Environmental Friendly Pig Farm /Zero Waste Pig Farm [Tailandia]
- Creación:
- Actualización:
- Compilador: Kukiat SOITONG
- Editor: –
- Revisores: Rima Mekdaschi Studer, William Critchley
หมูหลุมอินทรีย์ตามวิถึชุมชน
technologies_4252 - Tailandia
Visualizar secciones
Expandir todo Colapsar todos1. Información general
1.2 Detalles de contacto de las personas de referencia e instituciones involucradas en la evaluación y la documentación de la Tecnología
Persona(s) de referencia clave
usuario de la tierra:
สิงห์โตศรี นายสุพจน์
กลุ่มหมูหลุมอินทรีย์ ตามวิถีชุมชนตำบลดอนแร่
Tailandia
1.3 Condiciones referidas al uso de datos documentados mediante WOCAT
El compilador y la/s persona(s) de referencia claves aceptan las condiciones acerca del uso de los datos documentados mediante WOCAT:
Sí
1.4 Declaración de la sostenibilidad de la Tecnología descrita
¿La Tecnología aquí descrita resulta problemática en relación a la degradación de la tierra, de tal forma que no puede considerársela una tecnología sostenible para el manejo de la tierra?
No
Comentarios:
-
1.5 Referencia al (los) Cuestionario(s) de Enfoques MST (documentados usando WOCAT)
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม (Zero Waste Pig Farm Technology Transfer Center) [Tailandia]
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดความรู้เรื่องการเลี้ยงหมูหลุม จากเกษตรกรผู้ประสบความสำเร็จไปยังเกษตรกรและผู้สนใจ รวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุมให้เป็นเวทีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
- Compilador: Kukiat SOITONG
2. Descripción de la Tecnología MST
2.1 Breve descripción de la Tecnología
Definición de la Tecnología:
หมูหลุม เป็นการจัดการในการเลี้ยงสุกร ด้วยวิธีการจัดการคอกและการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสานกับการทำงานของจุลินทรีย์ที่ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์หมูที่ปลอดภัย และสามารถกักเก็บของเสียจากคอกเป็นปุ๋ยอินทรีย์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ตลอดจนไม่เกิดมลภาวะต่อชุมชน
2.2 Descripción detallada de la Tecnología
Descripción:
(1) เทคโนโลยีนำไปใช้ที่ไหน(สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของมนุษย์ )
โดยทั่วไปการเลี้ยงสุกร ในชุมชน มักจะก่อให้เกิดมลภาวะอันเนื่องมาจาก ของเสียจากการเลี้ยงสุกรได้แก่ มูลสุกร น้ำเสียจากการเลี้ยงและกลิ่น ทำให้เกิดมลภาวะและความขัดแย้งในการใช้ประโยชน์จากที่ดินของชุมชน การจัดการเลี้ยงหมู แบบ หมูหลุม เป็นเทคโนโลยีทางเลือกในการลดปัญหาอันเนื่องมาจากการเลี้ยงหมูแบบเดิม ที่ส่งผลกระทบชีวิตความเป็นอยู่ สภาวะสิ่งแวดล้อมของชุมชนที่นำไปสู่ความขัดแย้งในการใช้ประโยชน์จากที่ดินของชุมชน
(2) อะไรคือลักษณะหรือองค์ประกอบที่สำคัญของเทคโนโลยี
การเลี้ยงหมูหลุม มีลักษณะการจัดการเฉพาะประกอบด้วย2 ส่วน คือ การจัดการเลี้ยงหมูหลุมและการจัดการของเสียจากการเลี้ยงหมู
ก.การจัดการเลี้ยงหมูหลุม มีองค์ประกอบที่สำคัญ คือการจัดการโรงเรือนและวิธีการเลี้ยง
