Technologies

เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา Organic Farm on Moderate Hillside Slope [Thaïlande]

-

technologies_4242 - Thaïlande

État complet : 96%

1. Informations générales

1.2 Coordonnées des personnes-ressources et des institutions impliquées dans l'évaluation et la documentation de la Technologie

Personne(s)-ressource(s) clé(s)

co-compiler:
ผู้รวบรวม:
exploitant des terres:

มงคลกาญจนคุณ นายพัฒน์พงษ์

-

Thaïlande

1.3 Conditions relatives à l'utilisation par WOCAT des données documentées

Le compilateur et la(les) personne(s) ressource(s) acceptent les conditions relatives à l'utilisation par WOCAT des données documentées:

Oui

1.4 Déclaration sur la durabilité de la Technologie décrite

Est-ce que la Technologie décrite ici pose problème par rapport à la dégradation des terres, de telle sorte qu'elle ne peut pas être déclarée comme étant une technologie de gestion durable des terres?

Non

Commentaires:

เกษตรกรสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง

1.5 Référence au(x) Questionnaires sur les Approches de GDT (documentées au moyen de WOCAT)

กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์
approaches

กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ [Thaïlande]

กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เป็นการรวมกลุ่มของเกษตรกรที่ดำเนินการทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยได้จัดให้มีศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย เพื่อเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ร่วมกัน

  • Compilateur : Kukiat SOITONG

2. Description de la Technologie de GDT

2.1 Courte description de la Technologie

Définition de la Technologie:

เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา เป็นการจัดการพื้นที่ ดินและน้ำ ให้สามารถผลิตสินค้าทางการเกษตรที่ปลอดภัยได้อย่างยั่งยืน

2.2 Description détaillée de la Technologie

Description:

(1)เทคโนโลยีนำไปใช้ที่ไหน(สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของมนุษย์
พื้นที่ทำการเกษตร ที่เป็นที่ลาดเชิงเขา ดินมีลักษณะเป็นดินร่วนปนกรวด ง่ายต่อการชะล้างพังทลาย และยังขาดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำ ทำให้ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง มีการทำการเกษตรเชิงเดี่ยว ได้แก่ การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่มีการใช้ปัจจัยการผลิตและใช้เงินลงทุนมาก เช่น ปุ๋ยเคมี สารกำจัดศัตรูพืชและวัชพืช อย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดสารพิษตกค้างในผลผลิต เป็นอันตรายต่อสุขภาพ





)(2) อะไรคือลักษณะหรือองค์ประกอบที่สำคัญของเทคโนโลยี
องค์ประกอบที่สำคัญของเทคโนโลยีระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
1.สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน ด้วยการใช้พืชปุ๋ยสด(ปอเทือง สลับกับถั่วพร้า)และการใช้ ปุ๋ยหมัก
2.การจัดการพื้นที่ โดย ปลูกหญ้าแฝก บนที่ลาดเชิงเขา เพื่อชะลอการไหลของน้ำ และแบ่งพื้นที่ทำการเกษตรตามความลาดชัน
3. สร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ เช่น ขุดสระน้ำ หรือ ขุดบ่อบาดาล
4. การจัดทำ Buffer Zone
5. การจัดการ โรคและแมลง ด้วยสารชีวภัณฑ์
6. กำจัดวัชพืช ด้วยวิธีการตัดหญ้าคลุมดิน
(3)อะไรคือจุดประสงค์หรือหน้าที่ของเทคโนโลยี
จุดประสงค์ของ เทคโนโลยีระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
1 เพื่อฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน สร้างสมดุลให้กับระบบนิเวศน์ และเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ
2. เพื่อลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มรายได้
3. เพื่อให้มีสุขภาพดีขึ้น
(4)กิจกรรมที่สำคัญหรือปัจจัยการผลิตที่จำเป็นในการจัดตั้งหรือบำรุงรักษาสภาพเทคโนโลยี
ขั้นตอนการปฏิบัติในการจัดทำระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
1.สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน
1.1 ปลูกพืชปุ๋ยสด โดยใช้ปอเทือง สลับกับถั่วพร้า ปลูก 6 ครั้งต่อปี ต่อเนื่อง 2 ปี
1.1.1 การปลูกปอเทือง
ใช้วิธีการปลูกแบบหว่าน ใช้เมล็ดประมาณ 5 กิโลกรัม/ไร่ แล้วทำการคราดกลบตื้นๆ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ปอเทืองจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.1.2 วิธีการปลูกถั่วพร้า
ใช้วิธีการปลูกแบบโรยเป็นแถว โดยใช้เมล็ดโรยลงในแถว ซึ่งมีระยะระหว่างแถว 75 – 100เซนติเมตร เมื่อโรยเมล็ดลงในแถวแล้วกลบเมล็ดด้วยดินบาง ๆ ในอัตรา 5 - 8 กิโลกรัมต่อไร่ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ถั่วพร้าจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.2 ใช้ปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ในฟาร์ม และใช้น้ำหมักชีวภาพ
2. การจัดการพื้นที่
2.1 ปลูกหญ้าแฝก บนที่ลาดเชิงเขา เพื่อชะลอการไหลของน้ำ ดักตะกอนดิน และเป็นการควบคุมแมลงศัตรูพืช
2.2 ให้จัดการพื้นที่และปลูกพืชตามความลาดชัน เป็น 2 ระดับคือ
-ที่ลาดเชิงเขา ปลูกไผ่ ไม้ผล ป่าใช้สอย
-ที่ราบ ปลูกกล้วย มะละกอ พืชผักสวนครัว ฝรั่ง สมุนไพร ไม้ผล

