ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม (Zero Waste Pig Farm Technology Transfer Center)
- Création :
- Mise à jour :
- Compilateur : Kukiat SOITONG
- Rédacteur : –
- Examinateurs : Rima Mekdaschi Studer, William Critchley
-
approaches_4253
Voir les sections
Développer tout Réduire tout1. Informations générales
1.2 Coordonnées des personnes-ressources et des institutions impliquées dans l'évaluation et la documentation de l'Approche
Personne(s) ressource(s) clé(s)
co-compiler:
ผู้รวบรวม:
- ทีมสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต10
032-320929 / -
- / -
สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต10
196 .ม.11 ต.หินกองอำเภอเมืองจังหวัดราชบุรี รหัสไปรษณีย์70000
Thaïlande
exploitant des terres:
.สิงห์โตศรี นายสุพจน์
086-8050749 / -
supojkb@gmail.com / -
กลุ่มหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน
95/1.....ม.9.....ต.ดอนแร่อำเภอ.......เมืองจังหวัด......ราชบุรี รหัสไปรษณีย์ ........70000
Thaïlande
exploitant des terres:
กิจติสร นายประเสริฐ
087-9928353
- / -
-
33/1.....ม.10....ต.ดอนแร่....อ.เมือง....จ.ราชบุรี.......ประเทศ......ไทย
Thaïlande
exploitant des terres:
ห่วงทอง นายสมนึก
081-1930988 / -
- / -
-
25…ม.9....ต.ดอนแร่.....อ.เมือง........จ.ราชบุรี……ประเทศ.....ไทย
Thaïlande
exploitant des terres:
พุทธา นางวันเพ็ญ
083-4299299 / -
- / -
-
.8…..ม.10.....ต.ดอนแร่....อ.เมือง.....จ.ราชบุรี……ประเทศ.....ไทย
Thaïlande
1.3 Conditions relatives à l'utilisation par WOCAT des données documentées
Le compilateur et la(les) personne(s) ressource(s) acceptent les conditions relatives à l'utilisation par WOCAT des données documentées:
Oui
1.4 Références au(x) questionnaire(s) sur les Technologies de GDT
Environmental Friendly Pig Farm /Zero Waste Pig Farm [Thaïlande]
หมูหลุม เป็นการจัดการในการเลี้ยงสุกร ด้วยวิธีการจัดการคอกและการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสานกับการทำงานของจุลินทรีย์ที่ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์หมูที่ปลอดภัย และสามารถกักเก็บของเสียจากคอกเป็นปุ๋ยอินทรีย์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ตลอดจนไม่เกิดมลภาวะต่อชุมชน
- Compilateur : Kukiat SOITONG
2. Description de l'Approche de GDT
2.1 Courte description de l'Approche
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดความรู้เรื่องการเลี้ยงหมูหลุม จากเกษตรกรผู้ประสบความสำเร็จไปยังเกษตรกรและผู้สนใจ รวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุมให้เป็นเวทีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
2.2 Description détaillée de l'Approche
Description détaillée de l'Approche:
แนวทางของ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นกลุ่มที่จัดตั้งขึ้นเพื่อรวมกลุ่มเกษตรกรที่ประกอบอาชีพการเลี้ยงสุกรแบบหลุม โดยเน้นการใช้จุลินทรีย์ มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ในการผลิตสุกรแบบหลุม ให้กับเกษตรกรที่มีความสนใจ และสร้างเครือข่าย เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมและเพิ่มขีดความสามารถในการจัดการด้านการตลาด
2. อะไรคือเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของแนวทาง
วัตถุประสงค์ของ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม
-1 เพื่อให้เกษตรกรและผู้สนใจการเลี้ยงหมูหลุม มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเลี้ยงหมูหลุม
-2 เพื่อสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุม ให้มีการช่วยเหลือ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
-3. เพื่อให้สมาชิกเกษตรกรภายในกลุ่ม มีโอกาสแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
3. วิธีการใดที่ถูกเอามาใช้
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม มีวิธีการดำเนินงานดังนี้
- ศึกษาดูงาน
- อมรมให้ความรู้ องค์ประกอบอยู่ 4 เรื่อง คือ พันธุ์ อาหาร การจัดการ ตลาด
- จัดตั้งเป็นกลุ่มเกษตรผู้เลี้ยงหมูหลุม เพื่อจะได้มีผลผลิตที่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด และมีอำนาจต่อรองได้มาขี้น และทำให้มีโอกาสเข้าถึงทุนได้ง่ายขึ้น
- สร้างเครือข่ายหมูหลุมในจังหวัด และเชื่อมโยงเครือข่ายทั้งประเทศ เพื่อเพิ่มความเข้มแข็งในกลุ่มอาชีพ
