เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา Organic Farm on Moderate Hillside Slope [ไทย]
- ผู้สร้างสรรค์:
- การอัพเดท:
- ผู้รวบรวม: Kukiat SOITONG
- ผู้เรียบเรียง: –
- ผู้ตรวจสอบ: Rima Mekdaschi Studer, William Critchley
-
technologies_4242 - ไทย
ดูส่วนย่อย
ขยายทั้งหมด ย่อทั้งหมด1. ข้อมูลทั่วไป
1.2 รายละเอียดที่ติดต่อได้ของผู้รวบรวมและองค์กรที่เกี่ยวข้องในการประเมินและการจัดเตรียมทำเอกสารของเทคโนโลยี
ผู้ใช้ที่ดิน:
มงคลกาญจนคุณ นายพัฒน์พงษ์
-
ไทย
1.3 เงื่อนไขการใช้ข้อมูลที่ได้บันทึกผ่านทาง WOCAT
ผู้รวบรวมและวิทยากรหลักยอมรับเงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลที่ถูกบันทึกผ่านทาง WOCAT:
ใช่
1.4 การเปิดเผยเรื่องความยั่งยืนของเทคโนโลยีที่ได้อธิบายไว้
เทคโนโลยีที่ได้อธิบายไว้นี้เป็นปัญหาของความเสื่อมโทรมโทรมของที่ดินหรือไม่ จึงไม่ได้รับการยอมรับว่าเป็นเทคโนโลยีเพื่อการจัดการที่ดินอย่างยั่งยืน:
ไม่ใช่
แสดงความคิดเห็น:
เกษตรกรสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง
1.5 Reference to Questionnaire(s) on SLM Approaches (documented using WOCAT)
กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ [ไทย]
กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เป็นการรวมกลุ่มของเกษตรกรที่ดำเนินการทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยได้จัดให้มีศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย เพื่อเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ร่วมกัน
- ผู้รวบรวม: Kukiat SOITONG
2. การอธิบายลักษณะของเทคโนโลยี SLM
2.1 การอธิบายแบบสั้น ๆ ของเทคโนโลยี
คำจำกัดความของเทคโนโลยี:
เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา เป็นการจัดการพื้นที่ ดินและน้ำ ให้สามารถผลิตสินค้าทางการเกษตรที่ปลอดภัยได้อย่างยั่งยืน
2.2 การอธิบายแบบละเอียดของเทคโนโลยี
คำอธิบาย:
(1)เทคโนโลยีนำไปใช้ที่ไหน(สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของมนุษย์
พื้นที่ทำการเกษตร ที่เป็นที่ลาดเชิงเขา ดินมีลักษณะเป็นดินร่วนปนกรวด ง่ายต่อการชะล้างพังทลาย และยังขาดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำ ทำให้ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง มีการทำการเกษตรเชิงเดี่ยว ได้แก่ การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่มีการใช้ปัจจัยการผลิตและใช้เงินลงทุนมาก เช่น ปุ๋ยเคมี สารกำจัดศัตรูพืชและวัชพืช อย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดสารพิษตกค้างในผลผลิต เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
)(2) อะไรคือลักษณะหรือองค์ประกอบที่สำคัญของเทคโนโลยี
องค์ประกอบที่สำคัญของเทคโนโลยีระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
1.สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน ด้วยการใช้พืชปุ๋ยสด(ปอเทือง สลับกับถั่วพร้า)และการใช้ ปุ๋ยหมัก
2.การจัดการพื้นที่ โดย ปลูกหญ้าแฝก บนที่ลาดเชิงเขา เพื่อชะลอการไหลของน้ำ และแบ่งพื้นที่ทำการเกษตรตามความลาดชัน
3. สร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ เช่น ขุดสระน้ำ หรือ ขุดบ่อบาดาล
4. การจัดทำ Buffer Zone
5. การจัดการ โรคและแมลง ด้วยสารชีวภัณฑ์
6. กำจัดวัชพืช ด้วยวิธีการตัดหญ้าคลุมดิน
(3)อะไรคือจุดประสงค์หรือหน้าที่ของเทคโนโลยี
จุดประสงค์ของ เทคโนโลยีระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
1 เพื่อฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน สร้างสมดุลให้กับระบบนิเวศน์ และเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ
2. เพื่อลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มรายได้
3. เพื่อให้มีสุขภาพดีขึ้น
(4)กิจกรรมที่สำคัญหรือปัจจัยการผลิตที่จำเป็นในการจัดตั้งหรือบำรุงรักษาสภาพเทคโนโลยี
ขั้นตอนการปฏิบัติในการจัดทำระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
