This is an outdated, inactive version of this case. Go to the current version.
แนวทาง
ไม่มีการใช้งาน

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม (Zero Waste Pig Farm Technology Transfer Center)

  • ผู้สร้างสรรค์:
  • การอัพเดท:
  • ผู้รวบรวม:
  • ผู้เรียบเรียง:
  • ผู้ตรวจสอบ: ,

-

approaches_4253

สมบูรณ์: 100%

1. ข้อมูลทั่วไป

1.2 รายละเอียดที่ติดต่อได้ของผู้รวบรวมและองค์กรที่เกี่ยวข้องในการประเมินและการจัดเตรียมทำเอกสารของแนวทาง

วิทยากรหลัก

co-compiler:
ผู้รวบรวม:

- ทีมสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต10

032-320929 / -

- / -

สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต10

196 .ม.11 ต.หินกองอำเภอเมืองจังหวัดราชบุรี รหัสไปรษณีย์70000

ไทย

ผู้ใช้ที่ดิน:

.สิงห์โตศรี นายสุพจน์

086-8050749 / -

supojkb@gmail.com / -

กลุ่มหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน

95/1.....ม.9.....ต.ดอนแร่อำเภอ.......เมืองจังหวัด......ราชบุรี รหัสไปรษณีย์ ........70000

ไทย

ผู้ใช้ที่ดิน:

กิจติสร นายประเสริฐ

087-9928353

- / -

-

33/1.....ม.10....ต.ดอนแร่....อ.เมือง....จ.ราชบุรี.......ประเทศ......ไทย

ไทย

ผู้ใช้ที่ดิน:

ห่วงทอง นายสมนึก

081-1930988 / -

- / -

-

25…ม.9....ต.ดอนแร่.....อ.เมือง........จ.ราชบุรี……ประเทศ.....ไทย

ไทย

ผู้ใช้ที่ดิน:

พุทธา นางวันเพ็ญ

083-4299299 / -

- / -

-

.8…..ม.10.....ต.ดอนแร่....อ.เมือง.....จ.ราชบุรี……ประเทศ.....ไทย

ไทย

1.3 เงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการใช้ข้อมูลที่ได้บันทึกไว้ผ่านทาง WOCAT

ผู้รวบรวมและวิทยากรหลักยอมรับเงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลที่ถูกบันทึกผ่านทาง WOCAT:

ใช่

1.4 การอ้างอิงถึงแบบสอบถามเรื่องเทคโนโลยี SLM

Environmental Friendly Pig Farm /Zero Waste Pig Farm
technologies

Environmental Friendly Pig Farm /Zero Waste Pig Farm [ไทย]

หมูหลุม เป็นการจัดการในการเลี้ยงสุกร ด้วยวิธีการจัดการคอกและการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสานกับการทำงานของจุลินทรีย์ที่ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์หมูที่ปลอดภัย และสามารถกักเก็บของเสียจากคอกเป็นปุ๋ยอินทรีย์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ตลอดจนไม่เกิดมลภาวะต่อชุมชน

  • ผู้รวบรวม: Kukiat SOITONG

2. คำอธิบายของแนวทาง SLM

2.1 การอธิบายแบบสั้น ๆ ของแนวทาง

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดความรู้เรื่องการเลี้ยงหมูหลุม จากเกษตรกรผู้ประสบความสำเร็จไปยังเกษตรกรและผู้สนใจ รวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุมให้เป็นเวทีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน

2.2 การอธิบายอย่างละเอียดของแนวทาง

การอธิบายอย่างละเอียดของแนวทาง:

แนวทางของ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นกลุ่มที่จัดตั้งขึ้นเพื่อรวมกลุ่มเกษตรกรที่ประกอบอาชีพการเลี้ยงสุกรแบบหลุม โดยเน้นการใช้จุลินทรีย์ มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ในการผลิตสุกรแบบหลุม ให้กับเกษตรกรที่มีความสนใจ และสร้างเครือข่าย เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมและเพิ่มขีดความสามารถในการจัดการด้านการตลาด

2. อะไรคือเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของแนวทาง
วัตถุประสงค์ของ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม
-1 เพื่อให้เกษตรกรและผู้สนใจการเลี้ยงหมูหลุม มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเลี้ยงหมูหลุม
-2 เพื่อสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุม ให้มีการช่วยเหลือ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
-3. เพื่อให้สมาชิกเกษตรกรภายในกลุ่ม มีโอกาสแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
3. วิธีการใดที่ถูกเอามาใช้
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม มีวิธีการดำเนินงานดังนี้
- ศึกษาดูงาน
- อมรมให้ความรู้ องค์ประกอบอยู่ 4 เรื่อง คือ พันธุ์ อาหาร การจัดการ ตลาด
- จัดตั้งเป็นกลุ่มเกษตรผู้เลี้ยงหมูหลุม เพื่อจะได้มีผลผลิตที่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด และมีอำนาจต่อรองได้มาขี้น และทำให้มีโอกาสเข้าถึงทุนได้ง่ายขึ้น
- สร้างเครือข่ายหมูหลุมในจังหวัด และเชื่อมโยงเครือข่ายทั้งประเทศ เพื่อเพิ่มความเข้มแข็งในกลุ่มอาชีพ


4. ขั้นตอนของการเอาไปปฏิบัติใช้มีอันไหนบ้าง

ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม มีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
1.ศึกษา ดูงาน และเข้ารับอบรม จากสถานที่ต่างๆ
2.รวมกลุ่มเกษตรกร ผู้สนใจในชุมชนที่เคยเลี้ยงหมูแบบเดิม มาตั้งกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเลี้ยงหมูแบบหลุม
3.จัดตั้ง ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม
4. จัดให้มีกระบวนการถ่ายทอดความรู้ จากการปฏิบัติจริง
5. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยใช้สื่อต่างๆ ได้แก่ แผ่นพับ วิดีโอ youtube การให้สัมภาษณ์ผ่านสื่อโทรทัศน์ และวิทยุ
6. สร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุม ในระดับ ชุมชน และนอกชุมชน โดยจัดให้มีการอบรมการเลี้ยงหมูหลุมทุกเสาร์ที่ 3 ของเดือน
7. มีการส่งเสริมและสนับสนุน จากหน่วยงานรัฐ ได้แก่ กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

ที่เกี่ยวข้องและบทบาทของบุคคลเหล่านั้นมีอะไรบ้าง
ในการดำเนินงานศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม มีผู้เกี่ยวข้องดังนี้
1 เกษตรกรและผู้นำเกษตรกร มีบทบาท ร่วมเรียนรู้ ปฏิบัติ แลกเปลี่ยนความรู้ สนับสนุน
2. หน่วยงานของรัฐ มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณและปัจจัยการผลิต และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
3. หน่วยงานเอกชน มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
4.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทควบคุม กำกับ ดูแล พื้นที่
5. โรงเรียน มหาวิทยาลัย

(6) สิ่งที่ผู้ใช้ที่ดินชอบหรือไม่ชอบเกี่ยวกับแนวทาง
Impact:
1.กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมเป็นที่ยอมรับในชุมชนเนื่องจากไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมและลดมลภาวะด้านกลิ่นในระบบการจัดการ
2.ทำให้เกิดมีผู้สนใจผลิตภัณฑ์หมูหลุมมากขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย
3. สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ ได้สะดวกและรวดเร็
4. การรวมกลุ่มทำให้สมาชิกในกลุ่มมีความเข้มแข็งและมีการประสานงานและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้และให้ความช่วยเหลือกัน ตลอดจนให้ความสำคัญในกิจกรรมกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ
5. มีหน่วยงานภาครัฐให้ความสนใจและเข้ามาช่วยเหลือในเรื่องหลักวิชาการเพื่อให้สามารถผลิตได้เป็นไปตามมาตรฐาน โดยปศุสัตว์จังหวัด
6. ทำให้มีผู้สนใจมาศึกษาหาความรู้ตลอดจนมาฝึกงานจากกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมจำนวนมากทำให้คนรู้จักมากขึ้นส่งผลทำให้มีตลาดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้น
Opportunity:
1.การส่งเสริมการเลี้ยงหมูหลุม หากมีการเลี้ยงจำนวนมากขึ้น จะทำให้ขาดแคลนพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุมในท้องถิ่น ดังนั้น ควรมีการส่งเสริมให้มีการปลูกพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุม ให้มากขึ้น หรือ ให้ศึกษาสูตรของอาหารให้สอดคล้องกับวัตถุดิบที่มี
2. ราคาจำหน่ายผลิตภัณฑ์หมูหลุม ยังไม่แตกต่างจากราคาผลิตภัณฑ์หมูทั่วไป ดังนั้นควรมีการพิจารณามาตรฐานหมูหลุม เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีกว่าให้มีราคาสูงขึ้น