4. ขั้นตอนของการเอาไปปฏิบัติใช้มีอันไหนบ้าง
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม มีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
1.ศึกษา ดูงาน และเข้ารับอบรม จากสถานที่ต่างๆ
2.รวมกลุ่มเกษตรกร ผู้สนใจในชุมชนที่เคยเลี้ยงหมูแบบเดิม มาตั้งกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเลี้ยงหมูแบบหลุม
3.จัดตั้ง ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม
4. จัดให้มีกระบวนการถ่ายทอดความรู้ จากการปฏิบัติจริง
5. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยใช้สื่อต่างๆ ได้แก่ แผ่นพับ วิดีโอ youtube การให้สัมภาษณ์ผ่านสื่อโทรทัศน์ และวิทยุ
6. สร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุม ในระดับ ชุมชน และนอกชุมชน โดยจัดให้มีการอบรมการเลี้ยงหมูหลุมทุกเสาร์ที่ 3 ของเดือน
7. มีการส่งเสริมและสนับสนุน จากหน่วยงานรัฐ ได้แก่ กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
ที่เกี่ยวข้องและบทบาทของบุคคลเหล่านั้นมีอะไรบ้าง
ในการดำเนินงานศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม มีผู้เกี่ยวข้องดังนี้
1 เกษตรกรและผู้นำเกษตรกร มีบทบาท ร่วมเรียนรู้ ปฏิบัติ แลกเปลี่ยนความรู้ สนับสนุน
2. หน่วยงานของรัฐ มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณและปัจจัยการผลิต และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
3. หน่วยงานเอกชน มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
4.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทควบคุม กำกับ ดูแล พื้นที่
5. โรงเรียน มหาวิทยาลัย
(6) สิ่งที่ผู้ใช้ที่ดินชอบหรือไม่ชอบเกี่ยวกับแนวทาง
Impact:
1.กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมเป็นที่ยอมรับในชุมชนเนื่องจากไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมและลดมลภาวะด้านกลิ่นในระบบการจัดการ
2.ทำให้เกิดมีผู้สนใจผลิตภัณฑ์หมูหลุมมากขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย
3. สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ ได้สะดวกและรวดเร็
4. การรวมกลุ่มทำให้สมาชิกในกลุ่มมีความเข้มแข็งและมีการประสานงานและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้และให้ความช่วยเหลือกัน ตลอดจนให้ความสำคัญในกิจกรรมกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ
5. มีหน่วยงานภาครัฐให้ความสนใจและเข้ามาช่วยเหลือในเรื่องหลักวิชาการเพื่อให้สามารถผลิตได้เป็นไปตามมาตรฐาน โดยปศุสัตว์จังหวัด
6. ทำให้มีผู้สนใจมาศึกษาหาความรู้ตลอดจนมาฝึกงานจากกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมจำนวนมากทำให้คนรู้จักมากขึ้นส่งผลทำให้มีตลาดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้น
Opportunity:
1.การส่งเสริมการเลี้ยงหมูหลุม หากมีการเลี้ยงจำนวนมากขึ้น จะทำให้ขาดแคลนพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุมในท้องถิ่น ดังนั้น ควรมีการส่งเสริมให้มีการปลูกพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุม ให้มากขึ้น หรือ ให้ศึกษาสูตรของอาหารให้สอดคล้องกับวัตถุดิบที่มี
2. ราคาจำหน่ายผลิตภัณฑ์หมูหลุม ยังไม่แตกต่างจากราคาผลิตภัณฑ์หมูทั่วไป ดังนั้นควรมีการพิจารณามาตรฐานหมูหลุม เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีกว่าให้มีราคาสูงขึ้น
2.3 Photos de l'approche
2.4 Vidéos de l'Approche
Commentaire, brève description:
-
Lieu:
-
Nom du vidéaste:
-
2.5 Pays/ région/ lieux où l'Approche a été appliquée
Région/ Etat/ Province:
ราชบุรี
Autres spécifications du lieu :
ต.ดอนแร่....อ.เมือง...จ.ราชบุรี
Commentaires:
-
Map
×2.6 Dates de début et de fin de l'Approche
Indiquez l'année de démarrage:
2006
Si l'année précise est inconnue, indiquez approximativement quand l'Approche a démarré:
il y a entre 10-50 ans
Commentaires:
เกษตรกรมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
2.7 Type d'Approche
- fondé sur un projet/ programme
2.8 Principaux objectifs de l'Approche
วัตถุประสงค์ของ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม
-1 เพื่อให้เกษตรกรและผู้สนใจการเลี้ยงหมูหลุม มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเลี้ยงหมูหลุม
-2 เพื่อสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุม ให้มีการช่วยเหลือ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