การจัดการโรงเรือน สร้างโรงเรือนบนพื้นที่ดอนที่ไม่มีน้ำท่วมขัง ใช้วัสดุที่หาได้ตามท้องถิ่น เช่น ไม้ไผ่ หญ้าคา เป็นต้น สร้างเป็นลักษณะเพิงหมาแหงนหรือหน้าจั่วโดยให้โรงเรือนมีการระบายอากาศที่ดี การทำคอกหมูหลุม ในการเลี้ยงหมูหลุม ให้ทำคอกบนพื้นดิน ไม่เทพื้นซีเมนต์ แต่จะขุดหลุมลึกประมาณ 60-70 เซนติเมตร แล้วรองก้นหลุมด้วยแกลบ ขี้เลื่อย หรือขุยมะพร้าว
วิธีการเลี้ยงหมูหลุม ประกอบด้วย. การจัดการเรื่อง อาหารได้แก่ อาหารข้นและอาหารหมัก วัตถุดิบต้องคัดเลือกว่ามาจากกระบวนการผลิตที่ไม่ใช้สารเคมี และมีการใช้สมุนไพรผงร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพ ผสมน้ำ ให้สัตว์กินเพื่อส่งเสริมสุขภาพสัตว์ เป็นการป้องกันและรักษาโรค
พันธุ์สุกรที่นำมาเลี้ยงในลักษณะหมูหลุม ได้แก่สายพันธุ์ที่นิยมนำมาเลี้ยงจะเป็นลูกผสมสามสายพันธ์ คือ ดูร็อคเจอร์ซี่ + แลนด์เลซ + ลาร์จไวท์ โดยให้อยู่ในช่วงหย่านม ( ประมาณ 1 เดือน )
ข.การจัดการของเสียจากการเลี้ยงหมู ให้ใช้แกลบรองก้นหลุม แบ่งเป็น 2 ชั้น ชั้นละประมาณ 30 เซนติเมตร ระหว่างชั้น ใส่ดินแล้ว หว่านเกลือ แล้วรดน้ำหมักชีวภาพให้ชุ่ม จากนั้นทุกสัปดาห์ให้รดน้ำหมักชีวภาพเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายสิ่งปฏิกูลต่างๆ หลังจากเลี้ยงหมู ในแต่ละรอบของการเลี้ยง จะได้ปุ๋ยหมักมูลหมูหลุมพร้อมใช้
(3)อะไรคือจุดประสงค์หรือหน้าที่ของเทคโนโลยี
1.เพื่อให้การเลี้ยงหมูไม่ก่อให้เกิดมลภาวะและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
2.เพื่อให้ได้ปุ๋ยหมักมูลหมูหลุมที่มีคุณภาพ เพื่อนำไปใช้ในการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์
3. เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์จากสุกรที่ปลอดภัยจากสารพิษไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค
(4)กิจกรรมที่สำคัญหรือปัจจัยการผลิตที่จำเป็นในการจัดตั้งหรือบำรุงรักษาสภาพเทคโนโลยี
ขั้นตอนการเลี้ยงหมูหลุม
1.สร้างโรงเรือน บนพื้นที่ดอนที่ไม่มีน้ำท่วมขัง ให้โรงเรือนมีการระบายอากาศที่ดี
2.สร้างคอกหมูหลุม ขนาดคอกกว้าง 4 x 4 เมตร สามารถเลี้ยงได้คอกละ8 ตัว
3. การเตรียมคอก
4.พันธุ์สุกร สายพันธ์ที่นิยมนำมาเลี้ยงจะเป็นลูกผสมสามสายพันธ์
5. อาหารหมูหลุม วัตถุดิบ ต้องคัดเลือกว่ามาจากกระบวนการผลิตที่ไม่ใช้สารเคมี
6. การป้องกันและรักษาโรค ใช้การฉีดพ่นน้ำหมักชีวภาพที่พื้นคอกและตัวหมูทุก 7 วันใช้น้ำหมักชีวภาพผสมน้ำให้หมูกิน เมื่อมีอาการป่วยก็รักษาตามอาการโดยการใช้ยาสมุนไพร
7. การดูแลรักษา
(5)ประโยชน์ที่ได้รับหรือผลกระทบของเทคโนโลยีคืออะไรบ้าง
1)มีวัสดุและวัตถุดิบในพื้นที่ทำให้ช่วยลดต้นทุนการผลิต
2)ได้ปุ๋ยที่เป็นประโยชน์สามารถนำไปเป็นธาตุอาหารให้กับพืชได้
3)ได้ผลิตภัณฑ์เนื้อหมูที่ปลอดภัย
4)ไม่เป็นมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม และไม่มีกลิ่นรบกวนชุมชน
5)เป็นอาชีพที่สามารถดำรงชีพได้อย่างยั่งยืน
(6)อะไรบ้างที่ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินชอบหรือไม่ชอบเกี่ยวกับเทคโนโลยี
อะไรบ้างที่ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินชอบ
1.สามารถเลี้ยงในชุมชนได้ เนื่องจากไม่มีปัญหาเรื่องกลิ่นเหม็นจากมูลสุกรและ แมลงวัน
2.ได้ปุ๋ยอินทรีย์ที่มีคุณภาพ ใข้ปรับปรุง บำรุงดิน ที่ปลูกพืชอาหารสัตว์ในพื้นที่ และจำหน่ายเป็นรายได้เสริม
3.ประหยัดแรงงานเนื่องจากไม่ต้องใช้แรงงานในการเก็บกวาดมูล สุกร ทำความสะอาด คอกและล้างตัวสุกรรวมทั้งยังทำให้ประหยัดน้ำที่ใช้ในการเลี้ยงด้วย
อะไรบ้างที่ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินหรือไม่ชอบ
1.กระบวนการและการเลี้ยงหมูหลุมใช้เวลามากกว่าปกติ
