ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด จังหวัดจันทบุรี [ໄທ]
- ການສ້າງ:
- ປັບປູງ:
- ຜູ້ສັງລວມຂໍ້ມູນ: Kukiat SOITONG
- ບັນນາທິການ: –
- ຜູ້ທົບທວນຄືນ: Rima Mekdaschi Studer, Pitayakon Limtong, William Critchley
ศูนย์พัฒนาที่ดินวังโตนด
approaches_4247 - ໄທ
ເບິ່ງພາກສ່ວນ
ຂະຫຍາຍທັງໝົດ ຍຸບທັງໝົດ1. ຂໍ້ມູນທົ່ວໄປ
1.2 ລາຍລະອຽດ ການຕິດຕໍ່ ຂອງບຸກຄົນທີ່ຊັບພະຍາກອນ ແລະ ສະຖາບັນ ການມີສ່ວນຮ່ວມ ໃນການປະເມີນຜົນ ແລະ ເອກະສານ ຂອງວິທີທາງ
ບຸກຄົນສຳຄັນ (ຫຼາຍຄົນ)
co-compiler:
ผู้รวบรวม:
ไผผักแว่น นางสาวปาริชาติ
0-3721-0781 / 08-5920-8429
parichat19@hotmail.com / -
สถานีพัฒนาที่ดินปราจีนบุรี
135/1ม. 5 ต.เนินหอม อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี
ໄທ
สนับสนุนปจัจัยการผลิต จัดพิมพ์เอกสาเผยแพร่ จัดอบรมและถ่ายทอดองค์ความรู้และสาธิตให้แก่เกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย:
ช่างถม นายเฉลิมชล
0-3932-2158 / 08-1872-9509
c.changthom@gmail.com / -
สำนักงานเกษตรจังหวัดจันทบุรี
1196 ถนนท่าแฉลบ ต. หน้าตลาด อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000
ໄທ
ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ:
กิ่งมณี นายบุญชัย
08-5217-3509 / -
- / -
เกษตรกร และเป็นหมอดินอาสาประจำหมู่บ้าน
25/2 ม. 7 ต. รำพัน อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี
ໄທ
ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ:
นางสาวกมลศินี
08-4781-2071 / -
pimg134082@gmail.com / -
เกษตรกร
44 หมู่ม. 4 ตำบล. วังโตนด อำเภอ. นายายอาม จังหวัด. จันทบุรี
ໄທ
ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ:
เมตตา นายจำรัส
08-7032-4142 / -
- / -
เกษตร
24 หมู่. 4 ตำบล. วังโตนด อำเภอ. นายายอาม จังหวัด. จันทบุรี
ໄທ
1.3 ເງື່ອນໄຂ ຂອງການນໍາໃຊ້ເອກກະສານຂໍ້ມູນ ຂອງ WOCAT
ເມື່ອໃດທີ່ໄດ້ສັງລວມຂໍ້ມູນ (ຢູ່ພາກສະໜາມ)?
03/10/2018
ຜູ້ສັງລວມ ແລະ ບັນດາຜູ້ຕອບແບບສອບຖາມ ຍອມຮັບໃນເງື່ອນໄຂ ການນໍາໃຊ້ຂໍ້ມູນເອກະສານ ທີ່ສ້າງຂື້ນ ໂດຍຜ່ານ ອົງການ WOCAT:
ແມ່ນ
2. ພັນລະນາ ແນວທາງການຄຸ້ມຄອງນໍາໃຊ້ດິນແບບຍືນຍົງ
2.1 ການອະທິບາຍ ໂດຍຫຍໍ້ ຂອງວິທີທາງ
ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด เป็นแหล่งเรียนรู้ การจัดการดินกรด และสร้างเครือข่ายเพื่อผลิตพริกไทยคุณภาพ ของจังหวัดจันทบุรี
2.2 ການອະທິບາຍ ລາຍລະອຽດ ຂອງວິທີທາງ
ການອະທິບາຍ ລາຍລະອຽດ ຂອງວິທີທາງ:
(1) อะไรคือลักษณะที่สำคัญหรือคุณลักษณะที่เห็นเด่นชัดของแนวทาง
ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด จังหวัดจันทบุรีเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการดินตื้น ดินกรด ดินเสื่อมโทรม เพื่อผลิตพริกไทยคุณภาพ เกษตรกรเจ้าของศุนย์ฯเป็นผู้มีความรู้และมีความพากภูมิใจในความสำเร็จจากการใช้เทคโนโลยี และมีความพร้อมที่จะถ่ายทอดความรู้นั้นไปสู่ชุมชนข้างเคียง โดยมีแปลงสาธืต ให้เยี่ยมชมดูงาน มีกระบวนการถ่ายทอด และมีความสามารถในการทำหน้าที่เป็นวิทยากรบรรยาย
2) อะไรคือเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของแนวทาง
ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด จังหวัดจันทบุรี มีเป้าหมายในการดำเนินงานเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการดินกรด ในการผลิตพริกไทยคุณภาพ และเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ปลูกพริกไทย
(3) วิธีการใดที่ถูกเอามาใช้
ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ยฯ มีวิธีการดำเนินงานประกอบด้วย
1.Technology Transfe-อบรม ดูงาน แปลงสาธิต นิทรรศการ สื่อสิ่งพิมพ์
2.การสร้างNetworking