2.3 รูปภาพของแนวทาง

ข้อสังเกตทั่วไปเกี่ยวกับรูปภาพ:

-

2.4 วีดีโอของแนวทาง

ความคิดเห็น อธิบายสั้นๆ:

-

สถานที่:

-

ชื่อของผู้ถ่ายวีดีโอ:

-

2.5 ประเทศ ภูมิภาค หรือสถานที่ตั้งที่ได้นำแนวทางไปใช้

ภูมิภาค/รัฐ/จังหวัด: :

ราชบุรี

ข้อมูลเฉพาะเพิ่มเติมของสถานที่ตั้ง:

ต.ดอนแร่....อ.เมือง...จ.ราชบุรี

ความคิดเห็น:

-

2.6 วันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดของแนวทาง

ระบุปีที่เริ่ม:

2006

ถ้าไม่รู้ปีที่แน่นอนให้ประมาณวันที่ที่ริเริ่มใช้แนวทางนี้ :

10-50 ปี

ความคิดเห็น:

เกษตรกรมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน

2.7 ประเภทของแนวทาง

  • ใช้โครงงานหรือแผนงานเป็นฐาน

2.8 เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์หลักของแนวทาง

วัตถุประสงค์ของ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม
-1 เพื่อให้เกษตรกรและผู้สนใจการเลี้ยงหมูหลุม มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเลี้ยงหมูหลุม
-2 เพื่อสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุม ให้มีการช่วยเหลือ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
-3. เพื่อให้สมาชิกเกษตรกรภายในกลุ่ม มีโอกาสแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน

2.9 เงื่อนไขที่เอื้ออำนวยหรือเป็นอุปสรรคต่อการนำเทคโนโลยีภายใต้แนวทางนี้ไปปฏิบัติใช้

บรรทัดฐานและค่านิยมทางสังคม วัฒนธรรม ศาสนา
  • เอื้ออำนวย
การมีไว้ให้หรือการเข้าถึงแหล่งการเงินและบริการ
  • เอื้ออำนวย

มีการเลี้ยงหมูหลุมที่ยั่งยืนทำให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ง่าย

การจัดตั้งระดับองค์กร
  • เอื้ออำนวย

มีหน่วยงานร่วมบูรณาการ ปศุสัตว์จังหวัด ธกส. พลังงาน พอช. และเกษตรอำเภอ

การร่วมมือหรือการทำงานประสานกันของผู้ลงมือปฏิบัติ
  • เอื้ออำนวย

หน่วยงานต่างๆร่วมบูรณาการในพื้นที่

กรอบแนวทางในการดำเนินการด้านกฎหมาย (การถือครองที่ดิน สิทธิในการใช้ที่ดินและน้ำ)
  • เอื้ออำนวย

สามารถใช้ที่ดินในการในการทำฟาร์มเลี้ยงหมูหลุมได้

นโยบาย
  • เอื้ออำนวย

หน่วยงานทั้งภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัดเข้ามาช่วยให้สามารถดำเนินให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด

ความรู้เกี่ยวกับ SLM การเข้าถึงการสนับสนุนด้านเทคนิค
  • เอื้ออำนวย

เกษตรกรสามารถติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้สะดวก

ตลาด (จัดซื้อปัจจัยนำเข้า ขายผลิตภัณฑ์) และราคา
  • เป็นอุปสรรค

เนื่องจากตลาดยังไม่แพร่หลายและราคายังต่ำกว่าหมูฟาร์ม

ปริมาณงานที่ทำได้ กำลังคนที่มีให้
  • เป็นอุปสรรค

.หาแรงงานที่มีความรู้ความชำนาญในการเลี้ยงหรือการจัดการค่อนข้างยาก

3. การมีส่วนร่วมและบทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง

3.1 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องในแนวทางนี้และบทบาท

  • ผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นหรือชุมชนระดับท้องถิ่น

เกษตรกร กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุม ต.ดอนแร่ อ.เมือง จ.ราชบุรี-

-

  • องค์กรที่ขึ้นอยู่กับชุมชน

อบต

-

  • ผู้เชี่ยวชาญ SLM หรือที่ปรึกษาการเกษตร

กรมปศุสัตว์ กรมพั..ฒนาที่ดิน

-

  • ครู เด็กนักเรียน หรือนักศึกษา

เข้ามาศึกษาดูงานจาก วิทยาลัยเกษตร มหาลัยราชภัฏ

-

  • ภาคเอกชน

บทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์

-

ถ้ามีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายคนที่เกี่ยวข้องให้ระบุหน่วยงานตัวแทน:

-

3.2 การเกี่ยวข้องของผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นหรือชุมชนระดับท้องถิ่นในช่วงต่างๆของแนวทาง
ความเกี่ยวข้องของผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นหรือชุมชนระดับท้องถิ่น ระบุผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องและอธิบายกิจกรรม
การริเริ่มหรือการจูงใจ ระดมกำลังด้วยตนเอง หน่วยงานภาครัฐ กลุ่มสมาชิกศึกษาค้นคว้าหาความรู้และศึกษาดูงานในพื้นที่ต่างๆเพื่อนำมาปรับใช้ในพื้นที่ของตนเอง
การวางแผน ปฏิสัมพันธ์ หน่วยงานภาครัฐ กลุ่มสมาชิก กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมและหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัด ช่วยกันวางแผนการดำเนินการให้เหมาะสมและเป็นไปตามมาตรฐาน
การดำเนินการ ปฏิสัมพันธ์ หน่วยงานภาครัฐ กลุ่มสมาชิกดำเนินการตามแผนให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
การติดตามตรวจสอบหรือการประเมินผล ปฏิสัมพันธ์ มีการติดตามตรวจสอบและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มและมีการติดตามจากหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัดให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด

3.3 แผนผังแสดงขั้นตอนการทำงาน (ถ้ามี)

คำอธิบาย:

เป็นขั้นตอนต่างๆของกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน ตำบลดอนแร่ อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี

ผู้เขียน:

-

3.4 การตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยี SLM

ระบุผู้ที่ทำการตัดสินใจเลือกเทคโนโลยีมากกว่าหนึ่งวิธีไปปฏิบัติใช้:
  • ผู้ลงมือปฏิบัติที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในฐานะที่เป็นส่วนรวมของแนวทาง
การอธิบาย:

-

ระบุว่าการตัดสินใจตั้งอยู่บนพื้นฐานของ:
  • ประสบการณ์และความคิดเห็นส่วนตัว (ไม่ได้ลงบันทึกไว้)
  • จากหน่วยงานภาครัฐปศุสัตว์จังหวัด

4. การสนับสนุนด้านเทคนิค การสร้างขีดความสามารถ และการจัดการด้านความรู้

4.1 การสร้างขีดความสามารถ / การอบรม

ได้มีการจัดอบรมให้แก่ผู้ใช้ที่ดินหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคนอื่น ๆ หรือไม่:

ใช่

ให้ระบุว่าใครเป็นผู้ได้รับการอบรม:
  • ผู้ใช้ที่ดิน
  • กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน
ถ้าเกี่ยวข้อง ให้ระบุ เพศ อายุ สถานภาพ ชาติพันธุ์ เป็นต้น:

กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน และผู้สนใจทั่วไป

รูปแบบการอบรม:
  • กำลังดำเนินการ
  • เกษตรกรกับเกษตรกร
ความคิดเห็น:

ทำให้กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน

4.2 การบริการให้คำแนะนำ

ผู้ใช้ที่ดินมีการเข้าถึงการรับบริการให้คำปรึกษาหรือไม่:

ใช่

  • กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมอินทรีย์ตามวิถีชุมชน
การอธิบาย/แสดงความคิดเห็น:

มีเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้คำแนะนำอย่างสม่ำเสมอ

4.3 การเสริมความแข็งแกร่งให้กับสถาบัน (การพัฒนาองค์กร)

สถาบันได้รับการจัดตั้งขึ้นมาหรือเสริมความแข็งแกร่งโดยแนวทางนี้หรือไม่:
  • ไม่

4.4 การติดตามตรวจสอบและประเมินผล

การติดตามตรวจสอบและประเมินผลเป็นส่วนหนึ่งของแนวทางหรือไม่:

ใช่

ความคิดเห็น:

มีหน่วยงานปศุสัตว์จังหวัดเข้ามาช่วยให้คำแนะนำตรวจสอบให้เป็นไปตามมาตรฐาน

ถ้าตอบว่าใช่ แสดงว่าการจัดเตรียมเอกสารนี้มุ่งหวังที่จะเอาไปใช้สำหรับการติดตามตรวจสอบและประเมินผลใช่หรือไม่:

ไม่ใช่

4.5 การวิจัย

การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของแนวทางหรือไม่:

ไม่ใช่

5. การสนับสนุนด้านการเงินและวัสดุอุปกรณ์

5.1 ระบุงบประมาณประจำปีสำหรับแนวทาง SLM นี้

ถ้าหากว่างบประมาณประจำปีไม่เป็นที่ทราบแน่นอน ให้ระบุช่วงลงไป:
  • > 1,000,000

5.2 การสนับสนุนด้านการเงิน / วัสดุอุปกรณ์ให้แก่ผู้ใช้ที่ดิน

ผู้ใช้ที่ดินได้รับการสนับสนุนด้านการเงิน / วัสดุอุปกรณ์ไปปฏิบัติใช้เทคโนโลยีหรือไม่:

ไม่ใช่

5.3 เงินสนับสนุนสำหรับปัจจัยนำเข้า (รวมถึงแรงงาน)

  • ไม่มี
 
ความคิดเห็น:

-

5.4 เครดิต

มีการจัดหาเครดิตมาให้ภายใต้แนวทาง SLM หรือไม่:

ไม่ใช่

5.5 แรงจูงใจหรือเครื่องมืออื่น ๆ

แรงจูงใจหรือเครื่องมืออื่น ๆ ได้ถูกนำไปใช้ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี SLM หรือไม่:

ใช่

ถ้าใช่ ระบุ:

มีการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐอย่างต่อเนื่อง ปศุสัตว์จังหวัด

6. การวิเคราะห์ผลกระทบและการสรุป

6.1 ผลกระทบของแนวทาง

ทำให้ผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นมีอำนาจขึ้น ปรับปรุงการเข้าร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ดีขึ้นหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

เป็นที่ต้องการของตลาด สำหรับผู้ที่ต้องการบริโภคอย่างปลอดภัย

ช่วยในการตัดสินใจโดยดูจากหลักฐาน ได้หรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

สามารถสร้างรายได้อย่างยั่งยืน

ช่วยให้ผู้ใช้ที่ดินนำเอาเทคโนโลยี SLMไปใช้และบำรุงรักษาสภาพไว้ได้หรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