2.ผลิตภัณฑ์จากหมูหลุมยังไม่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย
3.ยังไม่มีการกำหนดมาตรฐานการเลี้ยงหมูหลุม จากภาครัฐ
4.การเลี้ยงหมูหลุม ต้องมีพื้นที่ปลูกพืชอาหารเพื่อเป็นวัตถุดิบอาหารให้หมูที่ปลอดภัย
2.3 Fotografías de la Tecnología
2.4 Videos de la Tecnología
Comentarios, descripción breve:
-
Lugar:
-
Nombre del videógrafo:
-
2.5 País/ región/ lugares donde la Tecnología fue aplicada y que se hallan comprendidos por esta evaluación
País:
Tailandia
Región/ Estado/ Provincia:
ราชบุรี
Especifique más el lugar :
พื้นที่ตำบลดอนแร่ อ.เมือง จ.ราชบุรี
Comentarios:
นายสุพจน์ สิงห์โตศรี 95/1 ม.9 ต.ดอนแร่ อ.เมือง จ.ราชบุรี
Map
×2.6 Fecha de la implementación
Indique año de implementación:
1969
Si no se conoce el año preciso, indique la fecha aproximada:
- hace más de 50 años atrás (tradicional)
2.7 Introducción de la Tecnología
Especifique cómo se introdujo la Tecnología:
- como parte de un sistema tradicional (> 50 años)
- การศึกษาดูงาน
Comentarios (tipo de proyecto, etc.):
-
3. Clasificación de la Tecnología MST
3.1 Propósito(s) principal(es) de la Tecnología MST
- mejorar la producción
- reducir, prevenir, restaurar la degradación del suelo
- crear impacto económico benéfico
- crear impacto social benéfico
3.2 Tipo(s) actuales de uso de la tierra donde se aplica la Tecnología
Bosques
- Plantación de árboles, reforestación
Plantación de árboles, reforestación: Especifique el origen y la composición de las especies:
- Variedades mixtas
Comentarios:
-
3.3 ¿Cambió el uso de tierras debido a la implementación de la Tecnología?
Comentarios:
-
3.4 Provisión de agua
otra (ej. post-inundación):
- ใช้ในปศุสัตว์,สระน้ำ
Comentarios:
-
3.5 Grupo MST al que pertenece la Tecnología
- manejo integrado de la fertilidad del suelo
- manejo de desperdicios/ manejo de aguas residuales
3.6 Medidas MST que componen la Tecnología
medidas de manejo
- M6: Manejo de desperdicios (reciclado, reutilización o reducción)
otras medidas
Especifique:
-
Comentarios:
การเลี้ยงหมูในคอกที่ทำให้ไม่มีของเสีย/ทำลายสิ่งแวดล้อม
3.7 Principales tipos de degradación del suelo encarados con la Tecnología
degradación del agua
- Hq: reducción de la calidad de subterráneas
Comentarios:
ถ้าทำปศุสัตว์แบบปกติจะทำให้เกิดมลภาวะต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม
3.8 Prevención, reducción o restauración de la degradación del suelo
Especifique la meta de la Tecnología con relación a la degradación de la tierra:
- reducir la degradación del suelo
Comentarios:
นำปุ๋ยมูลหมูหลุมมาปรับปรุงบำรุงดิน
4. Especificaciones técnicas, actividades de implementación, insumos y costos
4.1 Dibujo técnico de la Tecnología
Especificaciones técnicas (relacionadas al dibujo técnico):
1.โรงเรือนหมูหลุม
สร้างโรงเรือนบนพื้นที่ดอนที่ไม่มีน้ำท่วมขัง ไม่เทพื้นซีเมนต์ ใช้วัสดุที่หาได้ตามท้องถิ่น เช่น ไม้ไผ่ หญ้าคา เป็นต้น สร้างเป็นลักษณะเพิงหมาแหงนหรือหน้าจั่ว โดยให้โรงเรือนมีการระบายอากาศที่ดี
2. การเตรียมคอก