3.การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
4.มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ เช่น Seedling ,fresh&Dry Peper products
5.การจัดแสดงผลงานนอกสถานที่ Exhibition
6.มีการนำสนอการวิเคราะห์ทางตลาด
r (4) ขั้นตอนของการเอาไปปฏิบัติใช้มีอันไหนบ้าง
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1 ภาครัฐ โดยหน่วยในพื้นที่ได้แก่ กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พิจารณาคัดเลือก สถานที่และเกษตรกรผุ้ประสบผลสำเร็จในการปลูกพริกไทย เป็นศูนย์เรียนรู้ฯ และให้การสนับสนุนในการดำเนินงาน เช่น ก่อสร้างอาคาร ปัจจัยผลิต เอกสารวิชาการเผยแพร่ ป้ายโฆษณา ค่าตอบแทน การจัดแสดงนอกสถานที่
2.มีการประชาสัมพันธ์ ศูนย์เรียนรู้ฯ ได้แก่ การติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ การออกแสดงแสดงนิทรรศการนอกสถานที่ ถ่ายVDOลงYoutube ออกรายทีวี การเป็นวิทยากร เผยแพร่ผ่านภาครัฐ
3 จัดทำแปลงสาธิต ได้แก่ การปรับปรุงดิน การปลูกพริกไทยคุณภาพ ธนาคารปุ๋ยอินทรีย การป้องกันกำจัศัตรูพืช โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ
4 จัดให้มีการ อบรม ศึกษา ดูงาน เยี่ยมชม โดยหน่วยงานภาครัฐ หรือ เกษตรกรสนใจเข้ามาศึกษาด้วยตนเอง
5.มีการสร้างเครือข่ายผู้ปลูกพริกไทย โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ และเกิดจากกล่มเกษตรกรที่เข้ามาศึกษาดูงานเอง ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเทคโนโลยี การร่วมกันจัดหาปัจจัยผลิต(seedling พริกไทย) ร่วมกันวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการตลาด
6.ภาครัฐให้การสนับสนุนเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับกล่ม/เครือข่ายจากการเรียนรู้ดูงาน เช่น ให้ความรู้ จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ปัจจัยการผลิต พาไปศึกษาดูงาน ส่งเสริมและพัฒนาการผลิคพริกไทย
7 จัดให้มีการจำหน่าย สินค้าและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง เช่น Seedling ผลิตภัณฑ์จากพริกไทย
8.มีการจัดตั้ง ธนาคารปุ๋ยอินทรีย เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มของเกษตรกร ร่วมกันผลิตปุ๋ยอินทรีย์ (ปุ๋ยหมัก ) โดยให้สมาชิกนำวัสดุอินทรีย์ (เช่น วัสดุเหลือใช้จากการเกษตร ซากพืช มูลสัตว์ )มาแลกกับปุ๋ยอินทรีย์ที่กลุ่มผลิต
9.พัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ศูนย์การเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ ด้วยการแสวงหาผู้ให้การสนับสนุน โดยการเสนอโครงการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ เช่น การเสนอโครงการแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ จาก อบจ.
(5) ผู้มีส่วนได้เสียมีผู้ใดที่เกี่ยวข้องและบทบาทของบุคคลเหล่านั้นมีอะไรบ้าง
ในการดำเนินงานของศูนย์เรียนรู้ฯ มีผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่
-เกษตรกรเจ้าของศูนย์ โดยมีบทบาท บริหารจัดการศูนย์ ฯ พัฒนาศูนย์ ถ่ายทอด
-กล่มผู้มาเรียนรู้ ศึกษาดูงาน ได้แก่ เกษตรกรทั่วไป หมอดิน นักเรียน/นักศึกษา
-กล่ม/เครือข่ายผู้ปลูกพริกไทย แลกเปลี่ยนรู้ การจัดการด้านการตลาด ซื้อ-ขาย
-ผุ้มีบทบาทให้การสนับสนุน( งบประมาณ การเผยแพร่ การเวทีเรียนรู้ดูงาน) ได้แก่ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ อบต อบจ สื่อมวลชน
(6) สิ่งที่ผู้ใช้ที่ดินชอบหรือไม่ชอบเกี่ยวกับแนวทาง
ประเด็นที่ เกษตรกร มีชอบในกระบวนของศูนย์เรียนรู้ ได้แก่
- การจัดทำศูนย์เรียนรู้ฯ ทำให้เกิด มีแหล่งเรียนรู้ ดูงาน เพื่อศึกษาหาข้อมูลไปแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพ
-ทำให้เกิดความมั่นคงในอาชีพในกล่มเกษตรกรผู้ปลูกพริกไทย เนื่องจากมีเครือข่ายคอยให้คำแนะนำเช่น ทำให้มีข้อมูลการผลิต ข้อมูลตลาด
- ทำให้เกิดมี่สังสรรค์ recreation ทำให้เกิดความสุขในการที่ได้มีโอกาสพบและแลกเปลี่ยน ซึ่งกันและกัน
2.3 ຮູບພາບຂອງແນວທາງ
2.4 ວີດີໂອ ຂອງວິທີທາງ
ຄວາມຄິດເຫັນ, ຄໍາອະທິບາຍຫຍໍ້:
-
ວັນທີ:
10/05/2016
ສະຖານທີ່:
-
ຊື່ຂອງຜູ້ຖ່າຍວີດີໂອ:
กรมพัฒนาที่ดิน
ຄວາມຄິດເຫັນ, ຄໍາອະທິບາຍຫຍໍ້:
-
ວັນທີ:
03/04/2017
ສະຖານທີ່:
-
ຊື່ຂອງຜູ້ຖ່າຍວີດີໂອ:
รักษ์บ้านเกิด Rakbankerd.com
2.5 ປະເທດ / ເຂດ / ສະຖານທີ່ບ່ອນທີ່ແນວທາງໄດ້ຖືກນໍາໃຊ້
ປະເທດ:
ໄທ
ພາກພື້ນ / ລັດ / ແຂວງ:
จันทบุรี
ຂໍ້ມູນເພີ່ມເຕີມຂອງສະຖານທີ່:
35 หมู่. 4 ตำบล.วังโตนด อำเภอ. นายายอาม จังหวั.ด จันทบุรี
ຄວາມຄິດເຫັນ:
คิดเห็น เดิมเป็นพื้นที่ปลูกไม้ผล (เงาะ ทุเรียน) แต่ประสบปัญหาผลผลิตล้นตลาด ราคาตกต่ำ ปรับเปลี่ยนมาปลูกพริกไทย แต่ประสบปัญหาดินและน้ำเป็นกรดจัด ลักษณะดิน คือ ชุดดินชุมพร เป็นดินตื้นปนกรวดลูกรัง ค่าปฏิกิริยาดินเป็นกรดรุนแรงมาก (pH 3.0) และมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ ก่อนปลูกพริกไทย ต้องฟื้นฟูและปรับสภาพความเป็นกรดของดินให้เหมาะสม โดยการใช้ปูนโดโลไมท์ เพื่อยกระดับ pH ของดินให้เพิ่มขึ้น ในทางอ้อมช่วยลดการระบาดของโรครากเน่าโคนเน่าและโรคแอนแทรคโนส การปลูกพริกไทยในดินลักษณะนี้ทำให้รายได้เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากพริกไทยมีราคารับซื้อสูง เมื่อเปรียบกับการปลูกไม้ผล เกษตรกรหลายคนจึงปรับเปลี่ยนมาปลูกพริกไทยตาม และมีการเผยแพร่องค์ความรู้เรื่องการปรับปรุงดินกรดก่อนปลูก จนจัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ เพื่อใช้เป็นจุดศึกษาดูงานและเผยแพร่องค์ความรู้สู่ชุมชน
Map
×2.6 ວັນທີເລີ່ມຕົ້ນ ແລະ ສິ້ນສຸດ ການຈັດຕັ້ງປະຕີບັດ ວິທີທາງ
ສະແດງປີຂອງການເລີ່ມຕົ້ນ:
2013
ຖ້າຫາກບໍ່ຮູ້ຈັກປີທີ່ແນ່ນອນ, ໃຫ້ປະມານຄາດຄະເນ ເອົາມື້ທີ່ໄດ້ເລີ່ມຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ:
ຕໍ່າກວ່າ 10 ປີ ຜ່ານມາ (ມາເຖິງປະຈຸບັນ)
ຄວາມຄິດເຫັນ:
ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในด้านงบประมาณ ปัจจัยการผลิต สื่อ และเอกสารวิชาการ ตลอดจนส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ปูนโดโลไมท์ เพื่อผลิตพริกไทยคุณภาพ ให้เป็นที่รู้จักของเกษตรกรทั่วไป
2.7 ປະເພດຂອງແນວທາງ
- ພາຍໃຕ້ໂຄງການ / ແຜນງານ
2.8 ເປົ້າໝາຍ / ຈຸດປະສົງຫຼັກ ຂອງການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ
ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด จังหวัดจันทบุรี มีเป้าหมายในการดำเนินงานเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการดินกรด ในการผลิตพริกไทยคุณภาพ และเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ปลูกพริกไทย
2.9 ເງື່ອນໄຂອໍານວຍ ຫຼື ຂັດຂວາງການປະຕິບັດຂອງເຕັກໂນໂລຢີ / ເຕັກໂນໂລຢີການນໍາໃຊ້ຕາມແນວທາງ
ສັງຄົມ / ວັດທະນະທໍາ / ມາດຕະຖານ ແລະ ຄຸນຄ່າທາງສາສະໜາ
- ອໍານວຍ
ไม่เป็นอุปสรรคต่อการถ่ายทอดองค์ความรู้และการนำเทคโนโลยีไปใช้
ມີຄວາມສາມາດ / ເຂັ້າເຖິງຊັບພະຍາກອນດ້ານການເງິນ ແລະ ການບໍລິການ
- ອໍານວຍ
เกษตรกรที่เห็นความสำคัญของปัญหาในเรื่องดินกรด แม้มีงบประมาณน้อย เกษตรกรจะซื้อปูนโดโลไมท์ใช้เอง โดยสถาบันทางการเงินในพื้นที่พร้อมให้การสนับสนุน
ການກໍ່ຕັ້ງສະຖາບັນ
- ອໍານວຍ
สำนักงานเกษตรจังหวัดและเกษตรอำเภอ กรมพัฒนาที่ดิน จัดสรรงบประมาณมาช่วยขับเคลื่อนการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพริกไทย ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัยและยั่งยืน (มีการจัดอบรม ศึกษาดูงานในพื้นที่ที่ประสบความสำเร็จ และ สนับสนุนปัจจัยการผลิต
