Environmental Friendly Pig Farm /Zero Waste Pig Farm [Thaïlande]
- Création :
- Mise à jour :
- Compilateur : Kukiat SOITONG
- Rédacteur : –
- Examinateurs : Rima Mekdaschi Studer, William Critchley
หมูหลุมอินทรีย์ตามวิถึชุมชน
technologies_4252 - Thaïlande
Voir les sections
Développer tout Réduire tout1. Informations générales
1.2 Coordonnées des personnes-ressources et des institutions impliquées dans l'évaluation et la documentation de la Technologie
Personne(s)-ressource(s) clé(s)
exploitant des terres:
สิงห์โตศรี นายสุพจน์
กลุ่มหมูหลุมอินทรีย์ ตามวิถีชุมชนตำบลดอนแร่
Thaïlande
1.3 Conditions relatives à l'utilisation par WOCAT des données documentées
Le compilateur et la(les) personne(s) ressource(s) acceptent les conditions relatives à l'utilisation par WOCAT des données documentées:
Oui
1.4 Déclaration sur la durabilité de la Technologie décrite
Est-ce que la Technologie décrite ici pose problème par rapport à la dégradation des terres, de telle sorte qu'elle ne peut pas être déclarée comme étant une technologie de gestion durable des terres?
Non
Commentaires:
-
1.5 Référence au(x) Questionnaires sur les Approches de GDT (documentées au moyen de WOCAT)
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม (Zero Waste Pig Farm Technology Transfer Center) [Thaïlande]
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดความรู้เรื่องการเลี้ยงหมูหลุม จากเกษตรกรผู้ประสบความสำเร็จไปยังเกษตรกรและผู้สนใจ รวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุมให้เป็นเวทีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
- Compilateur : Kukiat SOITONG
2. Description de la Technologie de GDT
2.1 Courte description de la Technologie
Définition de la Technologie:
หมูหลุม เป็นการจัดการในการเลี้ยงสุกร ด้วยวิธีการจัดการคอกและการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสานกับการทำงานของจุลินทรีย์ที่ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์หมูที่ปลอดภัย และสามารถกักเก็บของเสียจากคอกเป็นปุ๋ยอินทรีย์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ตลอดจนไม่เกิดมลภาวะต่อชุมชน
2.2 Description détaillée de la Technologie
Description:
(1) เทคโนโลยีนำไปใช้ที่ไหน(สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของมนุษย์ )
โดยทั่วไปการเลี้ยงสุกร ในชุมชน มักจะก่อให้เกิดมลภาวะอันเนื่องมาจาก ของเสียจากการเลี้ยงสุกรได้แก่ มูลสุกร น้ำเสียจากการเลี้ยงและกลิ่น ทำให้เกิดมลภาวะและความขัดแย้งในการใช้ประโยชน์จากที่ดินของชุมชน การจัดการเลี้ยงหมู แบบ หมูหลุม เป็นเทคโนโลยีทางเลือกในการลดปัญหาอันเนื่องมาจากการเลี้ยงหมูแบบเดิม ที่ส่งผลกระทบชีวิตความเป็นอยู่ สภาวะสิ่งแวดล้อมของชุมชนที่นำไปสู่ความขัดแย้งในการใช้ประโยชน์จากที่ดินของชุมชน