-3. เพื่อให้สมาชิกเกษตรกรภายในกลุ่ม มีโอกาสแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
2.9 Conditions favorisant ou entravant la mise en œuvre de la(des) Technologie(s) appliquée(s) sous l'Approche
normes et valeurs sociales/ culturelles/ religieuses
- favorise
disponibilité/ accès aux ressources et services financiers
- favorise
มีการเลี้ยงหมูหลุมที่ยั่งยืนทำให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ง่าย
cadre institutionnel
- favorise
มีหน่วยงานร่วมบูรณาการ ปศุสัตว์จังหวัด ธกส. พลังงาน พอช. และเกษตรอำเภอ
collaboration/ coordination des acteurs
- favorise
หน่วยงานต่างๆร่วมบูรณาการในพื้นที่
cadre juridique (régime foncier, droits d'utilisation des terres et de l'eau)
- favorise
สามารถใช้ที่ดินในการในการทำฟาร์มเลี้ยงหมูหลุมได้
cadre politique
- favorise
หน่วยงานทั้งภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัดเข้ามาช่วยให้สามารถดำเนินให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
connaissances sur la GDT, accès aux supports techniques
- favorise
เกษตรกรสามารถติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้สะดวก
marchés (pour acheter les intrants, vendre les produits) et prix
- entrave
เนื่องจากตลาดยังไม่แพร่หลายและราคายังต่ำกว่าหมูฟาร์ม
charge de travail, disponibilité de la main-d'œuvre
- entrave
.หาแรงงานที่มีความรู้ความชำนาญในการเลี้ยงหรือการจัดการค่อนข้างยาก
3. Participation et rôles des parties prenantes impliquées dans l'Approche
3.1 Parties prenantes impliquées dans l'Approche et rôles
- exploitants locaux des terres / communautés locales
เกษตรกร กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุม ต.ดอนแร่ อ.เมือง จ.ราชบุรี-
-
- organisations communautaires
อบต
-
- Spécialistes de la GDT/ conseillers agricoles
กรมปศุสัตว์ กรมพั..ฒนาที่ดิน
-
- enseignants/ élèves/ étudiants
เข้ามาศึกษาดูงานจาก วิทยาลัยเกษตร มหาลัยราชภัฏ
-
- secteur privé
บทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
-
Si plusieurs parties prenantes sont impliquées, indiquez l'organisme chef de file ou l'institution responsable:
-
3.2 Participation des exploitants locaux des terres/ communautés locales aux différentes phases de l'Approche
Participation des exploitants locaux des terres/ communautés locales | Spécifiez qui était impliqué et décrivez les activités | |
---|---|---|
initiation/ motivation | auto-mobilisation | หน่วยงานภาครัฐ กลุ่มสมาชิกศึกษาค้นคว้าหาความรู้และศึกษาดูงานในพื้นที่ต่างๆเพื่อนำมาปรับใช้ในพื้นที่ของตนเอง |
planification | interactive | หน่วยงานภาครัฐ กลุ่มสมาชิก กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมและหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัด ช่วยกันวางแผนการดำเนินการให้เหมาะสมและเป็นไปตามมาตรฐาน |
mise en œuvre | interactive | หน่วยงานภาครัฐ กลุ่มสมาชิกดำเนินการตามแผนให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด |
suivi/ évaluation | interactive | มีการติดตามตรวจสอบและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มและมีการติดตามจากหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัดให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด |
3.3 Diagramme/ organigramme (si disponible)
Description:
เป็นขั้นตอนต่างๆของกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน ตำบลดอนแร่ อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี
Auteur:
-
3.4 Prises de décision pour la sélection de la Technologie/ des Technologies
Indiquez qui a décidé de la sélection de la Technologie/ des Technologies à mettre en œuvre:
- tous les acteurs concernés dans le cadre d'une approche participative
Expliquez:
-
Spécifiez sur quelle base ont été prises les décisions:
- expériences et opinions personnelles (non documentées)
- จากหน่วยงานภาครัฐปศุสัตว์จังหวัด
4. Soutien technique, renforcement des capacités et gestion des connaissances
4.1 Renforcement des capacités/ formation
Une formation a-t-elle été dispensée aux exploitants des terres/ autres parties prenantes?
