควรมีการพิจารณามาตรฐานหมูหลุม เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีกว่าให้มีราคาสูงขึ้น
نقاط الضعف/ المساوىء/ المخاطر من وجهة نظر جامع المعلومات أو غيره من الاشخاص الرئيسيين لمصدر المعلومات كيف يمكن التغلب عليها؟
2.1 รูปแบบของผลิตภัณฑ์ที่จำหน่ายยังไม่ทันสมัยและยังไม่เป็นรูปแบบที่สนใจของผู้บริโภค ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยแนะนำส่งเสริมให้รูปแบบของผลิตภัณฑ์เป็นที่ต้องการของตลาดและผู้บริโภค
2.2 ในการเลี้ยงหมูหลุมของกลุ่มยังขาดการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยทำให้ระยะเวลาการเลี้ยงหรือการจัดการใช้เวลานาน ปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการโดยหาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยจัดการเพื่อสามารถลดต้นทุนการผลิตได้
2.3 ตลาดการรับชื้อผลิตภัณฑ์ยังอยู่ในวงจำกัดยังไม่เป็นที่รู้จักของผู้บริโภคทั่วไป ให้หน่วยงานภาครัฐช่วยส่งเสริมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และใช้ช่องทาง social media
2.4 ระบบการจัดการในกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมยังไม่เป็นไปตามมาตรฐานที่หน่วยงานราชการกำหนด ให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง ปศุสัตว์จังหวัด เข้ามาช่วยในด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด

7. المراجع والروابط

7.1 طرق جمع/مصادر المعلومات

  • زيارات ميدانية، مسوحات ميدانية

-

  • مقابلات مع مستخدمي الأراضي

-

7.2 المراجع للمنشورات المتاحة

العنوان، المؤلف، السنة، النظام القياسي الدولي لترقيم الكتب ISBN:

-

متاح من أين؟كم التكلفة؟:

-

7.3 روابط للمعلومات ذات الصلة المتوفرة على الإنترنت

العنوان/الوصف:

-

عنوان الرابط URL:

-

الروابط والوحدات المواضيعية

توسيع الكل طي الكل

الوحدات المواضيعية