การเลี้ยงแบบนี้จะเป็นพื้นอ่อนและโรงเรือนจะต้องสัมพันธ์กับจำนวนหมู โดยใช้มีขนาดคอกกว้าง 4 x 4 เมตร สามารถเลี้ยงได้คอกละ8 ตัว ส่วนแม่หมูจะใช้คอกเล็กกว่าหมูขุน จะใช้คอกขนาด 2x3 เมตร เริ่มด้วยการขุดพื้นคอกลึกลงไป 60 เซนติเมตร (หรือก่ออิฐขึ้นมาก็ได้) ในการมุงหลังคานั้นควรให้ตีนชายคากว้างกันไม่ให้น้ำฝนสาดเข้ามาในคอก และเมื่อตีฝาคอกแล้วต้องใช้อิฐบล็อกหรือไม้ไผ่กั้นรอบๆ คอกลึกลงไปจากพื้นดินประมาณ 40-50 เซนติเมตร เพื่อกันไม่ใช่หมูขุดนอกคอกได้ (การกั้นฝาคอกควรติดตั้งประตูปิด-เปิดได้ไว้ เพื่อความสะดวกในการนำหมูเข้า-ออก)
3.การเตรียมวัสดุพื้นคอก
ปูพื้นคอกโดยใช้แกลบหนา 60 เซ็นติเมตร แล้วใช้แกลือเม็ด ครึ่งลิตรโรยหน้าแล้วใช้น้ำหมักชีวภาพ ผสมน้ำ 20 ลิตร ราดให้ทั่ว ช่วงนี้วัสดุพื้นคอกจะยังร้อนจากการทำงานของจุลินทรีย์ ทิ้งไว้ประมาณ 7 วัน จึงนำหมูเข้าอยู่ได้ และควรราดน้ำหมักชีวภาพลงบนพื้นคอกเพิ่มเติมทุกๆ 5 – 7 วัน ครั้งละ 10ลิตร ภายหลังจากเริ่มเลี้ยงหมูแล้วเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายสิ่งปฏิกูลต่างๆ
แกลบจะทำหน้าที่ดูดซับความชื้นของเสียต่างๆ ลดการเกิดแก๊สจากการสะสมของเสีย พื้นแกลบนุ่มเดินสบายเท้าทำให้ไม่มีปัญหาเล็บเท้าฉีกขาด หมูชอบขุดคุ้ยดินที่เย็นสบาย นอกจากนั้นไม่ต้องใช้แรงงานและน้ำจำนวนมากในการทำความสะอาดโรงเรือน แกลบที่ใช้รองพื้นเมื่อหมูอายุครบกำหนด ยังได้ขายเป็นปุ๋ยคอกอีกด้วย สภาพแวดล้อมโดยรอบแห้งสะอาด ไม่มีสิ่งปฏิกูลให้เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค
4.พันธุ์สุกร
พันธุ์สุกรที่นำมาเลี้ยงในลักษณะหมูหลุม ได้แก่สายพันธุ์ที่นิยมนำมาเลี้ยงจะเป็นลูกผสมสามสายพันธ์ คือ ดูร็อคเจอร์ซี่ + แลนด์เลซ + ลาร์จไวท์ โดยให้อยู่ในช่วงหย่านม ( ประมาณ 1 เดือน )
5.อาหารหมูหลุม อาหารข้นและอาหารหมัก ผสมในอัตราส่วน อาหารข้น 50% และอาหารหมัก 50% เพื่อลดต้นทุนค่าอาหาร นอกจากนี้ยังมีการเสริมหญ้าสดให้กินทุกวันด้วย โดยให้กินประมาณครึ่งกิโลกรัม ต่อตัว สำหรับอาหารหมัก จะใช้พืชจากธรรมชาติมาหมัก คือ หยวกกล้วย 100 กิโลกรัม น้ำตาลทรายแดง 4 กิโลกรัม เกลือ 1 กิโลกรัม หมักทิ้งไว้ประมาณ 4-5 วัน วัตถุดิบที่นำมาผสมเป็นอาหาร ต้องคัดเลือกว่ามาจากกระบวนการผลิตที่ไม่ใช้สารเคมี
การผลิตอาหารหมักชีวภาพในการเลี้ยงหมูหลุม น้ำหมักชีวภาพเป็นเทคโนโลยีชีวภาพท้องถิ่นที่ชาวบ้านสามารถทำเองได้โดยการนำเอาพืชผักผลไม้ซากสัตว์ไปหมัก โดยจุลินทรีย์ที่มีในบรรยากาศและกากน้ำตาลเป็นอาหารของจุลินทรีย์หรือการใช้หัวเชื้อที่คัดเลือก การใช้สารสกัดจากสมุนไพร และสารสกัดจากพืช โดยกระบวนการการหมักบ่มด้วยจุลินทรีย์ที่มีลักษณะจำเพาะ ด้วยระยะเวลาและวิธีการหมักบ่มที่เหมาะสมจะได้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นประโยชน์กับสัตว์การใช้สมุนไพรผงและการใช้น้ำหมักชีวภาพ ผสมน้ำ ให้สัตว์กิน เป็นการส่งเสริมสุขภาพให้กับสัตว์ สามารถป้องกันและรักษาโรค นอกจากนี้ยังมีการใช้สมุนไพร ในการฆ่าเชื้อและต้านทานเชื้อก่อโรค
6.การให้อาหารและน้ำ
1.หมูเล็ก น้ำหนัก 15-30 กก.ใช้ อาหารข้น:อาหารหมัก=2:1
2.หมูรุ่น น้ำหนัก 30-60 กก.ใช้ อาหารข้น:อาหารหมัก=1:1
3.หมูใหญ่ น้ำหนัก 60-ส่งตลาดใช้ อาหารข้น:อาหารหมัก=1:2
4.แม่พันธุ์ พ่อพันธุ์ ใช้ อาหารข้น:อาหารหมัก=1:2
ส่วนการให้น้ำ ให้ตามปกติ และควรมีถ้วยรองน้ำเพื่อไม่ให้แฉอะแฉะ
7. การให้ยาและการป้องกันโรค
1. ในการเสริมสร้างความแข็งแรงให้กับหมู ใช้น้ำหมักชีวภาพผสมน้ำให้หมูกิน แต่หากอาหารหรือน้ำไม่สะอาดพอ หมูอาจมีอาการท้องเสีย หรือขี้เหลวได้ (ซึ่งปกติไม่ค่อยเกิดบ่อยนัก) ต้องรักษาโดยนำใบฝรั่งสด ใบฟ้าทะลายโจรสด และเถาบอระเพ็ดเอาให้หมูกิน