1.สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน
1.1 ปลูกพืชปุ๋ยสด โดยใช้ปอเทือง สลับกับถั่วพร้า ปลูก 6 ครั้งต่อปี ต่อเนื่อง 2 ปี
1.1.1 การปลูกปอเทือง
ใช้วิธีการปลูกแบบหว่าน ใช้เมล็ดประมาณ 5 กิโลกรัม/ไร่ แล้วทำการคราดกลบตื้นๆ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ปอเทืองจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.1.2 วิธีการปลูกถั่วพร้า
ใช้วิธีการปลูกแบบโรยเป็นแถว โดยใช้เมล็ดโรยลงในแถว ซึ่งมีระยะระหว่างแถว 75 – 100เซนติเมตร เมื่อโรยเมล็ดลงในแถวแล้วกลบเมล็ดด้วยดินบาง ๆ ในอัตรา 5 - 8 กิโลกรัมต่อไร่ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ถั่วพร้าจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.2 ใช้ปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ในฟาร์ม และใช้น้ำหมักชีวภาพ
2. การจัดการพื้นที่
2.1 ปลูกหญ้าแฝก บนที่ลาดเชิงเขา เพื่อชะลอการไหลของน้ำ ดักตะกอนดิน และเป็นการควบคุมแมลงศัตรูพืช
2.2 ให้จัดการพื้นที่และปลูกพืชตามความลาดชัน เป็น 2 ระดับคือ
-ที่ลาดเชิงเขา ปลูกไผ่ ไม้ผล ป่าใช้สอย
-ที่ราบ ปลูกกล้วย มะละกอ พืชผักสวนครัว ฝรั่ง สมุนไพร ไม้ผล
3. สร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ โดยขุดสระน้ำ และขุดบ่อบาดาล เพื่อใช้ในการอุปโภค และทำการเกษตรครอบคลุมพื้นที่ 34 ไร่ โดยการใช้ระบบสปริงเกอร์ และให้น้ำตามความลาดชันของพื้นที่ นอกจากนี้ มีการให้น้ำหมักชีวภาพ ผ่านระบบสปริงเกอร์
4. การจัดทำ Buffer Zone โดยปลูกไผ่ ป่าไม้ใช้สอย และขึงสแลนสูง 2.50 เมตร ในด้านที่ไม่สามารถปลูกต้นไม้ได้ เพื่อป้องกันสารเคมีที่ปลิวมาจากด้านข้าง
5. การจัดการ โรคและแมลง ใช้สารชีวภัณฑ์ เช่น น้ำหมักชีวภาพ พ.ด 7
6. กำจัดวัชพืช ด้วยวิธีการตัดหญ้าคลุมดิน เพื่อรักษาความชื้นในดินและเพิ่มอินทรยวัตถุให้แก่ดิน
7 การจัดทำบัญชีฟาร์ม เพื่อให้ทราบต้นทุน กำไร-ขาดทุน ในการบริหารและจัดการฟาร์ม
5)ประโยชน์ที่ได้รับหรือผลกระทบของเทคโนโลยีคืออะไรบ้าง
1 พื้นที่ที่ทำการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น
2 สามารถลดต้นทุนการผลิตได้
3 ผลผลิตทางการเกษตรที่ได้มีความปลอดภัย ไม่มีสารพิษตกค้าง ทำให้ขายผลผลิตได้ราคาดีขึ้น
4. ทำให้สุขภาพของเกษตรกร ดีขึ้น
3)โอกาส
3.1 ทำให้เกิดความร่วมมือของผู้ผลิตกับหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งภาครัฐที่เข้ามาร่วมสนับสนุน
3.2 มีโอกาสได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้า ทำให้เป็นที่ต้องการของตลาด
3.3 รัฐมีนโยบายสนันสนุนด้านเกษตรอินทรีย์ ทำให้เกิดความร่วมมือของภาครัฐและเกษตรกร สร้างเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันได้มากขึ้น
2.3 รูปภาพของเทคโนโลยี
2.4 วีดีโอของเทคโนโลยี
ความคิดเห็น/อธิบายสั้นๆ:
-
สถานที่:
-
ชื่อผู้ถ่ายวีดีโอ:
-
2.5 ประเทศภูมิภาค หรือสถานที่ตั้งที่เทคโนโลยีได้นำไปใช้และได้รับการครอบคลุมโดยการประเมินนี้
ประเทศ:
ไทย
ภูมิภาค/รัฐ/จังหวัด:
กาญจนบุรี
ข้อมูลจำเพาะเพิ่มเติมของสถานที่ตั้ง :
บ้านทุ่งนา ม.4 ต.หนองเป็ด อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี
ระบุการกระจายตัวของเทคโนโลยี:
- ใช้ ณ จุดที่เฉพาะเจาะจงหรือเน้นไปยังบริเวณพื้นที่ขนาดเล็ก
แสดงความคิดเห็น:
-
Map
×2.6 วันที่การดำเนินการ
ระบุปีที่ใช้:
2004
2.7 คำแนะนำของเทคโนโลยี
ให้ระบุว่าเทคโนโลยีถูกแนะนำเข้ามาอย่างไร:
- ทางโครงการหรือจากภายนอก
ความคิดเห็น (ประเภทของโครงการ เป็นต้น) :
กรมส่งเสริมการเกษตร
3. การจัดประเภทของเทคโนโลยี SLM
3.1 วัตถุประสงค์หลักของเทคโนโลยี
- ปรับปรุงการผลิตให้ดีขึ้น
- ลด ป้องกัน ฟื้นฟู การเสื่อมโทรมของที่ดิน
3.2 ประเภทของการใช้ที่ดินในปัจจุบันที่ได้นำเทคโนโลยีไปใช้
พื้นที่ปลูกพืช
- การปลูกพืชยืนต้นที่ไม่มีเนื้อไม้
- การปลูกไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม
- มะม่วง มะละกอ มะพร้าว ฝรั่ง เงาะ ไผ่
ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์
แสดงความคิดเห็น:
-
3.3 Has land use changed due to the implementation of the Technology?
แสดงความคิดเห็น:
-
3.4 การใช้น้ำ
อื่นๆ (เช่น หลังจากน้ำท่วม):
- บ่อบาดาล
แสดงความคิดเห็น:
-
3.5 กลุ่ม SLM ที่ตรงกับเทคโนโลยีนี้
- แนวกันลมหรือแนวต้านลม
- การจัดการปลูกพืชร่วมกับปศุสัตว์
- การจัดการความอุดมสมบรูณ์ของดินแบบผสมผสาน
3.6 มาตรการ SLM ที่ประกอบกันเป็นเทคโนโลยี
มาตรการจัดการพืช
- A2: อินทรียวัตถุในดิน/ความอุดมสมบูรณ์ในดิน
มาตรการอนุรักษ์ด้วยวิธีพืช
- V1: ต้นไม้และพุ่มไม้คลุมดิน
แสดงความคิดเห็น:
-
3.7 รูปแบบหลักของการเสื่อมโทรมของที่ดินที่ได้รับการแก้ไขโดยเทคโนโลยี
การกัดกร่อนของดินโดยน้ำ
- Wt (Loss of topsoil): การสูญเสียดินชั้นบนหรือการกัดกร่อนที่ผิวดิน
การเสื่อมโทรมของดินทางด้านเคมี
- Cn (Fertility decline): ความอุดมสมบูรณ์และปริมาณอินทรียวัตถุในดินถูกทำให้ลดลงไป (ไม่ได้เกิดจากสาเหตุการกัดกร่อน)
การเสื่อมโทรมของดินทางด้านชีวภาพ
- Bq (Quantity/biomass decline): การลดลงของปริมาณหรือมวลชีวภาพ
แสดงความคิดเห็น:
-
3.8 การป้องกัน การลดลง หรือการฟื้นฟูความเสื่อมโทรมของที่ดิน
ระบุเป้าหมายของเทคโนโลยีกับความเสื่อมโทรมของที่ดิน:
- ป้องกันความเสื่อมโทรมของที่ดิน
- ลดความเสื่อมโทรมของดิน
4. ข้อมูลจำเพาะด้านเทคนิค กิจกรรมการนำไปปฏิบัติใช้ ปัจจัยนำเข้า และค่าใช้จ่าย
4.1 แบบแปลนทางเทคนิคของเทคโนโลยี
ข้อมูลจำเพาะด้านเทคนิค (แบบแปลนทางเทคนิคของเทคโนโลยี):
พื้นที่การเกษตร ขนาด 39 ไร่ ทิศเหนือติดเขตรักษาพรรณสัตว์ป่าสลักพระ ทิศใต้ติดถนน
ขั้นตอนการปฏิบัติในการจัดทำระบบเกษตรอินทรียบนพื้นที่ลาดเชิงเขา
2.สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน
1.1 ปลูกพืชปุ๋ยสด โดยใช้ปอเทือง สลับกับถั่วพร้า ปลูก 6 ครั้งต่อปี ต่อเนื่อง 2 ปี
1.1.1 การปลูกปอเทือง
ใช้วิธีการปลูกแบบหว่าน ใช้เมล็ดประมาณ 5 กิโลกรัม/ไร่ แล้วทำการคราดกลบตื้นๆ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ปอเทืองจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.1.2 วิธีการปลูกถั่วพร้า
ใช้วิธีการปลูกแบบโรยเป็นแถว โดยใช้เมล็ดโรยลงในแถว ซึ่งมีระยะระหว่างแถว 75 – 100เซนติเมตร เมื่อโรยเมล็ดลงในแถวแล้วกลบเมล็ดด้วยดินบาง ๆ ในอัตรา 5 - 8 กิโลกรัมต่อไร่ หลังการปลูกแล้ว ประมาณ 50 -60 วัน หลังเมล็ดงอก ถั่วพร้าจะเริ่มออกดอก แล้วทำการไถกลบ หลังจากนั้น ใช้น้ำหมักชีวภาพ พด. 2 (หมักจากผักและผลไม้) ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำ 100 ลิตร แล้วปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ 12 -15 วัน
1.2 ใช้ปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ในฟาร์ม และใช้น้ำหมักชีวภาพ
2. การจัดการพื้นที่
2.1 ปลูกหญ้าแฝก บนที่ลาดเชิงเขา เพื่อชะลอการไหลของน้ำ ดักตะกอนดิน และเป็นการควบคุมแมลงศัตรูพืช
2.2 ให้จัดการพื้นที่และปลูกพืชตามความลาดชัน เป็น 2 ระดับคือ
-ที่ลาดเชิงเขา ปลูกไผ่ ไม้ผล ป่าใช้สอย
-ที่ราบ ปลูกกล้วย มะละกอ พืชผักสวนครัว ฝรั่ง สมุนไพร ไม้ผล
3. สร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ โดยขุดสระน้ำ และขุดบ่อบาดาล เพื่อใช้ในการอุปโภค และทำการเกษตรครอบคลุมพื้นที่ 34 ไร่ โดยการใช้ระบบสปริงเกอร์ และให้น้ำตามความลาดชันของพื้นที่ นอกจากนี้ มีการให้น้ำหมักชีวภาพ ผ่านระบบสปริงเกอร์
4. การจัดทำ Buffer Zone โดยปลูกไผ่ ป่าไม้ใช้สอย และขึงสแลนสูง 2.50 เมตร ในด้านที่ไม่สามารถปลูกต้นไม้ได้ เพื่อป้องกันสารเคมีที่ปลิวมาจากด้านข้าง
5. การจัดการ โรคและแมลง ใช้สารชีวภัณฑ์ เช่น น้ำหมักชีวภาพ พ.ด 7
6. กำจัดวัชพืช ด้วยวิธีการตัดหญ้าคลุมดิน เพื่อรักษาความชื้นในดินและเพิ่มอินทรยวัตถุให้แก่ดิน
7 การจัดทำบัญชีฟาร์ม เพื่อให้ทราบต้นทุน กำไร-ขาดทุน ในการบริหารและจัดการฟาร์ม
ผู้เขียน:
-
วันที่:
2016
4.2 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการคำนวณปัจจัยนำเข้าและค่าใช้จ่าย