ການຮ່ວມມື / ການປະສານງານຂອງຜູ້ກ່ຽວຂ້ອງ
- ອໍານວຍ
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ จัดทำแผนของบประมาณจากกลุ่มจังหวัด เพื่อช่วยสนับสนุนเกษตรกรผู้ปลูกพริกไทย ที่ประสบปัญหาดินกรดจัด และปัญหาทางการเกษตรอื่น
ກ່ຽວກັບກົດໝາຍ (ສິດນໍາໃຊ້ດິນ, ສິດນໍາໃຊ້ນໍ້າ)
- ອໍານວຍ
กฎหมายไม่มีข้อบังคับห้ามการใช้ปูนโดโลไมท์ในพื้นที่เกษตร
ນະໂຍບາຍ
- ອໍານວຍ
เร่งฟื้นฟูทรัพยากรที่ดิน/ทรัพยากรดินเสื่อมโทรม
ການປົກຄອງທີ່ດິນ (ການຕັດສິນໃຈ, ການປະຕິບັດ ແລະ ຂໍ້ບັງຄັບ)
- ອໍານວຍ
ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชให้เหมาะสมกับศักยภาพของดิน
ຄວາມຮູ້ກ່ຽວກັບການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ, ການເຂົ້າເຖິງການສະໜັບສະໜູນ ທາງດ້ານວິຊາການ
- ອໍານວຍ
องค์ความรู้ในเรื่องการจัดการดินกรดด้วยปูนโดโลไมท์ มีแพร่หลายและตรวจวัดได้
กรมพัฒนาที่ดิน ให้บริการตรวจวิเคราะห์ดิน สนับสนุนปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรด จัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ และธนาคารปุ๋ยอินทรีย์
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ ของจังหวัดจันทบุรี ร่วมบูรณาการจัดทำโครงการ FTA เพื่อช่วยเหลือ สนับสนุน และส่งเสริมเกษตรกรผู้ปลูกพริกไทยในพื้นที่ดินกรด
ຕະຫຼາດ (ໃນການຊື້ວັດຖຸດິບ, ຂາຍຜະລິດຕະພັນ) ແລະ ລາຄາ
- ອໍານວຍ
มีตลาดหรือแหล่งรับซื้อผลผลิตพริกไทยได้ราคาสูง เป็นแรงจูงใจให้เกษตรกรหันมาปลูกพริกไทยเพิ่มขึ้น
- ເຊື່ອງຊ້ອນ
ปูนโดโลไมท์มีราคาแพง และต้องใช้ตามค่าวิเคราะห์ดินจึงจะเห็นผล
ວຽກ, ມີກໍາລັງຄົນ
- ເຊື່ອງຊ້ອນ
แรงงานในพื้นที่มีน้อย ส่วนใหญ่เป็นแรงงานผู้สูงอายุ
3. ການມີສ່ວນຮ່ວມ ແລະ ບົດບາດຂອງພາກສ່ວນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງທີ່ໄດ້ມີສ່ວນຮ່ວມ
3.1 ຜູ້ມີສ່ວນຮ່ວມ ໃນວິທີທາງ ແລະ ພາລະບົດບາດ ຂອງເຂົາເຈົ້າ
- ຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນໃນທ້ອງຖິ່ນ / ຊຸມຊົນທ້ອງຖິ່ນ
เกษตรกร
เห็นความสำคัญของปัญหาดินกรด ต้องมีการปรับปรุงดินกรดก่อนการปลูกพืช
- ອົງການຈັດຕັ້ງ ພາຍໃນຊຸມຊົນ
อบจ และอบต
.เป็นผู้ให้การสนับสนุนการดำเนินงาน งบประมาณ
- ຜູ້ຊ່ຽວຊານ ການນຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ / ທີ່ປຶກສາດ້ານກະສິກໍາ
กรมพัฒนาที่ดิน
ให้บริการตรวจวิเคราะห์ดิน สนับสนุนปูนโดโลไมท์ จัดตั้งเป็นศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน และเชิญเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้แก่หมอดินอาสา และเกษตรกรทั่วไป
- ຄູອາຈານ / ນັກຮຽນ / ນັກສຶກສາ
มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี
เชิญคุณภิรมย์ ไปเป็นวิทยากรบรรยายและดำเนินการจัดทำแปลงสาธิตการปรับปรุงดินกรดด้วยปูนมาร์ลในนาข้าว
- ພະນັກງານຂັ້ນສູນກາງ (ຜູ້ວາງແຜນ, ຜູ້ສ້າງນະໂຍບາຍ)
กรมพัฒนาที่ดิน
คัดเลือกให้เป็นตัวแทนเกษตรกร ร่วมจัดนิทรรศการเกี่ยวกับการใช้ปูนโดโลไมท์ในการผลิตพริกไทยคุณภาพ ในงานประชุมคณะรัฐมนตรีกลุ่มอาเซี่ยน ประจำปี พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมดุสิตธานี พัทยา ทำให้เทคโนโลยีได้รับการเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง
ຖ້າຫາກມີຫຼາຍພາກສ່ວນທີ່ເຂົ້າຮ່ວມ ໃຫ້ລະບຸ ອົງການທີ່ເປັນຫຼັກ ໃນການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ:
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพริกไทยเพื่อลดผลกระทบการเปิดเสรีทางการค้า (FTA) เป็นโครงการร่วมระหว่าง ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี สำนักงานเกษตรจังหวัด และกรมวิชาการเกษตร ดำเนินการ 2 ปี (2557-2558) โดยมีกิจกรรมการศึกษาดูงานในพื้นที่ที่ประสบผลสำเร็จ ฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้ ตรวจ วิเคราะห์ดิน สนับสนุนปัจจัยการผลิต และพันธุ์พืช จัดทำแปลงสาธิต และตรวจสอบมาตรฐาน GAP รวมทั้งจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