(2) อะไรคือลักษณะหรือองค์ประกอบที่สำคัญของเทคโนโลยี
การเลี้ยงหมูหลุม มีลักษณะการจัดการเฉพาะประกอบด้วย2 ส่วน คือ การจัดการเลี้ยงหมูหลุมและการจัดการของเสียจากการเลี้ยงหมู
ก.การจัดการเลี้ยงหมูหลุม มีองค์ประกอบที่สำคัญ คือการจัดการโรงเรือนและวิธีการเลี้ยง
การจัดการโรงเรือน สร้างโรงเรือนบนพื้นที่ดอนที่ไม่มีน้ำท่วมขัง ใช้วัสดุที่หาได้ตามท้องถิ่น เช่น ไม้ไผ่ หญ้าคา เป็นต้น สร้างเป็นลักษณะเพิงหมาแหงนหรือหน้าจั่วโดยให้โรงเรือนมีการระบายอากาศที่ดี การทำคอกหมูหลุม ในการเลี้ยงหมูหลุม ให้ทำคอกบนพื้นดิน ไม่เทพื้นซีเมนต์ แต่จะขุดหลุมลึกประมาณ 60-70 เซนติเมตร แล้วรองก้นหลุมด้วยแกลบ ขี้เลื่อย หรือขุยมะพร้าว
วิธีการเลี้ยงหมูหลุม ประกอบด้วย. การจัดการเรื่อง อาหารได้แก่ อาหารข้นและอาหารหมัก วัตถุดิบต้องคัดเลือกว่ามาจากกระบวนการผลิตที่ไม่ใช้สารเคมี และมีการใช้สมุนไพรผงร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพ ผสมน้ำ ให้สัตว์กินเพื่อส่งเสริมสุขภาพสัตว์ เป็นการป้องกันและรักษาโรค
พันธุ์สุกรที่นำมาเลี้ยงในลักษณะหมูหลุม ได้แก่สายพันธุ์ที่นิยมนำมาเลี้ยงจะเป็นลูกผสมสามสายพันธ์ คือ ดูร็อคเจอร์ซี่ + แลนด์เลซ + ลาร์จไวท์ โดยให้อยู่ในช่วงหย่านม ( ประมาณ 1 เดือน )
ข.การจัดการของเสียจากการเลี้ยงหมู ให้ใช้แกลบรองก้นหลุม แบ่งเป็น 2 ชั้น ชั้นละประมาณ 30 เซนติเมตร ระหว่างชั้น ใส่ดินแล้ว หว่านเกลือ แล้วรดน้ำหมักชีวภาพให้ชุ่ม จากนั้นทุกสัปดาห์ให้รดน้ำหมักชีวภาพเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายสิ่งปฏิกูลต่างๆ หลังจากเลี้ยงหมู ในแต่ละรอบของการเลี้ยง จะได้ปุ๋ยหมักมูลหมูหลุมพร้อมใช้
(3)อะไรคือจุดประสงค์หรือหน้าที่ของเทคโนโลยี
1.เพื่อให้การเลี้ยงหมูไม่ก่อให้เกิดมลภาวะและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
2.เพื่อให้ได้ปุ๋ยหมักมูลหมูหลุมที่มีคุณภาพ เพื่อนำไปใช้ในการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์
3. เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์จากสุกรที่ปลอดภัยจากสารพิษไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค
(4)กิจกรรมที่สำคัญหรือปัจจัยการผลิตที่จำเป็นในการจัดตั้งหรือบำรุงรักษาสภาพเทคโนโลยี
ขั้นตอนการเลี้ยงหมูหลุม
1.สร้างโรงเรือน บนพื้นที่ดอนที่ไม่มีน้ำท่วมขัง ให้โรงเรือนมีการระบายอากาศที่ดี
2.สร้างคอกหมูหลุม ขนาดคอกกว้าง 4 x 4 เมตร สามารถเลี้ยงได้คอกละ8 ตัว
3. การเตรียมคอก
4.พันธุ์สุกร สายพันธ์ที่นิยมนำมาเลี้ยงจะเป็นลูกผสมสามสายพันธ์
5. อาหารหมูหลุม วัตถุดิบ ต้องคัดเลือกว่ามาจากกระบวนการผลิตที่ไม่ใช้สารเคมี
6. การป้องกันและรักษาโรค ใช้การฉีดพ่นน้ำหมักชีวภาพที่พื้นคอกและตัวหมูทุก 7 วันใช้น้ำหมักชีวภาพผสมน้ำให้หมูกิน เมื่อมีอาการป่วยก็รักษาตามอาการโดยการใช้ยาสมุนไพร
7. การดูแลรักษา