2. ใช้ตาข่าย สำหรับกันยุงในเวลากลางคืน แต่หากเป็นพื้นที่ที่มีตัวริ้นชุกชุม ควรนำเอาตะไคร้หอมมาทุบแช่น้ำ แล้วฉีดพ่นให้หมูในช่วงหัวค่ำ
8. การดูแลหมูหลุม
1. ฉีดพ่นน้ำหมักชีวภาพที่พื้นคอกและตัวหมูทุก 7 วัน
2 .ทำความสะอาดบริเวณโรงเรือนทุกๆเดือน เติมขี้เถ้าแกลบ 1-2 กระสอบเดือนละครั้งต่อคอก
3. ตรวจสอบน้ำดื่มหมู เปลี่ยนที่เหลือสาดเข้าไปในคอกให้หญ้าสด,ผักสด ปริมาณ 1 ใน 3 ของอาหาร
Autor:
-
4.2 Información general sobre el cálculo de insumos y costos
Especifique cómo se calcularon los costos e insumos:
- por área de Tecnología
Indique tamaño y unidad de área:
27ไร่
Si usa una unidad de área local, indique el factor de conversión a una hectárea (ej. 1 ha = 2.47 acres): 1 ha =:
-
Si fuera relevante, indique la tasa de cambio de dólares americanos a la moneda local (ej. 1 U$ = 79.9 Reales Brasileros): 1 U$ =:
32,0
Indique el costo promedio del salario de trabajo contratado por día:
300บาทต่อวัน
4.3 Actividades de establecimiento
Actividad | Momento (estación) | |
---|---|---|
1. | การจัดการเลี้ยงหมูหลุม | 2 ครั้งต่อปี |
2. | การจัดการมูลจากหมูหลุม | 2 ครั้งต่อปี |
4.4 Costos e insumos necesarios para el establecimiento
Especifique insumo | Unidad | Cantidad | Costos por unidad | Costos totales por insumo | % de los costos cubiertos por los usuarios de las tierras | |
---|---|---|---|---|---|---|
Mano de obra | 1.การจัดการเลี้ยงหมูหลุม | แรง | 210,0 | 300,0 | 63000,0 | 100,0 |
Mano de obra | 2.การจัดการอาหารหมูหลุม | แรง | 60,0 | 300,0 | 18000,0 | 100,0 |
Mano de obra | 3.การจัดการมูลหมูหลุม | แรง | 300,0 | 300,0 | 90000,0 | 100,0 |
Mano de obra | 4.การสร้างโรงเรือน | แรง | 120,0 | 300,0 | 36000,0 | 100,0 |
Material de construcción | 1.ค่าวัสดุการสร้างโรงเรือน | โรง | 1,0 | 84000,0 | 84000,0 | 100,0 |
Otros | 1.ค่าอาหารการเลี้ยงหมูหลุม | ตัว | 90,0 | 3800,0 | 342000,0 | 100,0 |
Otros | 2.ค่าพันธุ์ลูกสุกร | ตัว | 90,0 | 1500,0 | 135000,0 | 100,0 |
Costos totales para establecer la Tecnología | 768000,0 | |||||
Costos totales para establecer la Tecnología en USD | 24000,0 |
Si el usuario de la tierra no cubrió el 100% de los costos, indique quién financió el resto del costo:
-
Comentarios:
-
4.5 Actividades de establecimiento/ recurrentes
Actividad | Momento/ frequencia | |
---|---|---|
1. | 1. การจัดการเลี้ยงหมูหลุม | 2 ครั้งต่อปี |
2. | 2. การจัดการอาหารหมูหลุม | 2 ครั้งต่อปี |
3. | 3. การจัดการมูลหมูหลุม | 2 ครั้งต่อปี |
Comentarios:
-
4.6 Costos e insumos necesarios para actividades de mantenimiento/ recurrentes (por año)
Especifique insumo | Unidad | Cantidad | Costos por unidad | Costos totales por insumo | % de los costos cubiertos por los usuarios de las tierras | |
---|---|---|---|---|---|---|
Mano de obra | การจัดการเลี้ยงหมูหลุม | แรง | 210,0 | 300,0 | 63000,0 | 100,0 |
Mano de obra | การจัดกาอาหารรหมูหลุม | แรง | 60,0 | 300,0 | 18000,0 | 100,0 |
Mano de obra | การจัดการมูลหมูหลุม | แรง | 300,0 | 300,0 | 90000,0 | 100,0 |