3.2 ການມີສ່ວນຮ່ວມຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນໃນທ້ອງຖິ່ນ / ຊຸມຊົນທ້ອງຖິ່ນໃນໄລຍະທີ່ແຕກຕ່າງກັນຂອງແນວທາງ
ການລວບລວມ ເອົາຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນ ໃນທ້ອງຖິ່ນ / ຊຸມຊົນທ້ອງຖິ່ນ | ໃຫ້ລະບຸ ຜູ້ໃດທີ່ມີສ່ວນຮ່ວມ ໃນແຕ່ລະກິດຈະກໍາ? | |
---|---|---|
ການເລີ່ມຕົ້ນ / ແຮງຈູງໃຈ | ການຮ່ວມມື | เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ดำเนินการ +เจ้าหน้าที่รัฐภายในพื้นที่ |
ການວາງແຜນ | ການຮ່ວມມື | เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ดำเนินการ +เจ้าหน้าที่รัฐภายในพื้นที่ |
ການປະຕິບັດ | เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ดำเนินการ +เจ้าหน้าที่รัฐภายในพื้นที่ | |
ຕິດຕາມກວດກາ / ການປະເມີນຜົນ | ການຮ່ວມມື | เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ดำเนินการ +เจ้าหน้าที่รัฐภายในพื้นที่ |
- | - |
3.3 ແຜນວາດ (ຖ້າມີ)
3.4 ການຕັດສິນໃຈກ່ຽວກັບການຄັດເລືອກເຕັກໂນໂລຢີຂອງການຄຸ້ມຄອງທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ / ເຕັກໂນໂລຢີ
ລະບຸ ຄົນທີ່ຕັດສິນໃຈ ກ່ຽວກັບການຄັດເລືອກຂອງ ເຕັກໂນໂລຢີ / ເຕັກໂນໂລຢີ ຈະໄດ້ຮັບການປະຕິບັດ:
- ພາກສ່ວນກ່ຽວຂ້ອງທັງໝົດ, ເປັນສ່ວນໜຶ່ງ ຂອງວິທີທາງແບບມີສ່ວນຮ່ວມ
ອະທິບາຍ:
กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ รู้ปัญหาดินและน้ำเป็นกรดจัด ปลูกพืชไม่ได้ผล ผลผลิตพืชตกต่ำ ได้รับการถ่ายทอดความรู้ในการปรับปรุงดินกรดด้วยปูนโดโลไมท์ จากหน่วยงานภาครัฐ และเกษตรกรเจ้าของเทคโนโลยี
Specify on what basis decisions were made:
- ປະສົບການສ່ວນບຸກຄົນ ແລະ ຄວາມຄິດເຫັນ (ທີ່ບໍ່ເປັນເອກກະສານ)
4. ການສະໜັບສະໜູນທາງດ້ານວິຊາການ, ການສ້າງຄວາມສາມາດ, ແລະ ການຈັດການຄວາມຮູ້.
4.1 ການສ້າງຄວາມສາມາດ / ການຝຶກອົບຮົມ
ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ ຫຼື ພາກສ່ວນກ່ຽວຂ້ອງອື່ນໆ ໄດ້ຮັບການຝຶກອົບຮົມບໍ່?
ແມ່ນ
ໃຫ້ລະບຸ ຜູ້ໃດທີ່ໄດ້ຮັບການຝຶກອົບຮົມ:
- ຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນ
ຖ້າເປັນໄປໄດ້, ໃຫ້ລະບຸເພດ, ອາຍຸ, ສະຖານະພາບ, ຊົນເຜົ່າ, ແລະ ອື່ນໆ:
อบรมหรือถ่ายทอดความรู้ ให้แก่ เกษตรกร หมอดินอาสา และผู้สนใจ
ຮູບແບບຂອງການຝຶກອົບຮົມ:
- ຕົວຕໍ່ຕົວ
- ເນື້ອທີ່ສວນທົດລອງ
- ກອງປະຊຸມ
ໃນຫົວຂໍ້:
การใช้ผลิตภัณฑ์กรมพัฒนาที่ดินในการปรับปรุงบำรุงดิน
ຄວາມຄິດເຫັນ:
เป็นการบรรยายถ่ายทอดความรู้ และศึกษาดูงานในพื้นที่จริง ในศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ
4.2 ການບໍລິການໃຫ້ຄໍາປຶກສາ
ເຮັດຜູ້ໃຊ້ທີ່ດິນມີການເຂົ້າເຖິງການບໍລິການໃຫ້ຄໍາປຶກສາ?
ແມ່ນ
ລະບຸວ່າການສະໜອງ ການບໍລິການ ໃຫ້ຄໍາປຶກສາ:
- ໃນພື້ນທີ່ຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນ
- ສູນຄົ້ນຄວ້າ
ອະທິບາຍ / ຄວາມຄິດເຫັນ:
เกษตรกรที่สนใจ สามารถเข้ามาศึกษาเรียนรู้ ขอคำแนะนำ จากเกษตรกรเจ้าของเทคโนโลยีได้ ที่ศูนย์เรียนรู้เรื่อง ดิน น้ำ ปุ๋ย และการผลิตพริกไทยคุณภาพ ตำบลวังโตนด อำเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี และสอบถามทางโทรศัพท์ หมายเลข 085-2788035
4.3 ສະຖາບັນການສ້າງຄວາມເຂັ້ມແຂງ (ການພັດທະນາອົງການຈັດຕັ້ງ)
ສະຖາບັນ ໄດ້ຮັບການສ້າງຕັ້ງຂື້ນ ຫຼື ໄດ້ຮັບການສ້າງຄວາມເຂັ້ມແຂງ ໂດຍການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງບໍ່?
- ບໍ່ມີ
4.4 ຕິດຕາມກວດກາ ແລະ ປະເມີນຜົນ
ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ ໄດ້ມີການປະເມີນຜົນ ແລະ ຕິດຕາມບໍ?