Oui
Spécifiez qui a été formé:
- exploitants des terres
- กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน
Si pertinent, spécifiez le genre, l'âge, le statut, l'ethnie, etc.
กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน และผู้สนใจทั่วไป
Formats de la formation:
- sur le tas
- entre agriculteurs (d'exploitants à exploitants)
Commentaires:
ทำให้กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน
4.2 Service de conseils
Les exploitants des terres ont-ils accès à un service de conseils?
Oui
- กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน
Décrivez/ commentez:
มีเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้คำแนะนำอย่างสม่ำเสมอ
4.3 Renforcement des institutions (développement organisationnel)
Des institutions ont elles été mises en place ou renforcées par le biais de l'Approche?
- non
4.4 Suivi et évaluation
Le suivi et l'évaluation font ils partie de l'Approche? :
Oui
Commentaires:
มีหน่วยงานปศุสัตว์จังหวัดเข้ามาช่วยให้คำแนะนำตรวจสอบให้เป็นไปตามมาตรฐาน
Si oui, ce document est-il destiné à être utilisé pour le suivi et l'évaluation?
Non
4.5 Recherche
La recherche a-t-elle fait partie intégrante de l’Approche?
Non
5. Financement et soutien matériel externe
5.1 Budget annuel de la composante GDT de l'Approche
Si le budget annuel précis n'est pas connu, indiquez une fourchette:
- > 1 000 000
5.2 Soutiens financiers/ matériels fournis aux exploitants des terres
Les exploitants des terres ont-ils reçu un soutien financier/ matériel pour la mise en œuvre de la Technologie/ des Technologies?
Non
5.3 Subventions pour des intrants spécifiques (incluant la main d'œuvre)
- aucun
Commentaires:
-
5.4 Crédits
Des crédits ont-ils été alloués à travers l'Approche pour les activités de GDT?
Non
5.5 Autres incitations ou instruments
D'autres incitations ou instruments ont-ils été utilisés pour promouvoir la mise en œuvre des Technologies de GDT?
Oui
Si oui, spécifiez:
มีการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐอย่างต่อเนื่อง ปศุสัตว์จังหวัด
6. Analyses d'impact et conclusions
6.1 Impacts de l'Approche
Est-ce que l'Approche a autonomisé les exploitants locaux des terres, amélioré la participation des parties prenantes?
- Non
- Oui, un peu
- Oui, modérément
- Oui, beaucoup
เป็นที่ต้องการของตลาด สำหรับผู้ที่ต้องการบริโภคอย่างปลอดภัย
Est-ce que l'Approche a permis la prise de décisions fondées sur des données probantes?
- Non
- Oui, un peu
- Oui, modérément
- Oui, beaucoup
สามารถสร้างรายได้อย่างยั่งยืน
Est-ce que l'Approche a aidé les exploitants des terres à mettre en œuvre et entretenir les Technologies de GDT?
- Non
- Oui, un peu
- Oui, modérément
- Oui, beaucoup
ช่วยรักษามลภาวะภายในชุมชน
Est-ce que l'Approche a amélioré la coordination et la mise en œuvre de la GDT selon un bon rapport coût-efficacité?