Indique los costos totales para mantenecer la Tecnología | 171000,0 | |||||
Costos totales para mantener la Tecnología en USD | 5343,75 |
Si el usuario de la tierra no cubrió el 100% de los costos, indique quién financió el resto del costo:
-
Comentarios:
-
4.7 Factores más determinantes que afectan los costos:
Describa los factores más determinantes que afectan los costos:
ค่าแรง
5. Entorno natural y humano
5.1 Clima
Lluvia anual
- < 250 mm
- 251-500 mm
- 501-750 mm
- 751-1,000 mm
- 1,001-1,500 mm
- 1,501-2,000 mm
- 2,001-3,000 mm
- 3,001-4,000 mm
- > 4,000 mm
Especifique el promedio anual de lluvia (si lo conoce), en mm:
1210,00
Especificaciones/ comentarios sobre la cantidad de lluvia:
อยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมทีพัดเวียนประจําฤดูกาล 2 ชนิด คือพัดจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือในฤดูหนาวเรียกว่าลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ อิทธิพลของลมนี้ทําให้ บริเวณจังหวัดราชบุรีมีอากาศหนาวเย็นและแห้งแล้ง กับมรสุมอีกชนิดหนึงคือมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึง พัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ในฤดูฝน ทําให้อากาศชุ่มชืนและมีฝนตกทัวไป
Indique el nombre de la estación metereológica de referencia considerada:
-
Zona agroclimática
- húmeda
-
5.2 Topografía
Pendientes en promedio:
- plana (0-2 %)
- ligera (3-5%)
- moderada (6-10%)
- ondulada (11-15%)
- accidentada (16-30%)
- empinada (31-60%)
- muy empinada (>60%)
Formaciones telúricas:
- meseta/ planicies
- cordilleras
- laderas montañosas
- laderas de cerro
- pies de monte
- fondo del valle
Zona altitudinal:
- 0-100 m s.n.m.
- 101-500 m s.n.m.
- 501-1,000 m s.n.m
- 1,001-1,500 m s.n.m
- 1,501-2,000 m s.n.m
- 2,001-2,500 m s.n.m
- 2,501-3,000 m s.n.m
- 3,001-4,000 m s.n.m
- > 4,000 m s.n.m
Indique si la Tecnología se aplica específicamente en:
- situaciones cóncavas
Comentarios y especificaciones adicionales sobre topografía :
ราชบุรีเป็นจังหวัดทีมีเทือกเขาใหญ่น้อยเป็ นอันมาก โดยเฉพาะทางด้านตะวันตก ของจังหวัดมีเทือกเขาตะนาวศรี เป็ นแนวยาวกันเขตแดนไทยกับพม่า ทางตอนกลางของจังหวัดมีทีราบลุ่ม แม่นํ าแม่กลอง ซึงเหมาะแก่การเพาะปลูก และทางด้านตะวันออกเฉียงใต้เป็ นทีราบตํา ซึงได้รับอิทธิพลจาก การหนุนเนืองของนําทะเล
5.3 Suelos
Profundidad promedio del suelo:
- muy superficial (0-20 cm)
- superficial (21-50 cm)
- moderadamente profunda (51-80 cm)
- profunda (81-120 cm)
- muy profunda (>120 cm)
Textura del suelo (capa arable):
- mediana (limosa)
Textura del suelo (> 20 cm debajo de la superficie):
- mediana (limosa)
Materia orgánica de capa arable:
- media (1-3%)
Si se halla disponible, adjunte una descripción completa de los suelos o especifique la información disponible, por ej., tipo de suelo, pH/ acidez de suelo, capacidad de intercambio catiónico, nitrógeno, salinidad, etc. :
-
5.4 Disponibilidad y calidad de agua
Agua subterránea:
> 50 m
Disponibilidad de aguas superficiales:
bueno
Calidad de agua (sin tratar):
solo para uso agrícola (irrigación)
¿La salinidad del agua es un problema?