ແມ່ນ
ຄວາມຄິດເຫັນ:
กรมพัฒนาที่ดิน มีการติดตามประเมินผลการใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะผลการตรวจวิเคราะห์ดิน (ค่า pH)
ຖ້າແມ່ນ, ເອກກະສານສະບັບນີ້ ແມ່ນໄດ້ນໍາໃຊ້ເຂົ້າໃນການຕິດຕາມ ແລະ ປະເມີນຜົນບໍ່?
ແມ່ນ
ຄວາມຄິດເຫັນ:
การติดตามผลวิเคราะห์ดินหลังการใช้เทคโนโลยี ทำให้เทคโนโลยีนี้มีความน่าเชื่อถือ และเป็นที่ยอมรับ
4.5 ການຄົ້ນຄວ້າ
ນີ້້ແມ່ນສ່ວນໜຶ່ງ ການຄົ້ນຄວ້າ ຂອງວິທີທາງບໍ່?
ບໍ່ແມ່ນ
5. ການສະໜັບສະໜູນທາງດ້ານການເງິນ ແລະ ອຸປະກອນຈາກພາຍນອກ
5.1 ງົບປະມານປະຈໍາປີ ສໍາລັບວິທີທາງ ຂອງການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ
ສະແດງງົບປະມານ ປະຈໍາປີ ສໍາລັບອົງປະກອບ ຂອງວິທີທາງ ການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ ເປັນໂດລາສະຫະລັດ :
9753.00
ຖ້າຫາກບໍ່ຮູ້ຈັດງົບປະມານທີ່ແນ່ນອນ ແມ່ນໃຫ້ປະມານເອົາ:
- 2,000-10,000
ຄໍາເຫັນ (ຕົວຢ່າງ: ແຫຼ່ງຂໍ້ມູນຫຼັກ ຂອງການສະໜອງທຶນ / ຜູ້ໃຫ້ທຶນທີ່ສໍາຄັນ):
กรมพัฒนาที่ดินและกรมส่งเสริมการเกษตร สนับสนุนการสร้างอาคารศูนย์ฯ ปัจจัยการผลิต ในการจัดทำแปลงสาธิตแผ่นป้ายเผยแพร่ความสำเร็จ ตลอดจนสนับสนุนการจัดตั้งธนาคารปุ๋ยอินทรีย์ในพื้นที่
5.2 ການສະໜັບສະໜູນ ທາງດ້ານການເງິນ / ອຸປະກອນ ສະໜອງໃຫ້ແກ່ຜູ້ນໍາທີ່ດິນ
ຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນ ໄດ້ຮັບການສະໜັບສະໜູນ ທາງດ້ານ ການເງິນ / ອຸປະກອນ ໃນການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ເຕັກໂນໂລຢີບໍ?
ແມ່ນ
ຖ້າແມ່ນ, ໃຫ້ລະບຸປະເພດ (ຫຼາຍ) ຂອງການສະໜັບສະໜູນ, ເງື່ອນໄຂ ແລະ ຜູູ້ສະໜອງ (ຫຼາຍ):
กรมพัฒนาที่ดิน ถ่ายทอดความรู้ในการปรับปรุงดินกรด สนับสนุนปูนโดโลไมท์และปัจจัยการผลิตอื่นๆ สำนักงานเกษตรจังหวัด/ ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี สนับสนุนปัจจัยการผลิต และถ่ายทอดความรู้ภายใต้โครงการ FTA และ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพริกไทย ในจังหวัดจันทบุรีให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัยและยั่งยืน
5.3 ເງິນສົມທົບສໍາລັບການນໍາໃຊ້ສະເພາະປັດໃຈຂາເຂົ້າໃນການຜະລີດກະສິກໍາ (ລວມທັງແຮງງານ)
- ກະສິກໍາ
ໃຫ້ລະບຸໄດ້ຮັບການສະໜັບສະໜູນປັດໃຈຂາເຂົ້າຫຍັງແດ່ | ທີ່ຂອບເຂດ | ລະບຸ ການອຸດໜູນ |
---|---|---|
ແນວພັນ, ແກ່ນພັນ | ງົບປະມານບາງສ່ວນ | 13,200 |
ຝຸ່ນ, ປຸ໋ຍ | ງົບປະມານບາງສ່ວນ | 100,000 |
ปูนโดโลไมท์ เชื้อจุลินทรีย์ทรีย์สารเร่ง พด.2 กากน้ำตาล และถังหมัก | ງົບປະມານບາງສ່ວນ | 22,800 |
ຖ້າແຮງງານ ຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ດິນ ໄດ້ຮັບການສະໜັບສະໜູນ ປັດໃຈຂາເຂົ້າ, ແມ່ນບໍ່:
- ໄດ້ຮັບການສະໜັບສະໜູນ ອຸປະກອນດ້ານອື່ນ
ຄວາມຄິດເຫັນ:
-
5.4 ສິນເຊື່ອ
ໄດ້ປ່ອຍສິນເຊື່ອ ສະໜອງໃຫ້ພາຍໃຕ້ ວິທີການສໍາລັບກິດຈະກໍາ ການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນນຍົງບໍ່?
ບໍ່ແມ່ນ
5.5 ສິ່ງຈູງໃຈ ຫຼື ເຄື່ອງມືອື່ນໆ
ການສົ່ງເສີມ ຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ເຕັກໂນໂລຢີ ໃນການຄຸ້ມຄອງ ດິນແບບຍືນຍົງ ໄດ້ສະໜອງສິ່ງກະຕຸກຊຸກຍູ້ບໍ່?
