Approaches

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม (Zero Waste Pig Farm Technology Transfer Center) [Thailand]

-

approaches_4253 - Thailand

Completeness: 100%

1. معلومات عامة

1.2 Contact details of resource persons and institutions involved in the assessment and documentation of the Approach

Key resource person(s)

co-compiler:
ผู้รวบรวม:

- ทีมสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต10

032-320929 / -

- / -

สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต10

196 .ม.11 ต.หินกองอำเภอเมืองจังหวัดราชบุรี รหัสไปรษณีย์70000

Thailand

land user:

.สิงห์โตศรี นายสุพจน์

086-8050749 / -

supojkb@gmail.com / -

กลุ่มหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน

95/1.....ม.9.....ต.ดอนแร่อำเภอ.......เมืองจังหวัด......ราชบุรี รหัสไปรษณีย์ ........70000

Thailand

land user:

กิจติสร นายประเสริฐ

087-9928353

- / -

-

33/1.....ม.10....ต.ดอนแร่....อ.เมือง....จ.ราชบุรี.......ประเทศ......ไทย

Thailand

land user:

ห่วงทอง นายสมนึก

081-1930988 / -

- / -

-

25…ม.9....ต.ดอนแร่.....อ.เมือง........จ.ราชบุรี……ประเทศ.....ไทย

Thailand

land user:

พุทธา นางวันเพ็ญ

083-4299299 / -

- / -

-

.8…..ม.10.....ต.ดอนแร่....อ.เมือง.....จ.ราชบุรี……ประเทศ.....ไทย

Thailand

1.3 Conditions regarding the use of data documented through WOCAT

The compiler and key resource person(s) accept the conditions regarding the use of data documented through WOCAT:

نعم

1.4 Reference(s) to Questionnaire(s) on SLM Technologies

Environmental Friendly Pig Farm /Zero Waste Pig Farm
technologies

Environmental Friendly Pig Farm /Zero Waste Pig Farm [Thailand]

หมูหลุม เป็นการจัดการในการเลี้ยงสุกร ด้วยวิธีการจัดการคอกและการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสานกับการทำงานของจุลินทรีย์ที่ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์หมูที่ปลอดภัย และสามารถกักเก็บของเสียจากคอกเป็นปุ๋ยอินทรีย์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ตลอดจนไม่เกิดมลภาวะต่อชุมชน

  • Compiler: Kukiat SOITONG

2. Description of the SLM Approach

2.1 Short description of the Approach

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดความรู้เรื่องการเลี้ยงหมูหลุม จากเกษตรกรผู้ประสบความสำเร็จไปยังเกษตรกรและผู้สนใจ รวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุมให้เป็นเวทีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน

2.2 Detailed description of the Approach

Detailed description of the Approach:

แนวทางของ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นกลุ่มที่จัดตั้งขึ้นเพื่อรวมกลุ่มเกษตรกรที่ประกอบอาชีพการเลี้ยงสุกรแบบหลุม โดยเน้นการใช้จุลินทรีย์ มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ในการผลิตสุกรแบบหลุม ให้กับเกษตรกรที่มีความสนใจ และสร้างเครือข่าย เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมและเพิ่มขีดความสามารถในการจัดการด้านการตลาด

2. อะไรคือเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของแนวทาง
วัตถุประสงค์ของ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม
-1 เพื่อให้เกษตรกรและผู้สนใจการเลี้ยงหมูหลุม มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเลี้ยงหมูหลุม
-2 เพื่อสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุม ให้มีการช่วยเหลือ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
-3. เพื่อให้สมาชิกเกษตรกรภายในกลุ่ม มีโอกาสแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
3. วิธีการใดที่ถูกเอามาใช้
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม มีวิธีการดำเนินงานดังนี้
- ศึกษาดูงาน
- อมรมให้ความรู้ องค์ประกอบอยู่ 4 เรื่อง คือ พันธุ์ อาหาร การจัดการ ตลาด
- จัดตั้งเป็นกลุ่มเกษตรผู้เลี้ยงหมูหลุม เพื่อจะได้มีผลผลิตที่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด และมีอำนาจต่อรองได้มาขี้น และทำให้มีโอกาสเข้าถึงทุนได้ง่ายขึ้น
- สร้างเครือข่ายหมูหลุมในจังหวัด และเชื่อมโยงเครือข่ายทั้งประเทศ เพื่อเพิ่มความเข้มแข็งในกลุ่มอาชีพ


