แนวทาง

กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ [ไทย]

  • ผู้สร้างสรรค์:
  • การอัพเดท:
  • ผู้รวบรวม:
  • ผู้เรียบเรียง:
  • ผู้ตรวจสอบ: ,

-

approaches_4243 - ไทย

สมบูรณ์: 100%

1. ข้อมูลทั่วไป

1.2 รายละเอียดที่ติดต่อได้ของผู้รวบรวมและองค์กรที่เกี่ยวข้องในการประเมินและการจัดเตรียมทำเอกสารของแนวทาง

วิทยากรหลัก

co-compiler:
ผู้รวบรวม:
ผู้ใช้ที่ดิน:

มงคลกาญจนคุณ นายพัฒน์พงษ์

084-5276227 / -

- / -

-

119/1.....ม.4.....ต.หนองเป็ดอำเภอ.ศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรีรหัสไปรษณีย์ 71250

ไทย

ผู้ใช้ที่ดิน:

เรียงรวบ นายมานพ

086-9865017 / -

- / -

-

1/1.....ม.2....ต.หนองเป็ด....อ.ศรีสวัสดิ์....จ.กาญจนบุรี

ไทย

ผู้ใช้ที่ดิน:

วิสารทเวคิน นายชวลิต

034-696169 / 089-8976212

- / -

-

99…ม.3....ต.หนองเป็ด.....อ.ศรีสวัสดิ์........จ.กาญจนบุรี

ไทย

ผู้ใช้ที่ดิน:

พิศูจน์ นางทิพยมาศ

089-8251578 / -

- / -

-

83…..ม.4.....ต.หนองเป็ด....อ.ศรีสวัสดิ์.....จ.กาญจนบุรี

ไทย

1.3 เงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการใช้ข้อมูลที่ได้บันทึกไว้ผ่านทาง WOCAT

ผู้รวบรวมและวิทยากรหลักยอมรับเงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลที่ถูกบันทึกผ่านทาง WOCAT:

ใช่

1.4 การอ้างอิงถึงแบบสอบถามเรื่องเทคโนโลยี SLM

เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา Organic Farm on Moderate Hillside Slope
technologies

เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา Organic Farm on Moderate Hillside Slope [ไทย]

เกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา เป็นการจัดการพื้นที่ ดินและน้ำ ให้สามารถผลิตสินค้าทางการเกษตรที่ปลอดภัยได้อย่างยั่งยืน

  • ผู้รวบรวม: Kukiat SOITONG

2. คำอธิบายของแนวทาง SLM

2.1 การอธิบายแบบสั้น ๆ ของแนวทาง

กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เป็นการรวมกลุ่มของเกษตรกรที่ดำเนินการทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยได้จัดให้มีศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย เพื่อเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ร่วมกัน

2.2 การอธิบายอย่างละเอียดของแนวทาง

การอธิบายอย่างละเอียดของแนวทาง:

1. อะไรคือลักษณะที่สำคัญหรือคุณลักษณะที่เห็นเด่นชัดของแนวทาง
กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เป็นแนวทางของการจัดการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา เป็นการทำเกษตรที่ให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศการเกษตรในไร่นา ดังนั้นจึงจำเป็นต้องพัฒนาการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติและการบริหารจัดการฟาร์มของตนเ ผลที่ตามมาก็คือเกษตรอินทรีย์จึงเป็นแนวทางการเกษตรที่ตั้งอยู่บนกระบวนการแห่งการเรียนรู้และภูมิปัญญา เพราะเกษตรกรต้องสังเกต ศึกษา วิเคราะห์-สังเคราะห์ และสรุปบทเรียนเกี่ยวกับการทำการเกษตรของฟาร์มตนเอง ซึ่งจะมีเงื่อนไขทั้งทางกายภาพ เช่น ลักษณะของดิน ภูมิอากาศ รวมถึงเศรษฐกิจ-สังคมที่แตกต่างจากพื้นที่อื่น เพื่อคัดสรรและพัฒนาแนวทางเกษตรอินทรีย์ที่เฉพาะและเหมาะสมกับพื้นที่ของตัวเอง

2. อะไรคือเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของแนวทาง
การตั้ง กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์
1.เพื่อ ให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยให้มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันผ่านการจัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย
2. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์และสามารถจัดการสินค้าเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่การผลิตจนถึงการตลาด