No
¿Se está llevando a cabo la inundación del área? :
No
Comentarios y especificaciones adicionales sobre calidad y cantidad de agua:
-
5.5 Biodiversidad
Diversidad de especies:
- mediana
Diversidad de hábitats:
- mediana
Comentarios y especificaciones adicionales sobre biodiversidad:
-
5.6 Las características de los usuarios de la tierra que aplican la Tecnología
Sedentario o nómada:
- Sedentario
Orientación del mercado del sistema de producción:
- comercial/ mercado
Ingresos no agrarios:
- menos del 10% de todos los ingresos
Nivel relativo de riqueza:
- rico
Individuos o grupos:
- individual/ doméstico
- grupos/ comunal
Nivel de mecanización:
- trabajo manual
- mecanizado/motorizado
Género:
- hombres
Edad de los usuarios de la tierra:
- personas de mediana edad
Indique otras características relevantes de los usuarios de las tierras:
-
5.7 Área promedio de la tierra usada por usuarios de tierra que aplican la Tecnología
- < 0.5 ha
- 0.5-1 ha
- 1-2 ha
- 2-5 ha
- 5-15 ha
- 15-50 ha
- 50-100 ha
- 100-500 ha
- 500-1,000 ha
- 1,000-10,000 ha
- > 10,000 ha
¿Esto se considera de pequeña, mediana o gran escala (refiriéndose al contexto local)?
- escala mediana
Comentarios:
-
5.8 Tenencia de tierra, uso de tierra y derechos de uso de agua
Tenencia de tierra:
- individual, con título
Derechos de uso de tierra:
- individual
Derechos de uso de agua:
- individual
Especifique:
-
Comentarios:
-
5.9 Acceso a servicios e infraestructura
salud:
- pobre
- moderado
- bueno
educación:
- pobre
- moderado
- bueno
asistencia técnica:
- pobre
- moderado
- bueno
empleo (ej. fuera de la granja):
- pobre
- moderado
- bueno
mercados:
- pobre
- moderado
- bueno
energía:
- pobre
- moderado
- bueno
caminos y transporte:
- pobre
- moderado
- bueno
agua potable y saneamiento:
- pobre
- moderado
- bueno
servicios financieros:
- pobre
- moderado
- bueno
Comentarios:
-
6. Impactos y comentarios para concluir
6.1 Impactos in situ demostrados por la Tecnología
Impactos socioeconómicos
Producción
calidad de cultivo
Comentarios/ especifique:
ดีขึ้นเนื่องจกกมีการใช่ปุ๋ยหมักจากมูลหมูหลุมที่มีคุณภาพ
producción animal
Cantidad luego de MST:
10%
Comentarios/ especifique:
ลดการตายของประชากรหมูหลุม
riesgo de fracaso de producción
Comentarios/ especifique:
มีตลาดหลากหลาย
diversidad de producto
Comentarios/ especifique:
มีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย
manejo de tierras
Comentarios/ especifique:
แบ่งพื้นที่จัดการได้เหมาะสม
Disponibilidad y calidad de agua
disponibilidad de agua para ganado
calidad de agua para ganado
Ingreso y costos
ingreso agrario
diversidad de fuentes de ingreso
carga de trabajo
Comentarios/ especifique:
เอาใจใส่ในการผลิตมากขึ้น
Impactos socioculturales
seguridad alimentaria/ autosuficiencia
Comentarios/ especifique:
สามารผลิตได้อย่างยั่งยืน
situación de salud
Comentarios/ especifique:
สุขภาพแข็งแรง
derechos de uso de la tierra/ agua
Comentarios/ especifique:
มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มที่
mitigación de conflicto
Comentarios/ especifique:
ทำให้ไม่มีกลิ่นเหม็นรบกวน
Impactos ecológicos
Suelo
ciclo/ recarga de nutrientes
Comentarios/ especifique:
มีการนำมูลสุกรไปใช้ในพื้นที่
salinidad
Comentarios/ especifique:
ปรับปรุงดินด้วยมูลหมูหลุม
acidez
Comentarios/ especifique:
มีการใช้มูลหมูหลุมปรับปรุงดิน
Otros impactos ecológicos
ลดกลิ่นเหม็นในชุมชน
Comentarios/ especifique:
ลดกลิ่นจากการเลี้ยงหมูหลุม
ไม่มีของเสียจากการเลี้ยงสัตว์
6.2 Impactos fuera del sitio demostrados por la Tecnología
Especifique la evaluación de los impactos fuera del emplazamiento (medidas):
-
6.3 Exposición y sensibilidad de la Tecnología al cambio climático gradual y a extremos relacionados al clima/ desastres (desde la percepción de los usuarios de tierras)
Cambio climático gradual
Cambio climático gradual
Estación | Incremento o reducción | ¿Cómo es que la tecnología soporta esto? | |
---|---|---|---|
temperatura anual | incrementó | no muy bien | |
temperatura estacional | incrementó | no muy bien |
Extremos (desastres) relacionados al clima
Desastres biológicos
¿Cómo es que la tecnología soporta esto? | |
---|---|
enfermedades epidémicas | nada bien |
Comentarios:
ระบุสัตว์ตายมากขึ้น
6.4 Análisis costo-beneficio
¿Cómo se comparan los beneficios con los costos de establecimiento (desde la perspectiva de los usuarios de tierra)?