ແມ່ນ
ຖ້າແມ່ນ, ໃຫ້ລະບຸ:
1การจำหน่ายยอดพริกไทยSeedling แก่สมาชิกเครือข่าย ผู้เรียนรู้ดูงาน
2.ค่าตอบแทนการทำหน้าที่วิทยากร เผยแพร่ความรู้จากภาครัฐ
3.ทำให้เกิดชื่อเสียงแพร่หลาย เป้นที่รู้จัก ทำให้ยิ่งขายผลิตของศูนย์ได้มากขึ้น"
4 การได้รับรางวัลจากผลงานที่ทำ
6. ວິເຄາະຜົນກະທົບ ແລະ ສັງລວມບັນຫາ
6.1 ຜົນກະທົບຂອງແນວທາງ
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ດັ່ງກ່າວນີ້ ສາມາດເປັນຫຼັກຖານ ທີ່ສະໜັບສະໜູນ ໃຫ້ການຕັດສິນໃຈໄດ້ບໍ່?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
เกษตรกรที่ได้รับการถ่ายทอดความรู้ ตระหนักถึงปัญหาดินกรดจัด และเห็นความสำคัญของการแก้ไขปัญหา บางรายจึงลงทุนซื้อปูนโดโลไมท์มาใช้เอง โดยไม่รอภาครัฐสนับสนุน
ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ ສາມາດຊ່ວຍຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ ໃນການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ແລະ ບໍາລຸງຮັກສາ ເຕັກໂນໂລຢີ ການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງໄດ້ບໍ?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
เมื่อนำเทคโนโลยีไปใช้แล้วเกิดผลดี ดินดีขึ้น ช่วยป้องกันโรครากเน่าโคนเน่าในทางอ้อม และผลผลิตพืชดีขึ้น เกษตรกรข้างเคียงจึงนำไปปฏิบัติในพื้นที่ของตนเอง
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ສາມາດປັບປຸງ ການປະສານງານ ແລະ ຄ່າໃຊ້ຈ່າຍ ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ທີ່ມີປະສິດທິພາບ ຂອງການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືດຍົງໄດ້ບໍ່?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
มีกลุ่มเครื่อข่ายเกษตรกรหลายกลุ่ม ซึ่งมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มผลผลิตพืชของสมาชิกกลุ่ม
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ສາມາດປັບປຸງຄວາມຮູ້ ແລະ ຄວາມສາມາດຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ ໃນການປະຕິບັດ ການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືດຍົງໄດ້ບໍ່?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเกษตรกรผู้ใช้เทคโนโลยีเอสแอลเอ็ม ศึกษาดูงานในพื้นที่ ตลอดจนภาครัฐจัดฝึกอบรมเพื่อถ่ายทอดความรู้และให้การสนับสนุนการดำเนินงาน
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ສາມາດປັບປຸງຄວາມຮູ້ ແລະ ຄວາມສາມາດ ຂອງພາກສ່ວນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງໄດ້ບໍ່?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
การแลกเปลี่ยนความรู้และศึกษาดูงานในพื้นที่ที่ประสบความสำเร็จ
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ສາມາດສ້າງຄວາມເຂັ້ມແຂງ ໃຫ້ສະຖາບັນການຈັດຕັ້ງ, ການຮ່ວມມື ລະຫວ່າງພາກສ່ວນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງບໍ່?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
มีกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง
ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ ສາມາດຊຸກຍູ້ ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນທີ່ເປັນຊາວໜຸ່ມ / ຄົນລຸ້ນໃໝ່ ໃນການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງໄດ້ບໍ?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
การเผยแพร่ความรู้จากผู้ใช้เทคโนโลยีสู่เกษตรกรแปลงข้างเคียง ทำให้เกษตรกรรุ่นใหม่ ตระหนักถึงปัญหาดินกรดจัด และน้ำเทคโนโลยีเอสแอลเอ็มไปปฏิบัติในพื้นที่ มีการเผยแพร่ความสำเร็จของผู้ใช้เทคโนโลยีเอสแอลเอ็มผ่านสื่อทีวี ยูทูป การจัดนิทรรศการของหน่วยงานภาครัฐ ทำให้เกษตรกร นักเรียน นิสิต นักศึกษาสามารถเข้าถึงความรู้ได้
เทคโนโลยีช่วยฟื้นฟูและปรับปรุงดินกรด เกษตรกรผู้ใช้เทคโนโลยีส่วนใหญ่หันมาใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร ทำให้ได้ผลผลิตอาหารที่ปลอดภัย
ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ວິທີທາງ ສາມາດປັບປຸງ ການເຂົ້າເຖິງຕະຫຼາດໄດ້ບໍ?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
ผลผลิตมีคุณภาพ เป็นที่ต้องการของตลาด
ການນໍາໃຊ້ ວິທີທາງ ໄດ້ປັບປຸງ ການຈ້າງງານ, ໂອກາດ ໃນການສ້າງລາຍຮັບບໍ່?