3. วิธีการใดที่ถูกเอามาใช้
กระบวนการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนของกลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ ได้นำวิธีการต่อไปนี้มาปรับใช้
1 มีการRaising Farmers’ Awareness
2 การเรียนรู้จากการลงมือทำจริง Learning by Doing
3 การจัดการระบบการเรียนรู้ภายในกลุ่ม Farmers’ Learning System
4 Farmers’ Group Management

4. ขั้นตอนของการเอาไปปฏิบัติใช้มีอันไหนบ้าง
1.จัดตั้ง กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์
2.เชิญชวนเกษตรกร ที่มีความสนใจและมีความต้องการปรับเปลี่ยนมาจัดตั้งกลุ่ม
3.จัดตั้งคณะกรรมการบริหารกลุ่ม เพื่อดำเนินการขับเคลื่อนกิจกรรมกลุ่ม
4. อบรม สมาชิกในกลุ่มให้มีความรู้ด้านการผลิต และกระบวนการจัดการสินค้าเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำจนถึงปลายน้ำ ให้ได้มาตรฐานการผลิดสินค้าเกษตรอินทรีย์ –
5. สร้างกระบวนการถ่ายทอดความรู้ ผ่านการปฏิบัติจริงภายในศูนย์เรียนรู้ การวางแผนและการบริหารจัดการฟาร์มด้วยตนเอง
6.จัดให้มีระบบตรวจสอบภายในกลุ่ม เพื่อรักษามาตรฐานการผลิตตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย
7. ศึกษาดูงาน
8. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยใช้สื่อต่างๆ ได้แก่ แผ่นพับ วิดีโอ youtube การให้สัมภาษณ์ผ่านสื่อโทรทัศน์ และวิทยุ
9. ส่งเสริมและสนับสนุน จากหน่วยงาน ได้แก่ กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริมการเกษตร กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิต


5 ผู้มีส่วนได้เสียมีผู้ใดที่เกี่ยวข้องและบทบาทของบุคคลเหล่านั้นมีอะไรบ้าง
5.1 เกษตรกรสมาชิกและผู้นำเกษตรรกร มีบทบาทในการถ่ายทอดความรู้ การจัดตั้งกลุ่มที่มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน
5.2 หน่วยงานของรัฐ มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณและปัจจัยการผลิต และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
5.3 หน่วยงานเอกชน มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน งบประมาณ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
5.4 ผู้ส่งออกสินค้าเกษตรอินทรีย์ มีบทบาทในการช่วยกระจายสินค้าเกษตรอินทรียำปยังต่างประเทศ

(6) สิ่งที่ผู้ใช้ที่ดินชอบหรือไม่ชอบเกี่ยวกับแนวทาง
จุดแข็งของกลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์
1) กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ มีการบูรณาการ ร่วมกันทั้งเกษตรกร ภาครัฐ และเอกชน
2 การดำเนินงานแบบกลุ่มทำให้มีอำนาจต่อรองและ สามารถติดต่อกับตลาดได้โดยตรง
3) การรวมกล่มเรียนรู้ทำให้เกิดมีความรู้ทักษะและประสบการณ์ในด้านเกษตรอินทรีย์ได้ดีขึ้น
4) ความซือสัตย์ของเกษตรกรที่เป็นสมาชิก จะทำให้กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์มีความเข้มแข็ง
5) การถ่ายทอดความรู้ และการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ทำให้เกษตรกรสามารถนำความรู้ไปใช้ในพื้นที่ของตนเองได้อย่างเหมาะสม

2.3 รูปภาพของแนวทาง

ข้อสังเกตทั่วไปเกี่ยวกับรูปภาพ:

-

2.4 วีดีโอของแนวทาง

ความคิดเห็น อธิบายสั้นๆ:

-

สถานที่:

-

ชื่อของผู้ถ่ายวีดีโอ:

-

2.5 ประเทศ ภูมิภาค หรือสถานที่ตั้งที่ได้นำแนวทางไปใช้

ประเทศ:

ไทย

ภูมิภาค/รัฐ/จังหวัด: :

กาญจนบุรี

ข้อมูลเฉพาะเพิ่มเติมของสถานที่ตั้ง:

บ้านหนองเป็ด..ม.4...ต.หนองเป็ด....อ.ศรีสวัสดิ์...จ.กาญจนบุรี

ความคิดเห็น:

-

2.6 วันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดของแนวทาง

ระบุปีที่เริ่ม:

2006

ความคิดเห็น:

เกษตรกรมีการทำเกษตรอินทรีย์อย่างต่อเนื่อง

2.7 ประเภทของแนวทาง

  • ใช้โครงงานหรือแผนงานเป็นฐาน

2.8 เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์หลักของแนวทาง

การตั้ง กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์
1.เพื่อ ให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มทำเกษตรอินทรีย์บนพื้นที่ลาดเชิงเขา โดยให้มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันผ่านการจัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดด้านเกษตรอินทรีย

2. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์และสามารถจัดการสินค้าเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่การผลิตจนถึงการตลาด

2.9 เงื่อนไขที่เอื้ออำนวยหรือเป็นอุปสรรคต่อการนำเทคโนโลยีภายใต้แนวทางนี้ไปปฏิบัติใช้

บรรทัดฐานและค่านิยมทางสังคม วัฒนธรรม ศาสนา
  • เป็นอุปสรรค

คนในสังคมส่วนมากยังเห็นต่างยังทำเกษตรสารเคมีทำให้ยากต่อการป้องกันการปนเปื่อนของสารเคมีจากแปลงรอบข้าง

การมีไว้ให้หรือการเข้าถึงแหล่งการเงินและบริการ
  • เอื้ออำนวย

มีหน่วยงานทางการเงินมาให้แหล่งทุนเช่น ธกส.และกองทุนหมู่บ้าน

การจัดตั้งระดับองค์กร
  • เอื้ออำนวย

มีหน่วยงานที่เข้าร่วมสนับสนุนหลายหน่วยงาน ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร สถานีพัฒนาที่ดิน และการไฟฟ้าเขื่อนศรีนครินทร์

การร่วมมือหรือการทำงานประสานกันของผู้ลงมือปฏิบัติ
  • เอื้ออำนวย

หน่วยงานต่างๆร่วมบูรณาการในพื้นที่

กรอบแนวทางในการดำเนินการด้านกฎหมาย (การถือครองที่ดิน สิทธิในการใช้ที่ดินและน้ำ)
  • เป็นอุปสรรค

ยังขาดเอกสารสิธิ์อยู่ในพื้นที่เขตป่าไม้ถาวรทำให้ขาดสิทธิในใช้ประโยชน์ที่ดินด้านต่างๆ

นโยบาย
  • เอื้ออำนวย

เป็นวาระแห่งชาติ

ความรู้เกี่ยวกับ SLM การเข้าถึงการสนับสนุนด้านเทคนิค
  • เอื้ออำนวย

เกษตรกรสามารถติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ได้สะดวก รวดเร็วมีหน่วยงานสนับสนุน

ตลาด (จัดซื้อปัจจัยนำเข้า ขายผลิตภัณฑ์) และราคา
  • เอื้ออำนวย

เป็นผลผลิตที่เป็นความต้องการของตลาด

อื่นๆ
  • เป็นอุปสรรค

ขาดแคลนแรงงานและค่าแรงขั้นต่ำมีราคาสูง

3. การมีส่วนร่วมและบทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง

3.1 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องในแนวทางนี้และบทบาท

  • ผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นหรือชุมชนระดับท้องถิ่น

เกษตรกรเจ้าของพื้นที่และสมาชิกกล่ม

-

  • ครู เด็กนักเรียน หรือนักศึกษา

ครู นักเรียน-โรงเรียน มหาวิทยาลัย

-

  • ภาคเอกชน

การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

-

  • รัฐบาลแห่งชาติ (ผู้วางแผน ผู้ทำการตัดสินใจ)

หน่วยงานภาครัฐ กพด ,กสก,-กระทรวงพลังงาน กรมพัฒนาชุมชน

-

  • องค์การระหว่างประเทศ

มีองค์กร FAO เข้ามาเยี่ยมเยียนให้คำปรึกษาและแนะนำ

-

ถ้ามีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายคนที่เกี่ยวข้องให้ระบุหน่วยงานตัวแทน:

-

3.2 การเกี่ยวข้องของผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นหรือชุมชนระดับท้องถิ่นในช่วงต่างๆของแนวทาง
ความเกี่ยวข้องของผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นหรือชุมชนระดับท้องถิ่น ระบุผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องและอธิบายกิจกรรม
การริเริ่มหรือการจูงใจ ระดมกำลังด้วยตนเอง หน่วยงานของรัฐ กสก กพด ให้การสนับสนุนมีการประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารต่างๆ.
การวางแผน ปฏิสัมพันธ์ หน่วยงานของรัฐและเกษตรกร ร่วมกันดำเนินการวางแผนประชุม ตรวจสอบพื้นที่ในขั้นตอนการทำเกษตรอินทรีย์
การดำเนินการ ปฏิสัมพันธ์ เกษตรกรและหน่วยงานภาครัฐ เอกชน
การติดตามตรวจสอบหรือการประเมินผล ปฏิสัมพันธ์ หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน และสมาชิกภายในกล่ม

3.3 แผนผังแสดงขั้นตอนการทำงาน (ถ้ามี)

คำอธิบาย:

เป็นขั้นตอนต่างๆในการจัดตั้งกล่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ เชิญชวนเกษตรกร ที่มีความสนใจและมีความต้องการปรับเปลี่ยนมาจัดตั้งกลุ่ม จัดตั้งคณะกรรมการบริหารกลุ่ม เพื่อดำเนินการขับเคลื่อนกิจกรรมกลุ่ม อบรม สมาชิกในกลุ่มให้มีความรู้ด้านการผลิต และกระบวนการจัดการสินค้าเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำจนถึงปลายน้ำ ให้ได้มาตรฐานการผลิดสินค้าเกษตรอินทรีย์ สร้างกระบวนการถ่ายทอดความรู้ ผ่านการปฏิบัติจริงภายในศูนย์เรียนรู้ การวางแผนและการบริหารจัดการฟาร์มด้วยตนเอง จัดให้มีระบบตรวจสอบภายในกลุ่ม เพื่อรักษามาตรฐานการผลิตตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย มีการศึกษาดูงาน เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยใช้สื่อต่างๆ ได้แก่ แผ่นพับ วิดีโอ youtube การให้สัมภาษณ์ผ่านสื่อโทรทัศน์ และวิทยุส่งเสริมและสนับสนุน จากหน่วยงาน ได้แก่ กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริมการเกษตร กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

ผู้เขียน:

-

3.4 การตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยี SLM

ระบุผู้ที่ทำการตัดสินใจเลือกเทคโนโลยีมากกว่าหนึ่งวิธีไปปฏิบัติใช้:
  • ผู้ลงมือปฏิบัติที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในฐานะที่เป็นส่วนรวมของแนวทาง
การอธิบาย:

-

ระบุว่าการตัดสินใจตั้งอยู่บนพื้นฐานของ:
  • ประสบการณ์และความคิดเห็นส่วนตัว (ไม่ได้ลงบันทึกไว้)

4. การสนับสนุนด้านเทคนิค การสร้างขีดความสามารถ และการจัดการด้านความรู้

4.1 การสร้างขีดความสามารถ / การอบรม

ได้มีการจัดอบรมให้แก่ผู้ใช้ที่ดินหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคนอื่น ๆ หรือไม่:

ใช่

ให้ระบุว่าใครเป็นผู้ได้รับการอบรม:
  • ผู้ใช้ที่ดิน
  • นักศึกษา
ถ้าเกี่ยวข้อง ให้ระบุ เพศ อายุ สถานภาพ ชาติพันธุ์ เป็นต้น:

-

รูปแบบการอบรม:
  • เกษตรกรกับเกษตรกร
  • จัดคอร์ส
หัวข้อที่พูด:

เทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน

ความคิดเห็น:

เป็นการให้ความรู้ในเรื่องของการทำเกษตรอินทรีย์อย่างเป็นระบบ

4.2 การบริการให้คำแนะนำ

ผู้ใช้ที่ดินมีการเข้าถึงการรับบริการให้คำปรึกษาหรือไม่:

ใช่

ระบุว่ามีบริการให้คำปรึกษาหรือไม่:
  • ที่ศูนย์ถาวร
การอธิบาย/แสดงความคิดเห็น:

มีเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวห้องให้คำแนะนำอย่างสม่ำเสมอ

4.3 การเสริมความแข็งแกร่งให้กับสถาบัน (การพัฒนาองค์กร)

สถาบันได้รับการจัดตั้งขึ้นมาหรือเสริมความแข็งแกร่งโดยแนวทางนี้หรือไม่:
  • ใช่ ปานกลาง
ระบุระดับของสถาบันที่ได้รับการเสริมความแข็งแกร่งหรือจัดตั้งขึ้นมา:
  • ท้องถิ่น
อธิบายถึงสถาบัน บทบาทและความรับผิดชอบ สมาชิก เป็นต้น:

-

ระบุประเภทของการให้ความช่วยเหลือสนับสนุน:
  • ด้านการเงิน
  • การสร้างขีดความสามารถ / การอบรม
ให้รายละเอียดเพิ่มเติม :

กรมพัฒนาที่ดินและไฟฟ้าเขื่อนศรีนครินทร์ให้การสนับสนุนงบประมาณ

4.4 การติดตามตรวจสอบและประเมินผล

การติดตามตรวจสอบและประเมินผลเป็นส่วนหนึ่งของแนวทางหรือไม่:

ใช่

ความคิดเห็น:

มีการติดตามตรวจสอบประเมินผล

ถ้าตอบว่าใช่ แสดงว่าการจัดเตรียมเอกสารนี้มุ่งหวังที่จะเอาไปใช้สำหรับการติดตามตรวจสอบและประเมินผลใช่หรือไม่:

ใช่

4.5 การวิจัย

การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของแนวทางหรือไม่:

ไม่ใช่

5. การสนับสนุนด้านการเงินและวัสดุอุปกรณ์

5.1 ระบุงบประมาณประจำปีสำหรับแนวทาง SLM นี้

ถ้าหากว่างบประมาณประจำปีไม่เป็นที่ทราบแน่นอน ให้ระบุช่วงลงไป:
  • > 1,000,000
แสดงความคิดเห็น (แหล่งของการระดมทุน ผู้บริจาคคนสำคัญ):

กรมพัฒนาที่ดินและไฟฟ้าฝ่ายผลิต กระทรวงพลังงาน

5.2 การสนับสนุนด้านการเงิน / วัสดุอุปกรณ์ให้แก่ผู้ใช้ที่ดิน

ผู้ใช้ที่ดินได้รับการสนับสนุนด้านการเงิน / วัสดุอุปกรณ์ไปปฏิบัติใช้เทคโนโลยีหรือไม่:

ใช่

ถ้าใช่ ให้ระบุประเภทของการสนับสนุน เงื่อนไขและผู้จัดหามาให้:

อาคาร อุปกรณ์การเกษตร โรงแปรรูป ผลิตภัณฑ์และเครื่องบรรจุภัณฑ์

5.3 เงินสนับสนุนสำหรับปัจจัยนำเข้า (รวมถึงแรงงาน)

  • อุปกรณ์
ระบุปัจจัยนำเข้าที่ได้รับการสนับสนุน เห็นด้วยระดับไหน ระบุเงินสนับสนุน
เครื่องจักร ได้รับการช่วยเหลือทางการเงินแบบเต็ม 1.อาคารโรงเรือน 500,000บาท 2.โรงแปรรูป 60,000บาท 3.เครื่องบรรจุภัณฑ์ 190,000บาท 4.แผงโซล่าเซลล์ 160,000บาท
เครื่องมือ ได้รับการช่วยเหลือทางการเงินแบบเต็ม
  • การเกษตร
ระบุปัจจัยนำเข้าที่ได้รับการสนับสนุน เห็นด้วยระดับไหน ระบุเงินสนับสนุน
เมล็ด ได้รับการช่วยเหลือทางการเงินแบบเต็ม 1.กรมพัฒนาที่ดินสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ปอเทือง 2,000บาท 2.กรมพัฒนาที่ดินสนับสนุนกล้าหญ้าแฝกจำนวน20000กล้าเป็นเงิน14600บาท 3.กรมพัฒนาที่ดินสนับสนุนปูนโดโลไมท์จำนวน4200กิโลกรัมเป็นเงิน16800บาท
ถ้าแรงงานโดยผู้ใช้ที่ดินเป็นปัจจัยนำเข้าที่มีอยู่มากมาย ระบุด้วยว่าเนื่องจาก:
  • สมัครใจ
ความคิดเห็น:

-

5.4 เครดิต

มีการจัดหาเครดิตมาให้ภายใต้แนวทาง SLM หรือไม่:

ไม่ใช่

5.5 แรงจูงใจหรือเครื่องมืออื่น ๆ

แรงจูงใจหรือเครื่องมืออื่น ๆ ได้ถูกนำไปใช้ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี SLM หรือไม่:

ใช่

ถ้าใช่ ระบุ:

กรมพัฒนาที่ดินและไฟฟ้าเขื่อนศรีนครินทร์ช่วยส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรอินทรีย์ทั้งวัสดุและอุปกรณ์พร้อมกับภาครัฐมีนโยบายช่วยส่งเสริม