ให้ระบุว่าค่าใช้จ่ายและปัจจัยนำเข้าได้รับการคำนวณอย่างไร:
- ต่อพื้นที่ที่ใช้เทคโนโลยี
ระบุขนาดและหน่วยพื้นที่:
39 ไร่
อื่นๆ หรือสกุลเงินประจำชาติ (ระบุ):
Thai Baht
If relevant, indicate exchange rate from USD to local currency (e.g. 1 USD = 79.9 Brazilian Real): 1 USD =:
32.0
ระบุค่าเฉลี่ยของค่าจ้างในการจ้างแรงงานต่อวัน:
300บาท
4.3 กิจกรรมเพื่อการจัดตั้ง
กิจกรรม | Timing (season) | |
---|---|---|
1. | ปรับปรุง | ก่อนปลูก |
2. | ระบบน้ำ | ฤดูแล้ง |
3. | การกำจัดวัชพืช | ระหว่างปลูก |
4. | การกำจัดศัตรูพืช | ระหว่างปลูก |
5. | แนวกันชน | ฤดูฝน |
6. | การใช้หญ้าแฝก | ฤดูฝน |
7. | การทำบัญชีฟาร์ม | ตลอดปี |
4.4 ค่าใช้จ่ายของปัจจัยนำเข้าที่จำเป็นสำหรับการจัดตั้ง
ปัจจัยนำเข้า | หน่วย | ปริมาณ | ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย | ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อปัจจัยนำเข้า | %ของค่าใช้จ่ายที่ก่อให้เกิดขึ้นโดยผู้ใช้ที่ดิน | |
---|---|---|---|---|---|---|
แรงงาน | 1.1การปลูกปอเทือง | ครั้ง | 2.0 | 900.0 | 1800.0 | 100.0 |
แรงงาน | 1.2สับกลบปอเทือง | ครั้ง | 2.0 | 900.0 | 1800.0 | 100.0 |
แรงงาน | 1.3ฉีดน้ำหมักชีวภาพ | ครั้ง | 2.0 | 900.0 | 1800.0 | 100.0 |
แรงงาน | 1.4ใส่ปุ๋ยหมัก | ครั้ง | 1.0 | 1800.0 | 1800.0 | 100.0 |
อุปกรณ์ | 1.5ใส่ปูนโดโลไมท์ | ครั้ง | 1.0 | 1600.0 | 1600.0 | 100.0 |
อุปกรณ์ | 2.ใส่ปุ๋ยหมักปรับปรุงดิน | ครั้ง | 1.0 | 9000.0 | 9000.0 | 100.0 |
อุปกรณ์ | 3.กำจัดวัชพืช | ครั้ง | 8.0 | 9600.0 | 76800.0 | 100.0 |
อุปกรณ์ | 4.กำจัดศัตรูพืช | ครั้ง | 24.0 | 600.0 | 14400.0 | 100.0 |
อุปกรณ์ | 5.ใช้ตาข่ายพรางแสงเป็นแนวกันชน | ม้วน | 2.0 | 600.0 | 1200.0 | 100.0 |
อุปกรณ์ | 6.ปลูกต้นไม้เป็นแนวกันชน | ครั้ง | 2.0 | 600.0 | 1200.0 | 100.0 |
อุปกรณ์ | 7.ดูแลรักษาตัดแต่งหญ้าแฝก | ครั้ง | 8.0 | 900.0 | 7200.0 | 100.0 |
อุปกรณ์ | อุปกรณ์ต่อบ่อบาดาล | บ่อ | 3.0 | 30000.0 | 90000.0 | 100.0 |
วัสดุด้านพืช | ตาข่ายพรางแสง | ม้วน | 2.0 | 1700.0 | 3400.0 | 100.0 |
วัสดุด้านพืช | ค่าเมล็ดพันธุ์ปอเทือง | กก. | 63.0 | 33.0 | 2079.0 | 100.0 |
วัสดุด้านพืช | ค่าต้นไม้ปลูกแนวกันชน | ต้น | 100.0 | 10.0 | 1000.0 | 100.0 |
วัสดุด้านพืช | พันธุ์กล้าหญ้าแฝก | กล้า | 150000.0 | 0.73 | 109500.0 | 100.0 |
ปุ๋ยและสารฆ่า/ยับยั้งการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (ไบโอไซด์) | 1.การปรับปรุงพื้นที่ทำการเกษตร | |||||
ปุ๋ยและสารฆ่า/ยับยั้งการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (ไบโอไซด์) | 1.1น้ำหมักชีวภาพ | ลิตร | 50.0 | 20.0 | 1000.0 | 100.0 |
ปุ๋ยและสารฆ่า/ยับยั้งการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (ไบโอไซด์) | 1.2โดโลไมท์ | กก. | 4200.0 | 4.0 | 16800.0 | 100.0 |
ปุ๋ยและสารฆ่า/ยับยั้งการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (ไบโอไซด์) | 2.ปุ๋ยหมักปรับปรุงดิน | กก. | 5500.0 | 4.0 | 22000.0 | 100.0 |
ปุ๋ยและสารฆ่า/ยับยั้งการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (ไบโอไซด์) | 3.สารไล่แมลง | ลิตร | 50.0 | 30.0 | 1500.0 | 100.0 |
อื่น ๆ | 1.การปจัดการพื้นที่ทำการเกษตร | |||||
อื่น ๆ | 1.1ค่าไถพื้นที่ | ไร่ | 21.0 | 500.0 | 10500.0 | 100.0 |
อื่น ๆ | 2.บ่อบาดาล | บ่อ | 3.0 | 70000.0 | 210000.0 | 100.0 |
ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของการจัดตั้งเทคโนโลยี | 586379.0 | |||||
Total costs for establishment of the Technology in USD | 18324.34 |
ถ้าผู้ใช้ที่ดินรับภาระน้อยกว่า 100% ของค่าใช้จ่าย ให้ระบุว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบส่วนที่เหลือ:
-
แสดงความคิดเห็น:
-