3. สร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ โดยขุดสระน้ำ และขุดบ่อบาดาล เพื่อใช้ในการอุปโภค และทำการเกษตรครอบคลุมพื้นที่ 34 ไร่ โดยการใช้ระบบสปริงเกอร์ และให้น้ำตามความลาดชันของพื้นที่ นอกจากนี้ มีการให้น้ำหมักชีวภาพ ผ่านระบบสปริงเกอร์
4. การจัดทำ Buffer Zone โดยปลูกไผ่ ป่าไม้ใช้สอย และขึงสแลนสูง 2.50 เมตร ในด้านที่ไม่สามารถปลูกต้นไม้ได้ เพื่อป้องกันสารเคมีที่ปลิวมาจากด้านข้าง
5. การจัดการ โรคและแมลง ใช้สารชีวภัณฑ์ เช่น น้ำหมักชีวภาพ พ.ด 7
6. กำจัดวัชพืช ด้วยวิธีการตัดหญ้าคลุมดิน เพื่อรักษาความชื้นในดินและเพิ่มอินทรยวัตถุให้แก่ดิน
7 การจัดทำบัญชีฟาร์ม เพื่อให้ทราบต้นทุน กำไร-ขาดทุน ในการบริหารและจัดการฟาร์ม




5)ประโยชน์ที่ได้รับหรือผลกระทบของเทคโนโลยีคืออะไรบ้าง
1 พื้นที่ที่ทำการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น
2 สามารถลดต้นทุนการผลิตได้
3 ผลผลิตทางการเกษตรที่ได้มีความปลอดภัย ไม่มีสารพิษตกค้าง ทำให้ขายผลผลิตได้ราคาดีขึ้น
4. ทำให้สุขภาพของเกษตรกร ดีขึ้น

3)โอกาส
3.1 ทำให้เกิดความร่วมมือของผู้ผลิตกับหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งภาครัฐที่เข้ามาร่วมสนับสนุน
3.2 มีโอกาสได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้า ทำให้เป็นที่ต้องการของตลาด
3.3 รัฐมีนโยบายสนันสนุนด้านเกษตรอินทรีย์ ทำให้เกิดความร่วมมือของภาครัฐและเกษตรกร สร้างเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันได้มากขึ้น

2.3 Photos de la Technologie

Remarques générales concernant les photos:

-

2.4 Vidéos de la Technologie

Commentaire, brève description:

-

Lieu:

-

Nom du vidéaste:

-

2.5 Pays/ région/ lieux où la Technologie a été appliquée et qui sont couverts par cette évaluation

Pays:

Thaïlande

Région/ Etat/ Province:

กาญจนบุรี

Autres spécifications du lieu:

บ้านทุ่งนา ม.4 ต.หนองเป็ด อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี

Spécifiez la diffusion de la Technologie:
  • appliquée en des points spécifiques ou concentrée sur une petite surface
Commentaires:

-

2.6 Date de mise en œuvre de la Technologie

Indiquez l'année de mise en œuvre:

2004

2.7 Introduction de la Technologie

Spécifiez comment la Technologie a été introduite: :
  • par le biais de projets/ d'interventions extérieures
Commentaires (type de projet, etc.) :