6. การวิเคราะห์ผลกระทบและการสรุป

6.1 ผลกระทบของแนวทาง

ทำให้ผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นมีอำนาจขึ้น ปรับปรุงการเข้าร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ดีขึ้นหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

เกษตรกรมีการทำการเกษตรอย่างต่อเนื่องและมีรายได้หมุนเวียน

ช่วยในการตัดสินใจโดยดูจากหลักฐาน ได้หรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

มีการนำความรู้ต่อยอดและมีรายได้เสริม

ช่วยให้ผู้ใช้ที่ดินนำเอาเทคโนโลยี SLMไปใช้และบำรุงรักษาสภาพไว้ได้หรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

เกษตรกรประยุกต์ใช้เทคโนโลยีต่างๆ

ปรับปรุงความร่วมมือกันและการดำเนิน งานของ SLM ได้อย่างมีประสิทธิผลหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น/ได้แนะนำ/แรงจูงใจและมีหน่วยงานสนับสนุน

ปรับปรุงความรู้และความสามารถของผู้ใช้ที่ดินในการดำเนินการ SLM หรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นทำให้มีประสบการณ์ด้านเกษตรอินทรีย์

ปรับปรุงความรู้และความสามารถของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคนอื่น ๆ ให้ดีขึ้นหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

ได้แนะนำให้เพื่อนบ้านและผู้ใช้เกษตรอินทรีย์ปรับใช้ตาม

ทำให้ผู้ใช้ที่ดินระดับท้องถิ่นมีอำนาจขึ้น ปรับปรุงการเข้าร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ดีขึ้นหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

มีการติดต่อประสานงานและมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน

ส่งเสริมให้เยาวชนหรือบุตรหลานของผู้ใช้ที่ดินให้เข้าร่วมใน SLM:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

มีการติดต่อประสานงานและมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน

นำไปสู่ความมั่นคงด้านอาหารหรือปรับปรุงโภชนาการให้ดีขึ้น:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

มีการติดต่อประสานงานและมีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน

ปรับปรุงความสามารถของผู้ใช้ที่ดินในการปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศหรือสภาพที่รุนแรงและภัยพิบัติหรือไม่:
  • ไม่ใช่
  • ใช่ เล็กน้อย
  • ใช่ ปานกลาง
  • ใช่ อย่างมาก

ปรับการแก้ปัญหาเรื่องภัยแล้งโดยการขุดบ่อบาดาล

6.2 แรงจูงใจหลักของผู้ใช้ที่ดินเพื่อที่จะนำ SLM ไปปฏิบัติใช้

  • การผลิตที่เพิ่มขึ้น

ปลูกพืชหลากหลายและเป็นที่ต้องการของตลาด

  • กำไร (ความสามารถ) อัตราส่วนค่าใช้จ่ายต่อผลประโยชน์ที่เพิ่มขึ้น

ผลผลิตที่ได้ปลอดภัย มีคุณภาพเป็นที่ต้องการของ
ตลาด

  • ความเสี่ยงของภัยพิบัติลดลง

ลดการชะล้างพังทลายของดิน

  • จิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อม

ทำให้ปลอดภัยจากสารเคมี สิ่งแวดล้อมดีขึ้น

  • ความรู้และทักษะ SLM ที่เพิ่มพูนขึ้น

มีหน่วยงานหลายหน่วยงานช่วยสนับสนุนและให้ความรู้ทำให้มีทักษะและประสบการณ์มากยิ่งขึ้น

6.3 ความยั่งยืนของกิจกรรมของแนวทาง

ผู้ใช้ที่ดินสามารถทำให้สิ่งต่างๆ ที่ได้ปฏิบัติใช้โดยแนวทางนี้ยั่งยืนได้หรือไม่ (โดยไม่มีการสนับสนุนจากภายนอก):
  • ใช่
ถ้าตอบว่าใช่ ให้อธิบายว่าอย่างไร :

ทำให้สามารถปลูกพืชได้ผลผลิตที่ปลอดภัย มีใบรับรองจากภาครัฐ ทำให้สินค้าเป็นที่ต้องการของตลาดและขายรายได้สูง