4.5 การบำรุงรักษาสภาพหรือกิจกรรมที่เกิดขึ้นเป็นประจำ
กิจกรรม | ช่วงระยะเวลา/ความถี่ | |
---|---|---|
1. | 1. ระบบน้ำ | 2 ครั้งต่อปี ก่อน-หลังฤดูฝน |
2. | 2.การกำจัดวัชพืช | 12 ครั้งต่อปี ระหว่างฤดูปลูกพืช |
3. | 3. การกำจัดศัตรูพืช | 12 ครั้งต่อปีระหว่างฤดูปลูกพืช |
4. | 4.แนวกันชน | 2 ครั้งต่อปี ก่อนและหลังฤดูปลูก |
5. | 5.การใช้หญ้าแฝก | 12 ครั้งต่อปี ระหว่างฤดูปลูก |
แสดงความคิดเห็น:
-
4.6 ค่าใช้จ่ายของปัจจัยนำเข้าและกิจกรรมที่เกิดขึ้นเป็นประจำที่ต้องการการบำรุงรักษา (ต่อปี)
ปัจจัยนำเข้า | หน่วย | ปริมาณ | ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย | ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อปัจจัยนำเข้า | %ของค่าใช้จ่ายที่ก่อให้เกิดขึ้นโดยผู้ใช้ที่ดิน | |
---|---|---|---|---|---|---|
แรงงาน | 1.ค่ากำจัดวัชพืชในแปลง | ครั้ง | 8.0 | 1200.0 | 9600.0 | 100.0 |
แรงงาน | 2.ค่ากำจัดศัตรูพืช | ครั้ง | 24.0 | 600.0 | 14400.0 | 100.0 |
แรงงาน | 3.ค่าซ่อมแซมแนวกันชน | ครั้ง | 6.0 | 300.0 | 1800.0 | 100.0 |
แรงงาน | 4.ค่าตัดแต่งแนวหญ้าแฝก | ครั้ง | 8.0 | 900.0 | 7200.0 | 100.0 |
อื่น ๆ | 1.ค่าไฟฟ้าเกี่ยวกับระบบน้ำ | เดือน | 12.0 | 500.0 | 6000.0 | 100.0 |
ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของการบำรุงรักษาสภาพเทคโนโลยี | 39000.0 | |||||
Total costs for maintenance of the Technology in USD | 1218.75 |
ถ้าผู้ใช้ที่ดินรับภาระน้อยกว่า 100% ของค่าใช้จ่าย ให้ระบุว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบส่วนที่เหลือ:
-
แสดงความคิดเห็น:
-
4.7 ปัจจัยสำคัญที่สุดที่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่าย
ปัจจัยสำคัญที่สุดที่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายต่างๆ:
ค่าสาธารณูปโภค1.ค่าไฟฟ้า 2. ค่าเจาะบ่อบาดาลพร้อมวางระบบน้ำ 3. ค่าแรงงานและขนส่ง
5. สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและของมนุษย์
5.1 ภูมิอากาศ
ฝนประจำปี
- < 250 ม.ม.
- 251-500 ม.ม.
- 501-750 ม.ม.
- 751-1,000 ม.ม.
- 1,001-1,500 ม.ม.
- 1,501-2,000 ม.ม.
- 2,001-3,000 ม.ม.
- 3,001-4,000 ม.ม.
- > 4,000 ม.ม.
ระบุปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรายปี (ถ้ารู้) :หน่วย ม.ม.
1600.00
ข้อมูลจำเพาะ/ความคิดเห็นเรื่องปริมาณน้ำฝน:
เป็นพื้นที่เงาฝน (rain shadow) ทำให้มีฝนตกน้อย อากาศร้อนจัดในฤดูร้อน และหนาวจัดในฤดูหนาว โดยมีอุณหภูมิสูงสุดประมาณ 44-45 องศาเซล-เซียสในเดือนเมษายน อุณหภูมิต่ำสุดในเดือนธันวาคมประมาณ 8-9 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 27 องศาเซล-เซียส ช่วงฤดูฝนเริ่มตกจากกลางเดือนเมษายน และสิ้นสุดในช่วงกลางเดือนตุลาคม
ระบุชื่อของสถานีตรวดวัดอากาศที่ใช้อ้างอิงคือ:
-
เขตภูมิอากาศเกษตร
- ชื้น
-
5.2 สภาพภูมิประเทศ
ค่าเฉลี่ยความลาดชัน:
- ราบเรียบ (0-2%)
- ลาดที่ไม่ชัน (3-5%)
- ปานกลาง (6-10%)
- เป็นลูกคลื่น (11-15%)
- เป็นเนิน (16-30%)
- ชัน (31-60%)
- ชันมาก (>60%)
ธรณีสัณฐาน:
- ที่ราบสูง/ที่ราบ
- สันเขา
- ไหล่เขา
- ไหล่เนินเขา
- ตีนเนิน
- หุบเขา
ระดับความสูง:
- 0-100 เมตร
- 101-500 เมตร
- 501-1,000 เมตร
- 1,001-1,500 เมตร
- 1,501-2,000 เมตร
- 2,001-2,500 เมตร
- 2,501-3,000 เมตร
- 3,001-4,000 เมตร
- > 4,000 เมตร
ให้ระบุถ้าเทคโนโลยีได้ถูกนำไปใช้:
- บริเวณแอ่งบนที่ราบ (concave situations)
ความคิดเห็นและข้อมูลจำเพาะเพิ่มเติมเรื่องสภาพภูมิประเทศ:
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบบนภูเขา ติดอ่างเก็บน้ำเขื่อนศรีนครินทร์ สภาพภูมิประเทศเป็นภูเขาหินปูนและหินตะกอนเป็นส่วนใหญ่ ระดับความสูง สูงสุดประมาณ 1,100 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง โดยมีความสูงเฉลี่ยประมาณ 400 เมตร
5.3 ดิน
ค่าเฉลี่ยความลึกของดิน:
- ตื้นมาก (0-20 ซ.ม.)