4. ขั้นตอนของการเอาไปปฏิบัติใช้มีอันไหนบ้าง

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม มีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
1.ศึกษา ดูงาน และเข้ารับอบรม จากสถานที่ต่างๆ
2.รวมกลุ่มเกษตรกร ผู้สนใจในชุมชนที่เคยเลี้ยงหมูแบบเดิม มาตั้งกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเลี้ยงหมูแบบหลุม
3.จัดตั้ง ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม
4. จัดให้มีกระบวนการถ่ายทอดความรู้ จากการปฏิบัติจริง
5. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยใช้สื่อต่างๆ ได้แก่ แผ่นพับ วิดีโอ youtube การให้สัมภาษณ์ผ่านสื่อโทรทัศน์ และวิทยุ
6. สร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุม ในระดับ ชุมชน และนอกชุมชน โดยจัดให้มีการอบรมการเลี้ยงหมูหลุมทุกเสาร์ที่ 3 ของเดือน
7. มีการส่งเสริมและสนับสนุน จากหน่วยงานรัฐ ได้แก่ กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

ที่เกี่ยวข้องและบทบาทของบุคคลเหล่านั้นมีอะไรบ้าง
ในการดำเนินงานศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม มีผู้เกี่ยวข้องดังนี้
1 เกษตรกรและผู้นำเกษตรกร มีบทบาท ร่วมเรียนรู้ ปฏิบัติ แลกเปลี่ยนความรู้ สนับสนุน
2. หน่วยงานของรัฐ มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณและปัจจัยการผลิต และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
3. หน่วยงานเอกชน มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
4.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทควบคุม กำกับ ดูแล พื้นที่
5. โรงเรียน มหาวิทยาลัย

(6) สิ่งที่ผู้ใช้ที่ดินชอบหรือไม่ชอบเกี่ยวกับแนวทาง
Impact:
1.กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมเป็นที่ยอมรับในชุมชนเนื่องจากไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมและลดมลภาวะด้านกลิ่นในระบบการจัดการ
2.ทำให้เกิดมีผู้สนใจผลิตภัณฑ์หมูหลุมมากขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย
3. สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ ได้สะดวกและรวดเร็
4. การรวมกลุ่มทำให้สมาชิกในกลุ่มมีความเข้มแข็งและมีการประสานงานและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้และให้ความช่วยเหลือกัน ตลอดจนให้ความสำคัญในกิจกรรมกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ
5. มีหน่วยงานภาครัฐให้ความสนใจและเข้ามาช่วยเหลือในเรื่องหลักวิชาการเพื่อให้สามารถผลิตได้เป็นไปตามมาตรฐาน โดยปศุสัตว์จังหวัด
6. ทำให้มีผู้สนใจมาศึกษาหาความรู้ตลอดจนมาฝึกงานจากกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมจำนวนมากทำให้คนรู้จักมากขึ้นส่งผลทำให้มีตลาดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้น
Opportunity:
1.การส่งเสริมการเลี้ยงหมูหลุม หากมีการเลี้ยงจำนวนมากขึ้น จะทำให้ขาดแคลนพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุมในท้องถิ่น ดังนั้น ควรมีการส่งเสริมให้มีการปลูกพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุม ให้มากขึ้น หรือ ให้ศึกษาสูตรของอาหารให้สอดคล้องกับวัตถุดิบที่มี
2. ราคาจำหน่ายผลิตภัณฑ์หมูหลุม ยังไม่แตกต่างจากราคาผลิตภัณฑ์หมูทั่วไป ดังนั้นควรมีการพิจารณามาตรฐานหมูหลุม เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีกว่าให้มีราคาสูงขึ้น

2.3 Photos of the Approach

General remarks regarding photos:

-

2.4 Videos of the Approach

Comments, short description:

-

الموقع:

-

Name of videographer:

-

2.5 Country/ region/ locations where the Approach has been applied

بلد:

Thailand

Region/ State/ Province:

ราชบุรี

Further specification of location:

ต.ดอนแร่....อ.เมือง...จ.ราชบุรี

Comments:

-

2.6 Dates of initiation and termination of the Approach

Indicate year of initiation:

2006

If precise year is not known, indicate approximate date when the Approach was initiated:

10-50 years ago

Comments:

เกษตรกรมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน

2.7 Type of Approach

  • project/ programme based

2.8 Main aims/ objectives of the Approach

วัตถุประสงค์ของ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม
-1 เพื่อให้เกษตรกรและผู้สนใจการเลี้ยงหมูหลุม มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเลี้ยงหมูหลุม
-2 เพื่อสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุม ให้มีการช่วยเหลือ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
-3. เพื่อให้สมาชิกเกษตรกรภายในกลุ่ม มีโอกาสแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน

2.9 Conditions enabling or hindering implementation of the Technology/ Technologies applied under the Approach

social/ cultural/ religious norms and values
  • enabling
availability/ access to financial resources and services
  • enabling

มีการเลี้ยงหมูหลุมที่ยั่งยืนทำให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ง่าย

institutional setting
  • enabling

มีหน่วยงานร่วมบูรณาการ ปศุสัตว์จังหวัด ธกส. พลังงาน พอช. และเกษตรอำเภอ

collaboration/ coordination of actors
  • enabling

หน่วยงานต่างๆร่วมบูรณาการในพื้นที่

legal framework (land tenure, land and water use rights)
  • enabling

สามารถใช้ที่ดินในการในการทำฟาร์มเลี้ยงหมูหลุมได้

policies
  • enabling

หน่วยงานทั้งภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัดเข้ามาช่วยให้สามารถดำเนินให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด

knowledge about SLM, access to technical support
  • enabling

เกษตรกรสามารถติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้สะดวก

markets (to purchase inputs, sell products) and prices
  • hindering

เนื่องจากตลาดยังไม่แพร่หลายและราคายังต่ำกว่าหมูฟาร์ม

workload, availability of manpower
  • hindering

.หาแรงงานที่มีความรู้ความชำนาญในการเลี้ยงหรือการจัดการค่อนข้างยาก

3. Participation and roles of stakeholders involved

3.1 Stakeholders involved in the Approach and their roles

  • local land users/ local communities

เกษตรกร กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุม ต.ดอนแร่ อ.เมือง จ.ราชบุรี-

-

  • community-based organizations

อบต

-

  • SLM specialists/ agricultural advisers

กรมปศุสัตว์ กรมพั..ฒนาที่ดิน

-

  • teachers/ school children/ students

เข้ามาศึกษาดูงานจาก วิทยาลัยเกษตร มหาลัยราชภัฏ

-

  • private sector

บทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์

-

If several stakeholders were involved, indicate lead agency:

-

3.2 Involvement of local land users/ local communities in the different phases of the Approach
Involvement of local land users/ local communities Specify who was involved and describe activities
initiation/ motivation self-mobilization หน่วยงานภาครัฐ กลุ่มสมาชิกศึกษาค้นคว้าหาความรู้และศึกษาดูงานในพื้นที่ต่างๆเพื่อนำมาปรับใช้ในพื้นที่ของตนเอง
planning interactive หน่วยงานภาครัฐ กลุ่มสมาชิก กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมและหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัด ช่วยกันวางแผนการดำเนินการให้เหมาะสมและเป็นไปตามมาตรฐาน
implementation interactive หน่วยงานภาครัฐ กลุ่มสมาชิกดำเนินการตามแผนให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
monitoring/ evaluation interactive มีการติดตามตรวจสอบและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มและมีการติดตามจากหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัดให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด

3.3 Flow chart (if available)

Description:

เป็นขั้นตอนต่างๆของกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน ตำบลดอนแร่ อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี

Author:

-

3.4 Decision-making on the selection of SLM Technology/ Technologies

Specify who decided on the selection of the Technology/ Technologies to be implemented:
  • all relevant actors, as part of a participatory approach
Explain:

-

Specify on what basis decisions were made:
  • personal experience and opinions (undocumented)
  • จากหน่วยงานภาครัฐปศุสัตว์จังหวัด

4. Technical support, capacity building, and knowledge management

4.1 Capacity building/ training

Was training provided to land users/ other stakeholders?