- Non
- Oui, un peu
- Oui, modérément
- Oui, beaucoup
กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง
Est-ce que l'Approche a amélioré les connaissances et les capacités des exploitants des terres pour mettre en œuvre la GDT?
- Non
- Oui, un peu
- Oui, modérément
- Oui, beaucoup
มีหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัดเข้ามาให้ความรู้และช่วยแนะนำให้ได้เป็นไปตามมาตรฐาน
Est-ce que l'Approche a amélioré les connaissances et les capacités des autres parties prenantes?
- Non
- Oui, un peu
- Oui, modérément
- Oui, beaucoup
ทำให้สามารถดำเนินการเป็นไปตามมารฐานเดี่ยวกัน
Est-ce que l'Approche a construit/ renforcé les institutions, la collaboration entre parties prenantes?
- Non
- Oui, un peu
- Oui, modérément
- Oui, beaucoup
มีการติดต่อประสานงานและมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน
Est-ce que l'Approche a encouragé les jeunes/ la prochaine génération d'exploitants des terres à s'engager dans la GDT?
- Non
- Oui, un peu
- Oui, modérément
- Oui, beaucoup
สามารถเป็นอาชีพที่ยั่งยืนและทำให้เป็นทางเลือกของรุ่นต่อไปสามารถสานต่อได้
Est-ce que l'Approche a conduit à améliorer la sécurité alimentaire et/ou la nutrition?
- Non
- Oui, un peu
- Oui, modérément
- Oui, beaucoup
เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความปลอดภัยไร้สารเคมี
Est-ce que l'Approche a amélioré l'accès aux marchés?
- Non
- Oui, un peu
- Oui, modérément
- Oui, beaucoup
เป็นทางเลือกของผู้บริโภคที่เน้นความปลอดภัยจากสารเคมี
Est-ce que l'Approche a conduit à l'utilisation/ sources d'énergie plus durables?
- Non
- Oui, un peu
- Oui, modérément
- Oui, beaucoup
มีการนำมูลหมูหลุมไปทำก๊าชชีวภาพ
Est-ce que l'Approche a amélioré la capacité des exploitants des terres à s'adapter aux changements/ extrêmes climatiques et a atténué les catastrophes liées au climat?
- Non
- Oui, un peu
- Oui, modérément
- Oui, beaucoup
มีการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการจัดการ
Est-ce que l'Approche a conduit à des emplois, des opportunités de revenus?
- Non
- Oui, un peu
- Oui, modérément
- Oui, beaucoup
.มีการจ้างแรงงานในท้องถิ่น
6.2 Principale motivation des exploitants des terres pour mettre en œuvre la GDT
- augmenter la production
ผู้บริโภคมีความต้องการเพิ่มขึ้น
- augmenter la rentabilité/ bénéfice, rapport coûts-bénéfices
มีการแปรรูปผผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายเป็นทีต้องการของผู้บริโภค
- affiliation à un mouvement/ projet/ groupe/ réseaux
มีผู้สนใจและเข้าศึกษาดูงานจำนวนมาก
- conscience environnementale
เป็นการจัดการที่ลดมลภาวะทางกลิ่น
- améliorer les connaissances et compétences en GDT
ได้รับคำปรึกษาและคำแนะนำจากหน่วยงานภาครัฐปศุสัตว์จังหวัดอย่างต่อเนื่อง
6.3 Durabilité des activités de l'Approche
Les exploitants des terres peuvent-ils poursuivre ce qui a été mis en œuvre par le biais de l'Approche (sans soutien extérieur)?