- ตื้น (21-50 ซ.ม.)
- ลึกปานกลาง (51-80 ซ.ม.)
- ลึก (81-120 ซ.ม.)
- ลึกมาก (>120 ซ.ม.)
เนื้อดิน (ดินชั้นบน):
- ปานกลาง (ดินร่วน ทรายแป้ง)
เนื้อดินล่าง (> 20 ซ.ม.ต่ำจากผิวดิน):
- ละเอียด/หนัก (ดินเหนียว)
อินทรียวัตถุในดิน:
- ปานกลาง (1-3%)
5.4 ความเป็นประโยชน์และคุณภาพของน้ำ
ระดับน้ำใต้ดิน:
> 50 เมตร
น้ำไหลบ่าที่ผิวดิน:
ดี
คุณภาพน้ำ (ที่ยังไม่ได้บำบัด):
เป็นน้ำใช้เพื่อการเกษตรเท่านั้น (การชลประทาน)
ความเค็มของน้ำเป็นปัญหาหรือไม่:
ไม่ใช่
กำลังเกิดน้ำท่วมในพื้นที่หรือไม่:
ไม่ใช่
ความคิดเห็นและข้อมูลจำเพาะเพิ่มเติมเรื่องคุณภาพและปริมาณน้ำ:
-
5.5 ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์:
- ปานกลาง
ความหลากหลายของแหล่งที่อยู่:
- ปานกลาง
ความคิดเห็นและข้อมูลจำเพาะเพิ่มเติมของความหลากหลายทางชีวภาพ:
-
5.6 ลักษณะของผู้ใช้ที่ดินที่นำเทคโนโลยีไปปฏิบัติใช้
อยู่กับที่หรือเร่ร่อน:
- อยู่กับที่
แนวทางการตลาดของระบบการผลิต:
- mixed (subsistence/ commercial)
รายได้ที่มาจากนอกฟาร์ม:
- < 10% ของรายได้ทั้งหมด
ระดับของความมั่งคั่งโดยเปรียบเทียบ:
- พอมีพอกิน
เป็นรายบุคคล/ครัวเรือน:
- เป็นรายบุคคล/ครัวเรือน
ระดับของการใช้เครื่องจักรกล:
- งานที่ใช้แรงกาย
เพศ:
- ชาย
อายุของผู้ใช้ที่ดิน:
- วัยกลางคน
ระบุลักษณะอื่นๆที่เกี่ยวข้องของผู้ใช้ที่ดิน:
-
5.7 Average area of land used by land users applying the Technology
- < 0.5 เฮกตาร์
- 0.5-1 เฮกตาร์
- 1-2 เฮกตาร์
- 2-5 เฮกตาร์
- 5-15 เฮกตาร์
- 15-50 เฮกตาร์
- 50-100 เฮกตาร์
- 100-500 เฮกตาร์
- 500-1,000 เฮกตาร์
- 1,000-10,000 เฮกตาร์
- >10,000 เฮกตาร์
พิจารณาว่าเป็นขนาดเล็ก กลาง หรือขนาดใหญ่ (ซึ่งอ้างอิงถึงบริบทระดับท้องถิ่น):
- ขนาดใหญ่
แสดงความคิดเห็น:
-
5.8 กรรมสิทธิ์ในที่ดิน สิทธิในการใช้ที่ดินและสิทธิในการใช้น้ำ
กรรมสิทธิ์ในที่ดิน:
- รายบุคคล ได้รับสิทธิครอบครอง
สิทธิในการใช้ที่ดิน:
- รายบุคคล
สิทธิในการใช้น้ำ:
- รายบุคคล
ระบุ:
-
แสดงความคิดเห็น:
-
5.9 การเข้าถึงบริการและโครงสร้างพื้นฐาน
สุขภาพ:
- จน
- ปานกลาง
- ดี
การศึกษา:
- จน
- ปานกลาง
- ดี
ความช่วยเหลือทางด้านเทคนิค:
- จน
- ปานกลาง
- ดี
การจ้างงาน (เช่น ภายนอกฟาร์ม):
- จน
- ปานกลาง
- ดี
ตลาด:
- จน
- ปานกลาง
- ดี
พลังงาน:
- จน
- ปานกลาง
- ดี
ถนนและการขนส่ง:
- จน
- ปานกลาง
- ดี
น้ำดื่มและการสุขาภิบาล:
- จน
- ปานกลาง
- ดี
บริการด้านการเงิน:
- จน
- ปานกลาง
- ดี
แสดงความคิดเห็น:
-
6. ผลกระทบและสรุปคำบอกกล่าว
6.1 ผลกระทบในพื้นที่ดำเนินการ (On-site) จากการใช้เทคโนโลยี
ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
การผลิต
การผลิตพืชผล
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
คุณภาพพืชผล
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
การผลิตสัตว์
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
การจัดการที่ดิน
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
ความเป็นประโยชน์และคุณภาพของน้ำ
คุณภาพน้ำดื่ม
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
รายได้และค่าใช้จ่าย
ค่าใช่จ่ายของปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
รายได้จากฟาร์ม
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
ความหลากหลายของแหล่งผลิตรายได้
ภาระงาน
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
ผลกระทบด้านสังคมวัฒนธรรมอื่น ๆ
ความมั่นคงด้านอาหาร / พึ่งตนเองได้
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
สถานการณ์ด้านสุขภาพ
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
สถาบันของชุมชน