Ingresos a corto plazo:
positivo
Ingresos a largo plazo:
muy positivo
¿Cómo se comparan los beneficios con los costos de mantenimiento/ recurrentes (desde la perspectiva de los usuarios de tierra)?
Ingresos a corto plazo:
positivo
Ingresos a largo plazo:
muy positivo
Comentarios:
-
6.5 Adopción de la Tecnología
- 1-10%
Si tiene la información disponible, cuantifique (número de hogares y/o área cubierta):
จำนวนสมาชิกในกลุ่ม 15 ครัวเรือน
De todos quienes adoptaron la Tecnología, ¿cuántos lo hicieron espontáneamente, por ej. sin recibir nada de incentivos/ materiales:
- 0-10%
Comentarios:
-
6.6 Adaptación
¿La tecnología fue modificada recientemente para adaptarse a las condiciones cambiantes?
Sí
Si fuera así, indique a qué condiciones cambiantes se adaptó:
- mercados cambiantes
Especifique la adaptación de la Tecnología (diseño, material/ especies, etc.):
-คัดเลือกพันธุ์หมูหลุมให้เหมาะสม
-ลดหรือกำจัดกลิ่นเหม็นในการเลี้ยงหมูหลุม
6.7 Fuerzas/ ventajas/ oportunidades de la Tecnología
Fuerzas/ ventajas/ oportunidades desde la perspectiva del usuario de la tierra |
---|
1)มีวัสดุแลวัตถุดิบในพื้นที่ทำให้ช่วยลดต้นทุนการผลิต |
2)ได้ปุ๋ยที่เป็นประโยชน์สามารถนำไปเป็นธาตุอาหารให้กับพืชได้ |
3)ได้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย |
4)ไม่เป็นมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม ไม่มีกลิ่นรบกวนชุมชน |
5)สามารถเลี้ยงหมูหลุมในพื้นที่ชุมชนได้ |
6)เป็นอาชีพที่สามารถดำรงชีพได้อย่างยั่งยืน |
Fuerzas/ ventajas/ oportunidades desde la perspectiva del compilador o de otra persona de referencia clave |
---|
1)มีพื้นที่ที่เหมาะสมกับการใช้เทคโนโลยี |
2)ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินมีความรู้ความสามารถเป็นอย่างดี |
3)มีการปรับให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในชุมชน |
4)เป็นบุคคลที่น่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับในสังคมและชุมชน |
6.8 Debilidades/ desventajas/ riesgos de la Tecnología y formas de sobreponerse a ellos
Debilidades/ desventajas/ riesgos desde la perspectiva del usuario de la tierra | ¿Cómo sobreponerse a ellas? |
---|---|
1.กระบวนการและการเลี้ยงหมูหลุมใช้เวลามากกว่าปกติ | 1ควรวิจัยหาเทคนิคและวิธีการตลอดจนเทคโนโลยีเข้ามาช่วย |
2) ผลิตภัณฑ์จากหมูหลุมยังไม่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย | 2เสนอให้ทั้งภาครัฐและผู้ที่เกี่ยวข้องเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น |
3)ยังไม่มีการกำนดมาตรฐานการเลี้ยงหมูหลุม จากภาครัฐ | 3.ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรพิจารณากำหนดให้มีมาตรฐาน การเลี้ยงหมูหลุมเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ |
4)การเลี้ยงหมูหลุม ต้องมีพื้นที่ปลูกพืชอาหารเพื่อเป็นวัตถุดิบอาหารให้หมูที่ปลอดภัย | 4ให้พิจารณาดำเนินการแบบกล่มและ/หรือชุมชนมีส่วนร่วม |
Debilidades/ desventajas/ riesgos desde la perspectiva del compilador o de otra persona de referencia clave | ¿Cómo sobreponerse a ellas? |
---|---|
- |
7. Referencias y vínculos
7.1 Métodos/ fuentes de información
7.2 Vínculos a las publicaciones disponibles
Título, autor, año, ISBN:
-
¿Dónde se halla disponible? ¿Costo?
-
7.3 Vínculos a la información relevante disponible en línea
Título/ descripción:
-
URL:
-
7.4 Comentarios generales
-
Vínculos y módulos
Expandir todo Colapsar todosVínculos
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม (Zero Waste Pig Farm Technology Transfer Center) [Tailandia]
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดความรู้เรื่องการเลี้ยงหมูหลุม จากเกษตรกรผู้ประสบความสำเร็จไปยังเกษตรกรและผู้สนใจ รวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุมให้เป็นเวทีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
- Compilador: Kukiat SOITONG
Módulos
No se hallaron módulos