- oui
Si oui, décrivez de quelle manière:
เพราะมีหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัด เข้ามาช่วยให้คำปรึกษา แนะนำ ส่งเสริม ควบคุมดูแลให้ระบบการเลี้ยงหมูหลุมเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
6.4 Points forts/ avantages de l'Approche
Points forts/ avantages/ possibilités du point de vue de l'exploitant des terres |
---|
1.กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมเป็นที่ยอมรับในชุมชนเนื่องจากไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมและลดมลภาวะด้านกลิ่นในระบบการจัดการ |
2.มีพื้นที่และทำเลที่ตั้งเหมาะสมเนื่องจากอยู่ไม่ไกลจากตลาดและชุมชน |
3.มีผู้สนใจผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากปลอดภัยจากสารเคมี |
4.สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ ปศุสัตว์จังหวัด ได้สะดวกและรวดเร็ว |
Points forts/ avantages/ possibilités du point de vue du compilateur ou d'une autre personne ressource clé |
---|
1.สมาชิกในกลุ่มมีความเข้มแข็งและมีการประสานงานและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้และให้ความช่วยเหลือกัน ตลอดจนให้ความสำคัญในกิจกรรมกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ |
2.มีหน่วยงานภาครัฐให้ความสนใจและเข้ามาช่วยเหลือในเรื่องหลักวิชาการเพื่อให้สามารถผลิตได้เป็นไปตามมาตรฐาน โดยปศุสัตว์จังหวัด |
3.มีผู้สนใจมาศึกษาหาความรู้ตลอดจนมาฝึกงานจากกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมจำนวนมากทำให้คนรู้จักมากขึ้นส่งผลทำให้มีตลาดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้น |
6.5 Faiblesses/ inconvénients de l'Approche et moyens de les surmonter
Faiblesses/ inconvénients/ risques du point de vue de l’exploitant des terres | Comment peuvent-ils être surmontés? |
---|---|
1.การส่งเสริมการเลี้ยงหมูหลุม หากมีการเลี้ยงจำนวนมากขึ้น จะทำให้ขาดแคลนพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุมในท้องถิ่น | 1. ควรมีการส่งเสริมให้มีการปลูกพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุม ให้มากขึ้น หรือ ให้ศึกษาสูตรของอาหารให้สอดคล้องกับวัตถุดิบที่มี |
2. ราคาจำหน่ายผลิตภัณฑ์หมูหลุม ยังไม่แตกต่างจากราคาผลิตภัณฑ์หมูทั่วไป | 2.ควรมีการพิจารณามาตรฐานหมูหลุม เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีกว่าให้มีราคาสูงขึ้น |
Faiblesses/ inconvénients/ risques du point de vue du compilateur ou d'une autre personne ressource clé | Comment peuvent-ils être surmontés? |
---|---|
2.1 รูปแบบของผลิตภัณฑ์ที่จำหน่ายยังไม่ทันสมัยและยังไม่เป็นรูปแบบที่สนใจของผู้บริโภค | ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยแนะนำส่งเสริมให้รูปแบบของผลิตภัณฑ์เป็นที่ต้องการของตลาดและผู้บริโภค |
2.2 ในการเลี้ยงหมูหลุมของกลุ่มยังขาดการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยทำให้ระยะเวลาการเลี้ยงหรือการจัดการใช้เวลานาน | ปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการโดยหาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยจัดการเพื่อสามารถลดต้นทุนการผลิตได้ |
2.3 ตลาดการรับชื้อผลิตภัณฑ์ยังอยู่ในวงจำกัดยังไม่เป็นที่รู้จักของผู้บริโภคทั่วไป | ให้หน่วยงานภาครัฐช่วยส่งเสริมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และใช้ช่องทาง social media |
2.4 ระบบการจัดการในกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมยังไม่เป็นไปตามมาตรฐานที่หน่วยงานราชการกำหนด | ให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง ปศุสัตว์จังหวัด เข้ามาช่วยในด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด |
7. Références et liens
7.1 Méthodes/ sources d'information
- visites de terrain, enquêtes sur le terrain
-
- interviews/entretiens avec les exploitants des terres
-
7.2 Références des publications disponibles
Titre, auteur, année, ISBN:
-
Disponible à partir d'où? Coût?
-
7.3 Liens vers les informations pertinentes disponibles en ligne
Titre/ description:
-
URL:
-
Liens et modules
Développer tout Réduire toutLiens
Environmental Friendly Pig Farm /Zero Waste Pig Farm [Thaïlande]
หมูหลุม เป็นการจัดการในการเลี้ยงสุกร ด้วยวิธีการจัดการคอกและการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสานกับการทำงานของจุลินทรีย์ที่ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์หมูที่ปลอดภัย และสามารถกักเก็บของเสียจากคอกเป็นปุ๋ยอินทรีย์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ตลอดจนไม่เกิดมลภาวะต่อชุมชน
- Compilateur : Kukiat SOITONG
Modules
Aucun module trouvé