نعم

Specify who was trained:
  • land users
  • กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน
If relevant, specify gender, age, status, ethnicity, etc.

กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน และผู้สนใจทั่วไป

Form of training:
  • on-the-job
  • farmer-to-farmer
Comments:

ทำให้กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน

4.2 Advisory service

Do land users have access to an advisory service?

نعم

  • กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน
Describe/ comments:

มีเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้คำแนะนำอย่างสม่ำเสมอ

4.3 Institution strengthening (organizational development)

Have institutions been established or strengthened through the Approach?
  • no

4.4 Monitoring and evaluation

Is monitoring and evaluation part of the Approach?

نعم

Comments:

มีหน่วยงานปศุสัตว์จังหวัดเข้ามาช่วยให้คำแนะนำตรวจสอบให้เป็นไปตามมาตรฐาน

If yes, is this documentation intended to be used for monitoring and evaluation?

لا

4.5 Research

Was research part of the Approach?

لا

5. Financing and external material support

5.1 Annual budget for the SLM component of the Approach

If precise annual budget is not known, indicate range:
  • > 1,000,000

5.2 Financial/ material support provided to land users

Did land users receive financial/ material support for implementing the Technology/ Technologies?

لا

5.3 Subsidies for specific inputs (including labour)

  • none
 
Comments:

-

5.4 Credit

Was credit provided under the Approach for SLM activities?

لا

5.5 Other incentives or instruments

Were other incentives or instruments used to promote implementation of SLM Technologies?

نعم

If yes, specify:

มีการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐอย่างต่อเนื่อง ปศุสัตว์จังหวัด

6. Impact analysis and concluding statements

6.1 Impacts of the Approach

Did the Approach empower local land users, improve stakeholder participation?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

เป็นที่ต้องการของตลาด สำหรับผู้ที่ต้องการบริโภคอย่างปลอดภัย

Did the Approach enable evidence-based decision-making?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

สามารถสร้างรายได้อย่างยั่งยืน

Did the Approach help land users to implement and maintain SLM Technologies?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

ช่วยรักษามลภาวะภายในชุมชน

Did the Approach improve coordination and cost-effective implementation of SLM?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง

Did the Approach improve knowledge and capacities of land users to implement SLM?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

มีหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัดเข้ามาให้ความรู้และช่วยแนะนำให้ได้เป็นไปตามมาตรฐาน

Did the Approach improve knowledge and capacities of other stakeholders?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

ทำให้สามารถดำเนินการเป็นไปตามมารฐานเดี่ยวกัน

Did the Approach build/ strengthen institutions, collaboration between stakeholders?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

มีการติดต่อประสานงานและมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน

Did the Approach encourage young people/ the next generation of land users to engage in SLM?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

สามารถเป็นอาชีพที่ยั่งยืนและทำให้เป็นทางเลือกของรุ่นต่อไปสามารถสานต่อได้

Did the Approach lead to improved food security/ improved nutrition?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความปลอดภัยไร้สารเคมี

Did the Approach improve access to markets?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

เป็นทางเลือกของผู้บริโภคที่เน้นความปลอดภัยจากสารเคมี

Did the Approach lead to more sustainable use/ sources of energy?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

มีการนำมูลหมูหลุมไปทำก๊าชชีวภาพ

Did the Approach improve the capacity of the land users to adapt to climate changes/ extremes and mitigate climate related disasters?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

มีการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการจัดการ

Did the Approach lead to employment, income opportunities?
  • No
  • Yes, little
  • Yes, moderately
  • Yes, greatly

.มีการจ้างแรงงานในท้องถิ่น

6.2 Main motivation of land users to implement SLM

  • increased production

ผู้บริโภคมีความต้องการเพิ่มขึ้น

  • increased profit(ability), improved cost-benefit-ratio

มีการแปรรูปผผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายเป็นทีต้องการของผู้บริโภค

  • affiliation to movement/ project/ group/ networks

มีผู้สนใจและเข้าศึกษาดูงานจำนวนมาก

  • environmental consciousness

เป็นการจัดการที่ลดมลภาวะทางกลิ่น

  • enhanced SLM knowledge and skills

ได้รับคำปรึกษาและคำแนะนำจากหน่วยงานภาครัฐปศุสัตว์จังหวัดอย่างต่อเนื่อง

6.3 Sustainability of Approach activities

Can the land users sustain what has been implemented through the Approach (without external support)?
  • yes
If yes, describe how:

เพราะมีหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัด เข้ามาช่วยให้คำปรึกษา แนะนำ ส่งเสริม ควบคุมดูแลให้ระบบการเลี้ยงหมูหลุมเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด

6.4 Strengths/ advantages of the Approach

Strengths/ advantages/ opportunities in the land user’s view
1.กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมเป็นที่ยอมรับในชุมชนเนื่องจากไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมและลดมลภาวะด้านกลิ่นในระบบการจัดการ
2.มีพื้นที่และทำเลที่ตั้งเหมาะสมเนื่องจากอยู่ไม่ไกลจากตลาดและชุมชน
3.มีผู้สนใจผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากปลอดภัยจากสารเคมี
4.สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ ปศุสัตว์จังหวัด ได้สะดวกและรวดเร็ว
Strengths/ advantages/ opportunities in the compiler’s or other key resource person’s view
1.สมาชิกในกลุ่มมีความเข้มแข็งและมีการประสานงานและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้และให้ความช่วยเหลือกัน ตลอดจนให้ความสำคัญในกิจกรรมกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ
2.มีหน่วยงานภาครัฐให้ความสนใจและเข้ามาช่วยเหลือในเรื่องหลักวิชาการเพื่อให้สามารถผลิตได้เป็นไปตามมาตรฐาน โดยปศุสัตว์จังหวัด
3.มีผู้สนใจมาศึกษาหาความรู้ตลอดจนมาฝึกงานจากกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมจำนวนมากทำให้คนรู้จักมากขึ้นส่งผลทำให้มีตลาดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้น

6.5 Weaknesses/ disadvantages of the Approach and ways of overcoming them

Weaknesses/ disadvantages/ risks in the land user’s view How can they be overcome?
1.การส่งเสริมการเลี้ยงหมูหลุม หากมีการเลี้ยงจำนวนมากขึ้น จะทำให้ขาดแคลนพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุมในท้องถิ่น 1. ควรมีการส่งเสริมให้มีการปลูกพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุม ให้มากขึ้น หรือ ให้ศึกษาสูตรของอาหารให้สอดคล้องกับวัตถุดิบที่มี
2. ราคาจำหน่ายผลิตภัณฑ์หมูหลุม ยังไม่แตกต่างจากราคาผลิตภัณฑ์หมูทั่วไป 2.ควรมีการพิจารณามาตรฐานหมูหลุม เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีกว่าให้มีราคาสูงขึ้น
Weaknesses/ disadvantages/ risks in the compiler’s or other key resource person’s view How can they be overcome?
2.1 รูปแบบของผลิตภัณฑ์ที่จำหน่ายยังไม่ทันสมัยและยังไม่เป็นรูปแบบที่สนใจของผู้บริโภค ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยแนะนำส่งเสริมให้รูปแบบของผลิตภัณฑ์เป็นที่ต้องการของตลาดและผู้บริโภค
2.2 ในการเลี้ยงหมูหลุมของกลุ่มยังขาดการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยทำให้ระยะเวลาการเลี้ยงหรือการจัดการใช้เวลานาน ปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการโดยหาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยจัดการเพื่อสามารถลดต้นทุนการผลิตได้
2.3 ตลาดการรับชื้อผลิตภัณฑ์ยังอยู่ในวงจำกัดยังไม่เป็นที่รู้จักของผู้บริโภคทั่วไป ให้หน่วยงานภาครัฐช่วยส่งเสริมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และใช้ช่องทาง social media
2.4 ระบบการจัดการในกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมยังไม่เป็นไปตามมาตรฐานที่หน่วยงานราชการกำหนด ให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง ปศุสัตว์จังหวัด เข้ามาช่วยในด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด

7. References and links

7.1 Methods/ sources of information

  • field visits, field surveys

-

  • interviews with land users

-

7.2 References to available publications

Title, author, year, ISBN:

-

Available from where? Costs?

-

7.3 Links to relevant information which is available online

Title/ description:

-

URL:

-

Links and modules

Expand all Collapse all

Modules