ช่วยรักษามลภาวะภายในชุมชน

ปรับปรุงความร่วมมือกันและการดำเนิน งานของ SLM ได้อย่างมีประสิทธิผลหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง

ปรับปรุงความรู้และความสามารถของผู้ใช้ที่ดินในการดำเนินการ SLM หรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

มีหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัดเข้ามาให้ความรู้และช่วยแนะนำให้ได้เป็นไปตามมาตรฐาน

ปรับปรุงความรู้และความสามารถของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคนอื่น ๆ ให้ดีขึ้นหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

ทำให้สามารถดำเนินการเป็นไปตามมารฐานเดี่ยวกัน

ทำให้ผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นมีอำนาจขึ้น ปรับปรุงการเข้าร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ดีขึ้นหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

มีการติดต่อประสานงานและมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน

ส่งเสริมให้เยาวชนหรือบุตรหลานของผู้ใช้ที่ดินให้เข้าร่วมใน SLM:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

สามารถเป็นอาชีพที่ยั่งยืนและทำให้เป็นทางเลือกของรุ่นต่อไปสามารถสานต่อได้

นำไปสู่ความมั่นคงด้านอาหารหรือปรับปรุงโภชนาการให้ดีขึ้น:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความปลอดภัยไร้สารเคมี

ปรับปรุงการเข้าถึงตลาดหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

เป็นทางเลือกของผู้บริโภคที่เน้นความปลอดภัยจากสารเคมี

นำไปสู่การใช้ที่ดินอย่างยั่งยืนหรือแหล่งพลังงานหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

มีการนำมูลหมูหลุมไปทำก๊าชชีวภาพ

ปรับปรุงความสามารถของผู้ใช้ที่ดินในการปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศหรือสภาพที่รุนแรงและภัยพิบัติหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

มีการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการจัดการ

นำไปสู่โอกาสในการจ้างงาน รายได้หรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

.มีการจ้างแรงงานในท้องถิ่น

6.2 แรงจูงใจหลักของผู้ใช้ที่ดินเพื่อที่จะนำ SLM ไปปฏิบัติใช้

  • การผลิตที่เพิ่มขึ้น

ผู้บริโภคมีความต้องการเพิ่มขึ้น

  • กำไร (ความสามารถ) อัตราส่วนค่าใช้จ่ายต่อผลประโยชน์ที่เพิ่มขึ้น

มีการแปรรูปผผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายเป็นทีต้องการของผู้บริโภค

  • การเข้าร่วมสมทบในขบวนการ โครงการ กลุ่ม เครือข่าย

มีผู้สนใจและเข้าศึกษาดูงานจำนวนมาก

  • จิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อม

เป็นการจัดการที่ลดมลภาวะทางกลิ่น

  • ความรู้และทักษะ SLM ที่เพิ่มพูนขึ้น

ได้รับคำปรึกษาและคำแนะนำจากหน่วยงานภาครัฐปศุสัตว์จังหวัดอย่างต่อเนื่อง

6.3 ความยั่งยืนของกิจกรรมของแนวทาง

ผู้ใช้ที่ดินสามารถทำให้สิ่งต่างๆ ที่ได้ปฏิบัติใช้โดยแนวทางนี้ยั่งยืนได้หรือไม่ (โดยไม่มีการสนับสนุนจากภายนอก):
  • ใช่
ถ้าตอบว่าใช่ ให้อธิบายว่าอย่างไร :

เพราะมีหน่วยงานภาครัฐ ปศุสัตว์จังหวัด เข้ามาช่วยให้คำปรึกษา แนะนำ ส่งเสริม ควบคุมดูแลให้ระบบการเลี้ยงหมูหลุมเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด

6.4 จุดแข็งและข้อได้เปรียบของแนวทาง

จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบของแนวทางในทัศนคติของผู้ใช้ที่ดิน
1.กลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมเป็นที่ยอมรับในชุมชนเนื่องจากไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมและลดมลภาวะด้านกลิ่นในระบบการจัดการ
2.มีพื้นที่และทำเลที่ตั้งเหมาะสมเนื่องจากอยู่ไม่ไกลจากตลาดและชุมชน
3.มีผู้สนใจผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากปลอดภัยจากสารเคมี
4.สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ ปศุสัตว์จังหวัด ได้สะดวกและรวดเร็ว
จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบของแนวทางในทัศนคติของผู้รวบรวมหรือวิทยากรหลัก
1.สมาชิกในกลุ่มมีความเข้มแข็งและมีการประสานงานและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้และให้ความช่วยเหลือกัน ตลอดจนให้ความสำคัญในกิจกรรมกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ
2.มีหน่วยงานภาครัฐให้ความสนใจและเข้ามาช่วยเหลือในเรื่องหลักวิชาการเพื่อให้สามารถผลิตได้เป็นไปตามมาตรฐาน โดยปศุสัตว์จังหวัด
3.มีผู้สนใจมาศึกษาหาความรู้ตลอดจนมาฝึกงานจากกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมจำนวนมากทำให้คนรู้จักมากขึ้นส่งผลทำให้มีตลาดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้น

6.5 จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบของแนวทางและวิธีในการแก้ไข

จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบในทัศนคติของผู้ใช้ที่ดิน สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างไร
1.การส่งเสริมการเลี้ยงหมูหลุม หากมีการเลี้ยงจำนวนมากขึ้น จะทำให้ขาดแคลนพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุมในท้องถิ่น 1. ควรมีการส่งเสริมให้มีการปลูกพืชอาหารสำหรับเป็นวัตถุดิบในการเลี้ยงหมูหลุม ให้มากขึ้น หรือ ให้ศึกษาสูตรของอาหารให้สอดคล้องกับวัตถุดิบที่มี
2. ราคาจำหน่ายผลิตภัณฑ์หมูหลุม ยังไม่แตกต่างจากราคาผลิตภัณฑ์หมูทั่วไป 2.ควรมีการพิจารณามาตรฐานหมูหลุม เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีกว่าให้มีราคาสูงขึ้น
จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบในทัศนคติของผู้รวบรวมหรือวิทยากรหลัก สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างไร
2.1 รูปแบบของผลิตภัณฑ์ที่จำหน่ายยังไม่ทันสมัยและยังไม่เป็นรูปแบบที่สนใจของผู้บริโภค ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยแนะนำส่งเสริมให้รูปแบบของผลิตภัณฑ์เป็นที่ต้องการของตลาดและผู้บริโภค
2.2 ในการเลี้ยงหมูหลุมของกลุ่มยังขาดการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยทำให้ระยะเวลาการเลี้ยงหรือการจัดการใช้เวลานาน ปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการโดยหาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยจัดการเพื่อสามารถลดต้นทุนการผลิตได้
2.3 ตลาดการรับชื้อผลิตภัณฑ์ยังอยู่ในวงจำกัดยังไม่เป็นที่รู้จักของผู้บริโภคทั่วไป ให้หน่วยงานภาครัฐช่วยส่งเสริมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และใช้ช่องทาง social media
2.4 ระบบการจัดการในกลุ่มผู้เลี้ยงหมูหลุมยังไม่เป็นไปตามมาตรฐานที่หน่วยงานราชการกำหนด ให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง ปศุสัตว์จังหวัด เข้ามาช่วยในด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด

7. การอ้างอิงและการเชื่อมต่อ

7.1 วิธีการหรือแหล่งข้อมูล

  • ไปเยี่ยมชมภาคสนาม การสำรวจพื้นที่ภาคสนาม

-

  • การสัมภาษณ์กับผู้ใช้ที่ดิน

-

7.2 การอ้างอิงถึงสิ่งตีพิมพ์

ชื่อเรื่อง ผู้เขียน ปี ISBN:

-

ช่องทางในการสืบค้น และราคา:

-

7.3 เชื่อมโยงกับข้อมูลที่มีอยู่บนออนไลน์

ชื่อเรื่องหรือคำอธิบาย:

-

URL:

-

โมดูล