6.4 จุดแข็งและข้อได้เปรียบของแนวทาง

จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบของแนวทางในทัศนคติของผู้ใช้ที่ดิน
1) กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์ มีการบูรณาการ ร่วมกันทั้งเกษตรกร ภาครัฐ และเอกชน
2 การดำเนินงานแบบกลุ่มทำให้มีอำนาจต่อรองและ สามารถติดต่อกับตลาดได้โดยตรง
3) การรวมกล่มเรียนรู้ทำให้เกิดมีความรู้ทักษะและประสบการณ์ในด้านเกษตรอินทรีย์ได้ดีขึ้น
4) ความซือสัตย์ของเกษตรกรที่เป็นสมาชิก จะทำให้กลุ่มเกษตรธรรมชาติสัมพันธ์มีความเข้มแข็ง
5) การถ่ายทอดความรู้ และการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ทำให้เกษตรกรสามารถนำความรู้ไปใช้ในพื้นที่ของตนเองได้อย่างเหมาะสม
จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบของแนวทางในทัศนคติของผู้รวบรวมหรือวิทยากรหลัก
1 ทำให้เกิดการวางแผนการใช้ที่ดินอย่างเป็นระบบ
2) ทำให้เกิดสินค้าที่มีมาตรฐานและได้รับการรับรอง จากหน่วยงาน ทำให้สินค้าเป็นที่ต้องการของตลาด
3) การที่รัฐกำหนดให้ เกษตรอินทรีย์ เป็นนโยบายแห่งชาติ ทำให้เป็นที่รู้จักและมีผู้สนใจมากขึ้น
4)มีช่องทางจำหน่ายผลผลิตที่หลากหลาย ทำให้ผู้บริโภคเข้าถึงได้ง่าย
5) ทำให้คนรุ่นใหม่เข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น
6) ทำให้เกิดพฤติกรรมต้องการบริโภคอาหารสุขภาพ มากขึ้น

6.5 จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบของแนวทางและวิธีในการแก้ไข

จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบในทัศนคติของผู้ใช้ที่ดิน สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างไร
1)หน่วยงานภาครัฐยังขาดประชาสัมพันธ์และให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ให้ภาครัฐมีนโยบายและสนันสนุนอย่างต่อเนื่อง
2ต้องใช้เวลาและความอดทนในการทำเกษตรอินทรีย์ หาเครื่องเมือเครื่องจักรเข้ามาช่วยดำเนินการ
3)พื้นที่ทำการเกษตรอย่าห่างไกลจากตลาดทำให้การขนส่งไม่สะดวกและไกล เพิ่มตลาดในพื้นที่ใกล้เคียงให้มากขึ้น
4)ผู้บริโภคยังขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องผลผลิตจากเกษตรอินทรีย์ ให้หน่วยงานภาครัฐช่วยส่งเสริมอย่างจริงจัง
5)การบรรจุภัณฑ์ยังไม่สวยงานและทันสมัยที่จะดึงดูดผู้บริโภคได้. ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยในการออกแบบและส่งเสริมให้เป็นที่ต้องการของผู้บริโภค
จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบในทัศนคติของผู้รวบรวมหรือวิทยากรหลัก สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างไร
1)ผลผลิตจากการทำเกษตรอินทรีย์มีปริมาณน้อยกว่าระบบเกษตรใช้สารเคมี รวมกลุ่มสมาชิกผู้สนใจเรื่องเกษตรอินทรีย์เพิ่มผลิตให้มากขึ้นให้หน่วยงานภาครัฐมีการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง

7. การอ้างอิงและการเชื่อมต่อ

7.1 วิธีการหรือแหล่งข้อมูล

  • การสัมภาษณ์กับผู้ใช้ที่ดิน
  • การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้าน SLM หรือผู้ชำนาญ

-

7.2 การอ้างอิงถึงสิ่งตีพิมพ์

ชื่อเรื่อง ผู้เขียน ปี ISBN:

กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ช่องทางในการสืบค้น และราคา:

http://www.ldd.go.th/www/lek_web/

ชื่อเรื่อง ผู้เขียน ปี ISBN:

กรมวิชาการเกษตร

ช่องทางในการสืบค้น และราคา:

http://www.doa.go.th/main/

ชื่อเรื่อง ผู้เขียน ปี ISBN:

กรมส่งเสริมการเกษตร

ช่องทางในการสืบค้น และราคา:

www.doae.go.th

7.3 เชื่อมโยงกับข้อมูลที่มีอยู่บนออนไลน์

ชื่อเรื่องหรือคำอธิบาย:

-

URL:

-

โมดูล