กรมส่งเสริมการเกษตร

3. Classification de la Technologie de GDT

3.1 Principal(aux) objectif(s) de la Technologie

  • améliorer la production
  • réduire, prévenir, restaurer les terres dégradées

3.2 Type(s) actuel(s) d'utilisation des terres, là où la Technologie est appliquée

Terres cultivées

Terres cultivées

  • Cultures pérennes (non ligneuses)
  • Plantations d’arbres ou de buissons
  • มะม่วง มะละกอ มะพร้าว ฝรั่ง เงาะ ไผ่
Pâturages

Pâturages

Commentaires:

-

3.3 Est-ce que l’utilisation des terres a changé en raison de la mise en œuvre de la Technologie ?

Commentaires:

-

3.4 Approvisionnement en eau

autre (par ex., post-inondation):
  • บ่อบาดาล
Commentaires:

-

3.5 Groupe de GDT auquel appartient la Technologie

  • brise-vent/ plantations abris
  • gestion intégrée cultures-élevage
  • gestion intégrée de la fertilité des sols

3.6 Mesures de GDT constituant la Technologie

pratiques agronomiques

pratiques agronomiques

  • A2: Matière organique/ fertilité du sol
pratiques végétales

pratiques végétales

  • V1: Couverture d’arbres et d’arbustes
Commentaires:

-

3.7 Principaux types de dégradation des terres traités par la Technologie

érosion hydrique des sols

érosion hydrique des sols

  • Wt: perte de la couche superficielle des sols (couche arable)/ érosion de surface
dégradation chimique des sols

dégradation chimique des sols

  • Cn: baisse de la fertilité des sols et réduction du niveau de matière organique (non causée par l’érosion)
dégradation biologique

dégradation biologique

  • Bq: baisse de la quantité/ biomasse
Commentaires:

-

3.8 Prévention, réduction de la dégradation ou réhabilitation des terres dégradées

Spécifiez l'objectif de la Technologie au regard de la dégradation des terres:
  • prévenir la dégradation des terres
  • réduire la dégradation des terres

4. Spécifications techniques, activités, intrants et coûts de mise en œuvre

4.1 Dessin technique de la Technologie

Spécifications techniques (associées au dessin technique):

พื้นที่การเกษตร ขนาด 39 ไร่ ทิศเหนือติดเขตรักษาพรรณสัตว์ป่าสลักพระ ทิศใต้ติดถนน
ขั้นตอนการปฏิบัติในการจัดทำระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
2.สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน
1.1 ปลูกพืชปุ๋ยสด โดยใช้ปอเทือง สลับกับถั่วพร้า ปลูก 6 ครั้งต่อปี ต่อเนื่อง 2 ปี
1.1.1 การปลูกปอเทือง
ใช้วิธีการปลูกแบบหว่าน ใช้เมล็ดประมาณ 5 กิโลกรัม/ไร่ แล้วทำการคราดกลบตื้นๆ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ปอเทืองจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.1.2 วิธีการปลูกถั่วพร้า
ใช้วิธีการปลูกแบบโรยเป็นแถว โดยใช้เมล็ดโรยลงในแถว ซึ่งมีระยะระหว่างแถว 75 – 100เซนติเมตร เมื่อโรยเมล็ดลงในแถวแล้วกลบเมล็ดด้วยดินบาง ๆ ในอัตรา 5 - 8 กิโลกรัมต่อไร่ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ถั่วพร้าจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.2 ใช้ปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ในฟาร์ม และใช้น้ำหมักชีวภาพ
2. การจัดการพื้นที่
2.1 ปลูกหญ้าแฝก บนที่ลาดเชิงเขา เพื่อชะลอการไหลของน้ำ ดักตะกอนดิน และเป็นการควบคุมแมลงศัตรูพืช
2.2 ให้จัดการพื้นที่และปลูกพืชตามความลาดชัน เป็น 2 ระดับคือ
-ที่ลาดเชิงเขา ปลูกไผ่ ไม้ผล ป่าใช้สอย
-ที่ราบ ปลูกกล้วย มะละกอ พืชผักสวนครัว ฝรั่ง สมุนไพร ไม้ผล
3. สร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ โดยขุดสระน้ำ และขุดบ่อบาดาล เพื่อใช้ในการอุปโภค และทำการเกษตรครอบคลุมพื้นที่ 34 ไร่ โดยการใช้ระบบสปริงเกอร์ และให้น้ำตามความลาดชันของพื้นที่ นอกจากนี้ มีการให้น้ำหมักชีวภาพ ผ่านระบบสปริงเกอร์
4. การจัดทำ Buffer Zone โดยปลูกไผ่ ป่าไม้ใช้สอย และขึงสแลนสูง 2.50 เมตร ในด้านที่ไม่สามารถปลูกต้นไม้ได้ เพื่อป้องกันสารเคมีที่ปลิวมาจากด้านข้าง
5. การจัดการ โรคและแมลง ใช้สารชีวภัณฑ์ เช่น น้ำหมักชีวภาพ พ.ด 7
6. กำจัดวัชพืช ด้วยวิธีการตัดหญ้าคลุมดิน เพื่อรักษาความชื้นในดินและเพิ่มอินทรยวัตถุให้แก่ดิน
7 การจัดทำบัญชีฟาร์ม เพื่อให้ทราบต้นทุน กำไร-ขาดทุน ในการบริหารและจัดการฟาร์ม