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
SLM หรือความรู้เรื่องความเสื่อมโทรมของที่ดิน
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
ผลกระทบด้านนิเวศวิทยา
ดิน
ความชื้นในดิน
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
การสูญเสียดิน
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
การหมุนเวียนและการเติมของธาตุอาหาร
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
อินทรียวัตถุในดิน/ต่ำกว่าดินชั้น C
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและสัตว์
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
ลดความเสี่ยงของภัยพิบัติ
ผลกระทบจากภัยแล้ง
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
การปล่อยคาร์บอนและก๊าซเรือนกระจก
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
ความเสี่ยงจากไฟ
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
ความเร็วของลม
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
Specify assessment of on-site impacts (measurements):
-
6.2 ผลกระทบนอกพื้นที่ดำเนินการ (Off-site) จากการใช้เทคโนโลยี
การทับถมของดินตะกอนพื้นที่ท้ายน้ำ
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
การเกิดมลพิษในน้ำบาดาลหรือแม่น้ำ
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
ความเสียหายต่อพื้นที่เพาะปลูกของเพื่อนบ้าน
แสดงความคิดเห็น/ระบุ:
-
Specify assessment of off-site impacts (measurements):
-
6.3 การเผชิญและความตอบสนองของเทคโนโลยีต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ค่อยเป็นค่อยไป และสภาพรุนแรงของภูมิอากาศ / ภัยพิบัติ (ที่รับรู้ได้โดยผู้ใช้ที่ดิน)
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ค่อยเป็นค่อยไป
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ค่อยเป็นค่อยไป
ฤดู | increase or decrease | เทคโนโลยีมีวิธีการรับมืออย่างไร | |
---|---|---|---|
อุณหภูมิประจำปี | ลดลง | ปานกลาง | |
อุณหภูมิตามฤดูกาล | ลดลง | ปานกลาง | |
ฝนประจำปี | ปานกลาง | ||
ฝนตามฤดู | ปานกลาง |
สภาพรุนแรงของภูมิอากาศ (ภัยพิบัติ)
ภัยพิบัติทางอุตุนิยมวิทยา
เทคโนโลยีมีวิธีการรับมืออย่างไร | |
---|---|
พายุฝนประจำท้องถิ่น | ปานกลาง |
ภัยพิบัติจากสภาพภูมิอากาศ
เทคโนโลยีมีวิธีการรับมืออย่างไร | |
---|---|
ภัยจากฝนแล้ง | ดี |
ไฟป่า | ปานกลาง |
ภัยพิบัติทางชีวภาพ
เทคโนโลยีมีวิธีการรับมืออย่างไร | |
---|---|
โรคระบาด | ไม่ค่อยดี |
ผลลัพธ์ตามมาที่เกี่ยวข้องกับภูมิอากาศอื่น ๆ
ผลลัพธ์ตามมาที่เกี่ยวข้องกับภูมิอากาศอื่น ๆ
เทคโนโลยีมีวิธีการรับมืออย่างไร | |
---|---|
ช่วงการปลูกพืชที่ขยายออกไป | ไม่ค่อยดี |
ช่วงการปลูกพืชที่ลดลงมา | ดี |
แสดงความคิดเห็น:
-
6.4 การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและผลประโยชน์ที่ได้รับ
ผลประโยชน์ที่ได้รับเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งเป็นอย่างไร (จากมุมมองของผู้ใช้ที่ดิน)
ผลตอบแทนระยะสั้น:
ด้านลบเล็กน้อย
ผลตอบแทนระยะยาว:
ด้านบวก
ผลประโยชน์ที่ได้รับเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาหรือต้นทุนที่เกิดขึ้นซ้ำอีก เป็นอย่างไร (จากมุมมองของผู้ใช้ที่ดิน)
ผลตอบแทนระยะสั้น:
เป็นกลางหรือสมดุล
ผลตอบแทนระยะยาว:
ด้านบวก
แสดงความคิดเห็น:
-
6.5 การปรับตัวของเทคโนโลยี
- 1-10%
ถ้ามีข้อมูลให้บอกปริมาณด้วย (จำนวนของครัวเรือนหรือครอบคลุมพื้นที่):
10 ครัวเรือน
Of all those who have adopted the Technology, how many did so spontaneously, i.e. without receiving any material incentives/ payments?