- ບໍ່
- ມີ, ໜ້ອຍໜຶ່ງ
- ມີ, ພໍສົມຄວນ
- ມີ, ຫຼາຍ
ช่วงดำเนินการใช้เทคโนโลยี มีการจ้างแรงงานในพื้นที่
6.2 ແຮງຈູງໃຈຫຼັກຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນໃນການປະຕິບັດການຄຸ້ມຄອງທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ
- ການຜະລິດເພີ່ມຂຶ້ນ
pH ของดินสูงขึ้น ดินดีขึ้น เหมาะสำหรับการปลูกพืช
ทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น การผลิตในพื้นที่จึง
เพิ่มขึ้น
- ກໍາໄລເພີ່ມຂຶ້ນ (ຄວາມສາມາດ), ການປັບປຸງຄ່າໃຊ້ຈ່າຍ, ຜົນປະໂຫຍດ, ອັດຕາສ່ວນ
ผลผลิตเพิ่มขึ้น ราคาที่สูงขึ้น ทำให้เกษตรกรได้รับ
ผลตอบแทนมากขึ้น
- ຫຼຸດຜ່ອນດິນເຊື່ອມໂຊມ
pH ของดินเพิ่มขึ้น ดินดีขึ้น
- ລວມເຂົ້ານໍາກັນກັບການເຄື່ອນໄຫວ / ໂຄງການ / ກຸ່ມ / ເຄືອຂ່າຍ
มีการรวมกลุ่ม และเครืื่อข่ายผู้ปลูกพริกไทย
- ການປັບປຸງ ຄວາມຮູ້ ແລະ ຄວາມສາມາດ ຂອງການຄຸ້ມຄອງ ທີ່ດິນແບບຍືນຍົງ
เทคโนโลยีที่ใช้เห็นผลจริง ก่อให้เกิดการเรียนรู้และ
ปฏิบัติใช้อย่างแพร่หลาย
6.3 ຄວາມຍືນຍົງຂອງກິດຈະກໍາວິທີທາງ
ຜູ້ນໍາໃຊ້ ທີ່ດິນ ສາມາດສືບຕໍ່ ການຈັດຕັ້ງປະຕິບັດ ຜ່ານວິທີທາງໄດ້ບໍ່ (ໂດຍປາດສະຈາກ ການຊ່ວຍເຫຼືອ ຈາກພາກສ່ວນພາຍນອກ)?
- ແມ່ນ
ຖ້າ ໄດ້, ອະທິບາຍເຫດຜົນ:
เกษตรกรผู้ใช้ที่ดินสามารถดำเนินการได้เองโดยไม่ต้องรอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ
6.4 ຈຸດແຂງ / ຂໍ້ດີ ຂອງວິທີທາງ
ຈຸດແຂງ / ຂໍ້ດີ / ໂອກາດໃນການນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ |
---|
1-มีแหล่งเรียนรู้ ดูงาน เพื่อศึกษาหาข้อมูลไปแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพ |
2ทำให้เกิดความมั่นคงในอาชีพในกล่มเกษตรกรผู้ปลูกพริกไทย เนื่องจากมีเครือข่ายคอยให้คำแนะนำเช่น ทำให้มีข้อมูลการผลิต ข้อมูลตลาด |
3 ทำให้เกิดมี่สังสรรค์ recreation ทำให้เกิดความสุขในการที่ได้มีโอกาสพบและแลกเปลี่ยน ซึ่งกันและกัน |
4.มีการสนับสนุนจากภาครัฐ อย่างต่อเนื่อง |
5.ทำให้เกิดช่องทางและโอกาสในการเรียนรู้มากขึ้น |
ຈຸດແຂງ / ຈຸດດີ / ໂອກາດ ຈາກທັດສະນະຂອງຜູ້ປ້ອນຂໍ້ມູນ ຫຼື ບຸກຄົນສຳຄັນ |
---|
1) หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ เห็นความสำคัญของการฟื้นฟูและปรับปรุงดินเสื่อมโทรม และการเพิ่มผลผลิตพืชในพื้นที่ จึงสนับสนุนงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ตลอดจนถ่ายทอดความรู้ ทำให้ชุมชน และกลุ่มเกษตรกรเข้มแข็ง |
6.5 ຈຸດອ່ອນ / ຂໍ້ເສຍຂອງແນວທາງ ແລະ ວິທີການແກ້ໄຂໃຫ້ເຂົາເຈົ້າ
ຈຸດອ່ອນ / ຂໍ້ເສຍ / ຄວາມສ່ຽງໃນມູມມອງຂອງຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ | ມີວິທີການແກ້ໄຂຄືແນວໃດ? |
---|---|
- | - |
- | - |
- | - |
ຈຸດອ່ອນ ຫຼື ຂໍ້ເສຍ ຫຼື ຄວາມສ່ຽງ ໃນມຸມມອງຂອງ ຜູ້ສັງລວມຂໍ້ມູນ ຫຼື ບັນດາຜູ້ຕອບແບບສອບຖາມ | ມີວິທີການແກ້ໄຂຄືແນວໃດ? |
---|---|
- | - |
- | - |
- | - |
7. ເອກກະສານອ້າງອີງ ແລະ ຂໍ້ມູນການເຊື່ອມໂຍງ
7.1 ວິທີການ / ແຫຼ່ງຂໍ້ມູນ
- ການສໍາພາດ ຜູ້ນໍາໃຊ້ທີ່ດິນ
5
- ສໍາພາດ ຊ່ຽວຊານ ການຄຸ້ມຄອງ ດິນແບບຍືນຍົງ
1
7.2 ເອກະສານທົ່ວໄປທີ່ສາມາດໃຊ້ໄດ້
ຫົວຂໍ້, ຜູ້ຂຽນ, ປີ, ISBN:
-
ມີຢູ່ໃສ?ມູນຄ່າເທົ່າໃດ?
-
7.3 ການເຊື່ອມຕໍ່ກັບຂໍ້ມູນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງທີ່ສາມາດໃຊ້ອອນໄລນ໌
ຫົວຂໍ້ / ພັນລະນາ:
-
URL:
-
ຂໍ້ມູນການເຊື່ອມຕໍ່ ແລະ ເນື້ອໃນ
ຂະຫຍາຍທັງໝົດ ຍຸບທັງໝົດການເຊື່ອມຕໍ່
ບໍ່ມີຂໍ້ມູນການເຊື່ອມຕໍ່
ເນື້ອໃນ
ບໍ່ມີເນື້ອໃນ