Auteur:

-

Date:

2016

4.2 Informations générales sur le calcul des intrants et des coûts

Spécifiez la manière dont les coûts et les intrants ont été calculés:
  • par superficie de la Technologie
Indiquez la taille et l'unité de surface:

39 ไร่

autre/ monnaie nationale (précisez):

Thai Baht

Indiquez le taux de change des USD en devise locale, le cas échéant (p.ex. 1 USD = 79.9 réal brésilien): 1 USD = :

32,0

Indiquez le coût salarial moyen de la main d'œuvre par jour:

300บาท

4.3 Activités de mise en place/ d'établissement

Activité Calendrier des activités (saisonnier)
1. ปรับปรุง ก่อนปลูก
2. ระบบน้ำ ฤดูแล้ง
3. การกำจัดวัชพืช ระหว่างปลูก
4. การกำจัดศัตรูพืช ระหว่างปลูก
5. แนวกันชน ฤดูฝน
6. การใช้หญ้าแฝก ฤดูฝน
7. การทำบัญชีฟาร์ม ตลอดปี

4.4 Coûts et intrants nécessaires à la mise en place

Spécifiez les intrants Unité Quantité Coûts par unité Coût total par intrant % des coût supporté par les exploitants des terres
Main d'œuvre 1.1การปลูกปอเทือง ครั้ง 2,0 900,0 1800,0 100,0
Main d'œuvre 1.2สับกลบปอเทือง ครั้ง 2,0 900,0 1800,0 100,0
Main d'œuvre 1.3ฉีดน้ำหมักชีวภาพ ครั้ง 2,0 900,0 1800,0 100,0
Main d'œuvre 1.4ใส่ปุ๋ยหมัก ครั้ง 1,0 1800,0 1800,0 100,0
Equipements 1.5ใส่ปูนโดโลไมท์ ครั้ง 1,0 1600,0 1600,0 100,0
Equipements 2.ใส่ปุ๋ยหมักปรับปรุงดิน ครั้ง 1,0 9000,0 9000,0 100,0
Equipements 3.กำจัดวัชพืช ครั้ง 8,0 9600,0 76800,0 100,0
Equipements 4.กำจัดศัตรูพืช ครั้ง 24,0 600,0 14400,0 100,0
Equipements 5.ใช้ตาข่ายพรางแสงเป็นแนวกันชน ม้วน 2,0 600,0 1200,0 100,0
Equipements 6.ปลูกต้นไม้เป็นแนวกันชน ครั้ง 2,0 600,0 1200,0 100,0
Equipements 7.ดูแลรักษาตัดแต่งหญ้าแฝก ครั้ง 8,0 900,0 7200,0 100,0
Equipements อุปกรณ์ต่อบ่อบาดาล บ่อ 3,0 30000,0 90000,0 100,0
Matériel végétal ตาข่ายพรางแสง ม้วน 2,0 1700,0 3400,0 100,0
Matériel végétal ค่าเมล็ดพันธุ์ปอเทือง กก. 63,0 33,0 2079,0 100,0
Matériel végétal ค่าต้นไม้ปลูกแนวกันชน ต้น 100,0 10,0 1000,0 100,0
Matériel végétal พันธุ์กล้าหญ้าแฝก กล้า 150000,0 0,73 109500,0 100,0
Engrais et biocides 1.การปรับปรุงพื้นที่ทำการเกษตร
Engrais et biocides 1.1น้ำหมักชีวภาพ ลิตร 50,0 20,0 1000,0 100,0
Engrais et biocides 1.2โดโลไมท์ กก. 4200,0 4,0 16800,0 100,0
Engrais et biocides 2.ปุ๋ยหมักปรับปรุงดิน กก. 5500,0 4,0 22000,0 100,0
Engrais et biocides 3.สารไล่แมลง ลิตร 50,0 30,0 1500,0 100,0
Autre 1.การปจัดการพื้นที่ทำการเกษตร
Autre 1.1ค่าไถพื้นที่ ไร่ 21,0 500,0 10500,0 100,0
Autre 2.บ่อบาดาล บ่อ 3,0 70000,0 210000,0 100,0
Coût total de mise en place de la Technologie 586379,0
Coût total de mise en place de la Technologie en dollars américains (USD) 18324,34
Si le coût n'est pas pris en charge à 100% par l'exploitant des terres, indiquez qui a financé le coût restant:

-

Commentaires:

-

4.5 Activités d'entretien/ récurrentes

Activité Calendrier/ fréquence
1. 1. ระบบน้ำ 2 ครั้งต่อปี ก่อน-หลังฤดูฝน
2. 2.การกำจัดวัชพืช 12 ครั้งต่อปี ระหว่างฤดูปลูกพืช
3. 3. การกำจัดศัตรูพืช 12 ครั้งต่อปีระหว่างฤดูปลูกพืช
4. 4.แนวกันชน 2 ครั้งต่อปี ก่อนและหลังฤดูปลูก
5. 5.การใช้หญ้าแฝก 12 ครั้งต่อปี ระหว่างฤดูปลูก
Commentaires:

-

4.6 Coûts et intrants nécessaires aux activités d'entretien/ récurrentes (par an)

Spécifiez les intrants Unité Quantité Coûts par unité Coût total par intrant % des coût supporté par les exploitants des terres
Main d'œuvre 1.ค่ากำจัดวัชพืชในแปลง ครั้ง 8,0 1200,0 9600,0 100,0
Main d'œuvre 2.ค่ากำจัดศัตรูพืช ครั้ง 24,0 600,0 14400,0 100,0
Main d'œuvre 3.ค่าซ่อมแซมแนวกันชน ครั้ง 6,0 300,0 1800,0 100,0
Main d'œuvre 4.ค่าตัดแต่งแนวหญ้าแฝก ครั้ง 8,0 900,0 7200,0 100,0
Autre 1.ค่าไฟฟ้าเกี่ยวกับระบบน้ำ เดือน 12,0 500,0 6000,0 100,0
Coût total d'entretien de la Technologie 39000,0
Coût total d'entretien de la Technologie en dollars américains (USD) 1218,75
Si le coût n'est pas pris en charge à 100% par l'exploitant des terres, indiquez qui a financé le coût restant:

-

Commentaires:

-

4.7 Facteurs les plus importants affectant les coûts

Décrivez les facteurs les plus importants affectant les coûts :

ค่าสาธารณูปโภค1.ค่าไฟฟ้า 2. ค่าเจาะบ่อบาดาลพร้อมวางระบบน้ำ 3. ค่าแรงงานและขนส่ง

5. Environnement naturel et humain

5.1 Climat

Précipitations annuelles
  • < 250 mm
  • 251-500 mm
  • 501-750 mm
  • 751-1000 mm
  • 1001-1500 mm
  • 1501-2000 mm
  • 2001-3000 mm
  • 3001-4000 mm
  • > 4000 mm
Spécifiez la pluviométrie moyenne annuelle (si connue), en mm:

1600,00

Spécifications/ commentaires sur les précipitations:

เป็นพื้นที่เงาฝน (rain shadow) ทำให้มีฝนตกน้อย อากาศร้อนจัดในฤดูร้อน และหนาวจัดในฤดูหนาว โดยมีอุณหภูมิสูงสุดประมาณ 44-45 องศาเซล-เซียสในเดือนเมษายน อุณหภูมิต่ำสุดในเดือนธันวาคมประมาณ 8-9 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 27 องศาเซล-เซียส ช่วงฤดูฝนเริ่มตกจากกลางเดือนเมษายน และสิ้นสุดในช่วงกลางเดือนตุลาคม

Indiquez le nom de la station météorologique de référence considérée:

-

Zone agro-climatique
  • humide

-

5.2 Topographie

Pentes moyennes:
  • plat (0-2 %)
  • faible (3-5%)
  • modéré (6-10%)
  • onduleux (11-15%)
  • vallonné (16-30%)
  • raide (31-60%)
  • très raide (>60%)
Reliefs:
  • plateaux/ plaines
  • crêtes
  • flancs/ pentes de montagne
  • flancs/ pentes de colline
  • piémonts/ glacis (bas de pente)
  • fonds de vallée/bas-fonds
Zones altitudinales:
  • 0-100 m
  • 101-500 m
  • 501-1000 m
  • 1001-1500 m
  • 1501-2000 m
  • 2001-2500 m
  • 2501-3000 m
  • 3001-4000 m
  • > 4000 m
Indiquez si la Technologie est spécifiquement appliquée dans des:
  • situations concaves
Commentaires et précisions supplémentaires sur la topographie:

พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบบนภูเขา ติดอ่างเก็บน้ำเขื่อนศรีนครินทร์ สภาพภูมิประเทศเป็นภูเขาหินปูนและหินตะกอนเป็นส่วนใหญ่ ระดับความสูง สูงสุดประมาณ 1,100 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง โดยมีความสูงเฉลี่ยประมาณ 400 เมตร

5.3 Sols

Profondeur moyenne du sol:
  • très superficiel (0-20 cm)
  • superficiel (21-50 cm)
  • modérément profond (51-80 cm)
  • profond (81-120 cm)
  • très profond (>120 cm)
Texture du sol (de la couche arable):
  • moyen (limoneux)
Texture du sol (> 20 cm sous la surface):
  • fin/ lourd (argile)
Matière organique de la couche arable:
  • moyen (1-3%)

5.4 Disponibilité et qualité de l'eau

Profondeur estimée de l’eau dans le sol:

> 50 m

Disponibilité de l’eau de surface:

bonne

Qualité de l’eau (non traitée):

uniquement pour usage agricole (irrigation)

La salinité de l'eau est-elle un problème? :

Non

La zone est-elle inondée?

Non

Commentaires et précisions supplémentaires sur la qualité et la quantité d'eau:

-

5.5 Biodiversité

Diversité des espèces:
  • moyenne
Diversité des habitats:
  • moyenne
Commentaires et précisions supplémentaires sur la biodiversité:

-

5.6 Caractéristiques des exploitants des terres appliquant la Technologie

Sédentaire ou nomade:
  • Sédentaire
Orientation du système de production:
  • exploitation mixte (de subsistance/ commerciale)
Revenus hors exploitation:
  • moins de 10% de tous les revenus
Niveau relatif de richesse:
  • moyen
Individus ou groupes:
  • individu/ ménage
Niveau de mécanisation:
  • travail manuel
Genre:
  • hommes
Age des exploitants des terres:
  • personnes d'âge moyen
Indiquez toute autre caractéristique pertinente des exploitants des terres:

-

5.7 Superficie moyenne des terres utilisées par les exploitants des terres appliquant la Technologie

  • < 0,5 ha
  • 0,5-1 ha
  • 1-2 ha
  • 2-5 ha
  • 5-15 ha
  • 15-50 ha
  • 50-100 ha
  • 100-500 ha
  • 500-1 000 ha
  • 1 000-10 000 ha
  • > 10 000 ha
Cette superficie est-elle considérée comme de petite, moyenne ou grande dimension (en se référant au contexte local)?
  • grande dimension
Commentaires:

-

5.8 Propriété foncière, droits d’utilisation des terres et de l'eau

Propriété foncière:
  • individu, avec titre de propriété
Droits d’utilisation des terres:
  • individuel
Droits d’utilisation de l’eau:
  • individuel
Précisez:

-

Commentaires:

-

5.9 Accès aux services et aux infrastructures

santé:
  • pauvre
  • modéré
  • bonne
éducation:
  • pauvre
  • modéré
  • bonne
assistance technique:
  • pauvre
  • modéré
  • bonne
emploi (par ex. hors exploitation):
  • pauvre
  • modéré
  • bonne
marchés:
  • pauvre
  • modéré
  • bonne
énergie:
  • pauvre
  • modéré
  • bonne
routes et transports:
  • pauvre
  • modéré
  • bonne
eau potable et assainissement:
  • pauvre
  • modéré
  • bonne
services financiers:
  • pauvre
  • modéré
  • bonne
Commentaires:

-

6. Impacts et conclusions

6.1 Impacts sur site que la Technologie a montrés

Impacts socio-économiques

Production

production agricole

en baisse
en augmentation
Commentaires/ spécifiez:

-

qualité des cultures

en baisse
en augmentation
Commentaires/ spécifiez:

-

production animale

en baisse
en augmentation
Commentaires/ spécifiez:

-

diversité des produits

en baisse
en augmentation
Commentaires/ spécifiez:

-

gestion des terres

entravé
simplifié
Commentaires/ spécifiez:

-

Disponibilité et qualité de l'eau

qualité de l'eau potable

en baisse
en augmentation
Commentaires/ spécifiez:

-

Revenus et coûts

dépenses pour les intrants agricoles

en augmentation
en baisse
Commentaires/ spécifiez:

-

revenus agricoles

en baisse
en augmentation
Commentaires/ spécifiez:

-

diversité des sources de revenus

en baisse
en augmentation

charge de travail

en augmentation
en baisse
Commentaires/ spécifiez:

-

Impacts socioculturels

sécurité alimentaire/ autosuffisance

réduit
amélioré
Commentaires/ spécifiez:

-

situation sanitaire

détérioré
amélioré
Commentaires/ spécifiez:

-

institutions communautaires

affaibli
renforcé
Commentaires/ spécifiez:

-

connaissances sur la GDT/ dégradation des terres

réduit
amélioré
Commentaires/ spécifiez:

-

Impacts écologiques

Sols

humidité du sol

en baisse
en augmentation
Commentaires/ spécifiez:

-

perte en sol

en augmentation
en baisse
Commentaires/ spécifiez:

-

cycle/ recharge des éléments nutritifs

en baisse
en augmentation
Commentaires/ spécifiez:

-

matière organique du sol/ au dessous du sol C

en baisse
en augmentation
Commentaires/ spécifiez:

-

Biodiversité: végétale, animale

diversité végétale

en baisse
en augmentation
Commentaires/ spécifiez:

-

Réduction des risques de catastrophe et des risques climatiques

impacts de la sécheresse

en augmentation
en baisse
Commentaires/ spécifiez:

-

émissions de carbone et de gaz à effet de serre

en augmentation
en baisse
Commentaires/ spécifiez:

-

risques d'incendies

en augmentation
en baisse
Commentaires/ spécifiez:

-

vitesse du vent

en augmentation
en baisse
Commentaires/ spécifiez:

-

Précisez l'évaluation des impacts sur site (sous forme de mesures):

-

6.2 Impacts hors site que la Technologie a montrés

envasement en aval

en augmentation
en baisse
Commentaires/ spécifiez:

-

pollution des rivières/ nappes phréatiques

en augmentation
réduit
Commentaires/ spécifiez:

-

dommages sur les champs voisins

en augmentation
réduit
Commentaires/ spécifiez:

-

Précisez l'évaluation des impacts extérieurs (sous forme de mesures):

-

6.3 Exposition et sensibilité de la Technologie aux changements progressifs et aux évènements extrêmes/catastrophes liés au climat (telles que perçues par les exploitants des terres)

Changements climatiques progressifs

Changements climatiques progressifs
Saison Augmentation ou diminution Comment la Technologie fait-elle face à cela?
températures annuelles décroît modérément
températures saisonnières décroît modérément
précipitations annuelles modérément
précipitations saisonnières modérément

Extrêmes climatiques (catastrophes)

Catastrophes météorologiques
Comment la Technologie fait-elle face à cela?
pluie torrentielle locale modérément
Catastrophes climatiques
Comment la Technologie fait-elle face à cela?
sécheresse bien
feu de forêt modérément
Catastrophes biologiques
Comment la Technologie fait-elle face à cela?
maladies épidémiques pas bien

Autres conséquences liées au climat

Autres conséquences liées au climat
Comment la Technologie fait-elle face à cela?
prolongement de la période de croissance pas bien
réduction de la période de croissance bien
Commentaires:

-

6.4 Analyse coûts-bénéfices

Quels sont les bénéfices comparativement aux coûts de mise en place (du point de vue des exploitants des terres)?
Rentabilité à court terme:

légèrement négative

Rentabilité à long terme:

positive

Quels sont les bénéfices comparativement aux coûts d'entretien récurrents (du point de vue des exploitants des terres)?
Rentabilité à court terme:

neutre / équilibrée

Rentabilité à long terme:

positive

Commentaires:

-

6.5 Adoption de la Technologie

  • 1-10%
Si disponible, quantifiez (nombre de ménages et/ou superficie couverte):

10 ครัวเรือน

De tous ceux qui ont adopté la Technologie, combien d'entre eux l'ont fait spontanément, à savoir sans recevoir aucune incitation matérielle, ou aucune rémunération? :
  • 0-10%
Commentaires:

-

6.6 Adaptation

La Technologie a-t-elle été récemment modifiée pour s'adapter à l'évolution des conditions?