- 0-10%
แสดงความคิดเห็น:
-
6.6 การปรับตัว
เทคโนโลยีได้รับการปรับเปลี่ยนเมื่อเร็วๆนี้ เพื่อให้ปรับตัวเข้ากับสภาพที่กำลังเปลี่ยนแปลงหรือไม่:
ใช่
อื่น ๆ (ระบุ):
ปรับเปลี่ยนเรื่องค่าใช้จ่ายต้องประหยัดมากขึ้น ต้องมีความละเอียดมากขึ้น (สังเกตมากขึ้น)
ให้ระบุการปรับตัวของเทคโนโลยี (การออกแบบ วัสดุหรือชนิดพันธุ์ เป็นต้น):
ปรับลดการใช้พลังงานโดยการใช้โซล่าร์เซลล์ในการใช้น้ำบาดาล
6.7 จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบ / โอกาสของเทคโนโลยี
จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบ / โอกาสในทัศนคติของผู้ใช้ที่ดิน |
---|
1.1 พื้นที่ที่ทำการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น |
1.2 สามารถลดต้นทุนการผลิตได้ |
1.3 ผลผลิตทางการเกษตรที่ได้มีความปลอดภัยไม่มีสารพิษตกค้าง |
2.1 ขายผลผลิตได้ราคาดีขึ้น |
2.2 ทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง |
2.3 เป็นพื้นที่ที่สามารถส่งผลผลิตสู่ตลาดอย่างง่าย เส้นทางคมนาคมสะดวก |
2.4 เกษตรกรได้รับความรู้และมีประสบการณ์ในการทำการเกษตรดีกว่าเกษตรกรรายอื่นๆ |
3.1 มีการร่วมมือของผู้ผลิตกับหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งภาครัฐที่เข้ามาร่วมสนับสนุน |
3.2 ได้รับตราสัญลักษณ์รับรองมาตรฐานสินค้าทำให้ผู้บริโภคเชื่อมั่นเป็นที่ต้องการของตลาด |
จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบ / โอกาสในทัศนคติของผู้รวบรวมหรือวิทยากรหลัก |
---|
1)ได้มีนโยบายของภาครัฐที่ช่วยสนันสนุนด้านการเกษตรอินทรีย์ |
2)ได้มีการร่วมมือของภาครัฐและผู้ผลิตทำให้สามารถแข่งขันได้มากขึ้น |
6.8 จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบ / ความเสี่ยงของเทคโนโลยีและวิธีการแก้ไข
จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบ / ความเสี่ยงในทัศนคติของผู้ใช้ที่ดิน | มีวิธีการแก้ไขได้อย่างไร |
---|---|
1.1 ต้องใช้เวลาเพิ่มมากขึ้นในการทำการเกษตรแบบระบบอินทรีย์ | 1.1 หานวัตรกรรมและเทคโนโลยีต่างๆเข้ามาช่วย |
1.2 ต้องทำแนวกันชนแปลงตัวเองเพิ่มมากขึ้นเพื่อป้องกันสารพิษของแปลงเพื่อนบ้าน | 1.2 ต้องมีการออกกฏหมายคุ้มครองสำหรับการทำเกษตรอินทรีย์ |
2.1 ต้องเสียเวลานานและมีหลายขั้นตอนในการขอใบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ | 2.1 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปรับหลักเกณฑ์ทำให้เหมาะสม |
2.2 ต้องใช้เวลาและแรงงานพร้อมจัดหาวัสดุในการทำปุ๋ยอิทรีย์ใช้เอง | 2.2 หาวัสดุในพื้นที่นำมาใช้เพื่อลดต้นทุนการผลิต |
3.1 ผู้บริโภคยังสับสนไม่รู้ว่าเกษตรอินทรีย์คืออะไร | 3.1 ให้ความรู้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น |
3.2อุปสรรคเรื่องของราคา เนื่องจากมีต้นทุนสูง | 3.2 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยประชาสัมพันธ์และหาตลาดรองรับ |
จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบ / ความเสี่ยงในทัศนคติของผู้รวบรวมหรือวิทยากรหลัก | มีวิธีการแก้ไขได้อย่างไร |
---|---|
1)เกษตรกรยังขาดการวางแผนในเรื่องของการใช้ที่ดินอย่างเป็นระบบ | 1.ให้ความรู้และข้อมูลต่างๆมากขึ้น |
2.เกษตรกรยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการปรับปรุงบำรุงดิน | 2.ให้หน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องให้ความรู้ที่ครอบคลุมรอบด้าน |
3)เกษตรกรยังขาดความเข้าใจในเรื่องของความต่อเนื่องของการผลิตและการตลาด | 3. ให้เรียนรู้ในเรื่องของการผลิตและการตลาดให้รู้ทันเหตุการณ์ |
4)การกำหนดราคายังเป็นปัญหาใหญ่เนื่องจากมีการผันผวนของราคราอยู่มาก | 4.ให้ภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยกำกับดูแลอย่างแท้จริง |
7. การอ้างอิงและการเชื่อมต่อ
7.1 วิธีการและแหล่งข้อมูล
7.2 การอ้างอิงถึงสิ่งตีพิมพ์
หัวข้อ, ผู้เขียน, ปี, หมายเลข ISBN:
-
ชื่อเรื่อง ผู้เขียน ปี ISBN:
-
7.3 Links to relevant online information
ชื่อเรื่องหรือคำอธิบาย:
-
7.4 General comments
-
ลิงก์และโมดูล
ขยายทั้งหมด ย่อทั้งหมดลิงก์
กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ [ไทย]
กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เป็นการรวมกลุ่มของเกษตรกรที่ดำเนินการทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยได้จัดให้มีศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย เพื่อเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ร่วมกัน
- ผู้รวบรวม: Kukiat SOITONG
โมดูล
ไม่มีโมดูล