Oui

autre (précisez):

ปรับเปลี่ยนเรื่องค่าใช้จ่ายต้องประหยัดมากขึ้น ต้องมีความละเอียดมากขึ้น (สังเกตมากขึ้น)

Spécifiez l'adaptation de la Technologie (conception, matériaux/ espèces, etc.):

ปรับลดการใช้พลังงานโดยการใช้โซล่าร์เซลล์ในการใช้น้ำบาดาล

6.7 Points forts/ avantages/ possibilités de la Technologie

Points forts/ avantages/ possibilités du point de vue de l'exploitant des terres
1.1 พื้นที่ที่ทำการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น
1.2 สามารถลดต้นทุนการผลิตได้
1.3 ผลผลิตทางการเกษตรที่ได้มีความปลอดภัยไม่มีสารพิษตกค้าง
2.1 ขายผลผลิตได้ราคาดีขึ้น
2.2 ทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง
2.3 เป็นพื้นที่ที่สามารถส่งผลผลิตสู่ตลาดอย่างง่าย เส้นทางคมนาคมสะดวก
2.4 เกษตรกรได้รับความรู้และมีประสบการณ์ในการทำการเกษตรดีกว่าเกษตรกรรายอื่นๆ
3.1 มีการร่วมมือของผู้ผลิตกับหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งภาครัฐที่เข้ามาร่วมสนับสนุน
3.2 ได้รับตราสัญลักษณ์รับรองมาตรฐานสินค้าทำให้ผู้บริโภคเชื่อมั่นเป็นที่ต้องการของตลาด
Points forts/ avantages/ possibilités du point de vue du compilateur ou d'une autre personne ressource clé
1)ได้มีนโยบายของภาครัฐที่ช่วยสนันสนุนด้านการเกษตรอินทรีย์
2)ได้มีการร่วมมือของภาครัฐและผู้ผลิตทำให้สามารถแข่งขันได้มากขึ้น

6.8 Faiblesses/ inconvénients/ risques de la Technologie et moyens de les surmonter

Faiblesses/ inconvénients/ risques du point de vue de l’exploitant des terres Comment peuvent-ils être surmontés?
1.1 ต้องใช้เวลาเพิ่มมากขึ้นในการทำการเกษตรแบบระบบอินทรีย์ 1.1 หานวัตรกรรมและเทคโนโลยีต่างๆเข้ามาช่วย
1.2 ต้องทำแนวกันชนแปลงตัวเองเพิ่มมากขึ้นเพื่อป้องกันสารพิษของแปลงเพื่อนบ้าน 1.2 ต้องมีการออกกฏหมายคุ้มครองสำหรับการทำเกษตรอินทรีย์
2.1 ต้องเสียเวลานานและมีหลายขั้นตอนในการขอใบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 2.1 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปรับหลักเกณฑ์ทำให้เหมาะสม
2.2 ต้องใช้เวลาและแรงงานพร้อมจัดหาวัสดุในการทำปุ๋ยอิทรีย์ใช้เอง 2.2 หาวัสดุในพื้นที่นำมาใช้เพื่อลดต้นทุนการผลิต
3.1 ผู้บริโภคยังสับสนไม่รู้ว่าเกษตรอินทรีย์คืออะไร 3.1 ให้ความรู้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น
3.2อุปสรรคเรื่องของราคา เนื่องจากมีต้นทุนสูง 3.2 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยประชาสัมพันธ์และหาตลาดรองรับ
Faiblesses/ inconvénients/ risques du point de vue du compilateur ou d'une autre personne ressource clé Comment peuvent-ils être surmontés?
1)เกษตรกรยังขาดการวางแผนในเรื่องของการใช้ที่ดินอย่างเป็นระบบ 1.ให้ความรู้และข้อมูลต่างๆมากขึ้น
2.เกษตรกรยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการปรับปรุงบำรุงดิน 2.ให้หน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องให้ความรู้ที่ครอบคลุมรอบด้าน
3)เกษตรกรยังขาดความเข้าใจในเรื่องของความต่อเนื่องของการผลิตและการตลาด 3. ให้เรียนรู้ในเรื่องของการผลิตและการตลาดให้รู้ทันเหตุการณ์
4)การกำหนดราคายังเป็นปัญหาใหญ่เนื่องจากมีการผันผวนของราคราอยู่มาก 4.ให้ภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยกำกับดูแลอย่างแท้จริง

7. Références et liens

7.1 Méthodes/ sources d'information

7.2 Références des publications disponibles

Titre, auteur, année, ISBN:

-

Disponible à partir d'où? Coût?

-

7.3 Liens vers les informations pertinentes en ligne

Titre/ description:

-

7.4 Observations d'ordre général

-

Modules