(5)ประโยชน์ที่ได้รับหรือผลกระทบของเทคโนโลยีคืออะไรบ้าง
1)มีวัสดุและวัตถุดิบในพื้นที่ทำให้ช่วยลดต้นทุนการผลิต
2)ได้ปุ๋ยที่เป็นประโยชน์สามารถนำไปเป็นธาตุอาหารให้กับพืชได้
3)ได้ผลิตภัณฑ์เนื้อหมูที่ปลอดภัย
4)ไม่เป็นมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม และไม่มีกลิ่นรบกวนชุมชน
5)เป็นอาชีพที่สามารถดำรงชีพได้อย่างยั่งยืน
(6)อะไรบ้างที่ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินชอบหรือไม่ชอบเกี่ยวกับเทคโนโลยี
อะไรบ้างที่ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินชอบ
1.สามารถเลี้ยงในชุมชนได้ เนื่องจากไม่มีปัญหาเรื่องกลิ่นเหม็นจากมูลสุกรและ แมลงวัน
2.ได้ปุ๋ยอินทรีย์ที่มีคุณภาพ ใข้ปรับปรุง บำรุงดิน ที่ปลูกพืชอาหารสัตว์ในพื้นที่ และจำหน่ายเป็นรายได้เสริม
3.ประหยัดแรงงานเนื่องจากไม่ต้องใช้แรงงานในการเก็บกวาดมูล สุกร ทำความสะอาด คอกและล้างตัวสุกรรวมทั้งยังทำให้ประหยัดน้ำที่ใช้ในการเลี้ยงด้วย
อะไรบ้างที่ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินหรือไม่ชอบ
1.กระบวนการและการเลี้ยงหมูหลุมใช้เวลามากกว่าปกติ
2.ผลิตภัณฑ์จากหมูหลุมยังไม่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย
3.ยังไม่มีการกำหนดมาตรฐานการเลี้ยงหมูหลุม จากภาครัฐ
4.การเลี้ยงหมูหลุม ต้องมีพื้นที่ปลูกพืชอาหารเพื่อเป็นวัตถุดิบอาหารให้หมูที่ปลอดภัย
2.3 Photos de la Technologie
2.4 Vidéos de la Technologie
Commentaire, brève description:
-
Lieu:
-
Nom du vidéaste:
-
2.5 Pays/ région/ lieux où la Technologie a été appliquée et qui sont couverts par cette évaluation
Pays:
Thaïlande
Région/ Etat/ Province:
ราชบุรี
Autres spécifications du lieu:
พื้นที่ตำบลดอนแร่ อ.เมือง จ.ราชบุรี
Commentaires:
นายสุพจน์ สิงห์โตศรี 95/1 ม.9 ต.ดอนแร่ อ.เมือง จ.ราชบุรี
Map
×2.6 Date de mise en œuvre de la Technologie
Indiquez l'année de mise en œuvre:
1969
Si l'année précise est inconnue, indiquez la date approximative: :
- il y a plus de 50 ans (technologie traditionnelle)
2.7 Introduction de la Technologie
Spécifiez comment la Technologie a été introduite: :
- dans le cadre d'un système traditionnel (> 50 ans)
- การศึกษาดูงาน
Commentaires (type de projet, etc.) :
-
3. Classification de la Technologie de GDT
3.1 Principal(aux) objectif(s) de la Technologie
- améliorer la production
- réduire, prévenir, restaurer les terres dégradées
- créer un impact économique positif
- créer un impact social positif
3.2 Type(s) actuel(s) d'utilisation des terres, là où la Technologie est appliquée
Forêts/ bois
- Plantations d'arbres, boisements
Plantation d'arbres, afforestation: Précisez l'origine et la composition des espèces. :
- Variétés mixtes
Commentaires:
-
3.3 Est-ce que l’utilisation des terres a changé en raison de la mise en œuvre de la Technologie ?
Commentaires:
-
3.4 Approvisionnement en eau
autre (par ex., post-inondation):
- ใช้ในปศุสัตว์,สระน้ำ
Commentaires:
-
3.5 Groupe de GDT auquel appartient la Technologie
- gestion intégrée de la fertilité des sols
- gestion des déchets/ gestion des eaux usées
3.6 Mesures de GDT constituant la Technologie
modes de gestion
- M6: Gestion des déchets (recyclage, réutilisation ou réduction)
autres mesures
Précisez:
-
Commentaires:
การเลี้ยงหมูในคอกที่ทำให้ไม่มีของเสีย/ทำลายสิ่งแวดล้อม
3.7 Principaux types de dégradation des terres traités par la Technologie
dégradation hydrique
- Hp: baisse de la qualité des eaux de surface
Commentaires:
ถ้าทำปศุสัตว์แบบปกติจะทำให้เกิดมลภาวะต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม
3.8 Prévention, réduction de la dégradation ou réhabilitation des terres dégradées
Spécifiez l'objectif de la Technologie au regard de la dégradation des terres:
- réduire la dégradation des terres
Commentaires:
นำปุ๋ยมูลหมูหลุมมาปรับปรุงบำรุงดิน
4. Spécifications techniques, activités, intrants et coûts de mise en œuvre
4.1 Dessin technique de la Technologie
Spécifications techniques (associées au dessin technique):
1.โรงเรือนหมูหลุม
สร้างโรงเรือนบนพื้นที่ดอนที่ไม่มีน้ำท่วมขัง ไม่เทพื้นซีเมนต์ ใช้วัสดุที่หาได้ตามท้องถิ่น เช่น ไม้ไผ่ หญ้าคา เป็นต้น สร้างเป็นลักษณะเพิงหมาแหงนหรือหน้าจั่ว โดยให้โรงเรือนมีการระบายอากาศที่ดี
2. การเตรียมคอก
การเลี้ยงแบบนี้จะเป็นพื้นอ่อนและโรงเรือนจะต้องสัมพันธ์กับจำนวนหมู โดยใช้มีขนาดคอกกว้าง 4 x 4 เมตร สามารถเลี้ยงได้คอกละ8 ตัว ส่วนแม่หมูจะใช้คอกเล็กกว่าหมูขุน จะใช้คอกขนาด 2x3 เมตร เริ่มด้วยการขุดพื้นคอกลึกลงไป 60 เซนติเมตร (หรือก่ออิฐขึ้นมาก็ได้) ในการมุงหลังคานั้นควรให้ตีนชายคากว้างกันไม่ให้น้ำฝนสาดเข้ามาในคอก และเมื่อตีฝาคอกแล้วต้องใช้อิฐบล็อกหรือไม้ไผ่กั้นรอบๆ คอกลึกลงไปจากพื้นดินประมาณ 40-50 เซนติเมตร เพื่อกันไม่ใช่หมูขุดนอกคอกได้ (การกั้นฝาคอกควรติดตั้งประตูปิด-เปิดได้ไว้ เพื่อความสะดวกในการนำหมูเข้า-ออก)
3.การเตรียมวัสดุพื้นคอก
ปูพื้นคอกโดยใช้แกลบหนา 60 เซ็นติเมตร แล้วใช้แกลือเม็ด ครึ่งลิตรโรยหน้าแล้วใช้น้ำหมักชีวภาพ ผสมน้ำ 20 ลิตร ราดให้ทั่ว ช่วงนี้วัสดุพื้นคอกจะยังร้อนจากการทำงานของจุลินทรีย์ ทิ้งไว้ประมาณ 7 วัน จึงนำหมูเข้าอยู่ได้ และควรราดน้ำหมักชีวภาพลงบนพื้นคอกเพิ่มเติมทุกๆ 5 – 7 วัน ครั้งละ 10ลิตร ภายหลังจากเริ่มเลี้ยงหมูแล้วเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายสิ่งปฏิกูลต่างๆ
แกลบจะทำหน้าที่ดูดซับความชื้นของเสียต่างๆ ลดการเกิดแก๊สจากการสะสมของเสีย พื้นแกลบนุ่มเดินสบายเท้าทำให้ไม่มีปัญหาเล็บเท้าฉีกขาด หมูชอบขุดคุ้ยดินที่เย็นสบาย นอกจากนั้นไม่ต้องใช้แรงงานและน้ำจำนวนมากในการทำความสะอาดโรงเรือน แกลบที่ใช้รองพื้นเมื่อหมูอายุครบกำหนด ยังได้ขายเป็นปุ๋ยคอกอีกด้วย สภาพแวดล้อมโดยรอบแห้งสะอาด ไม่มีสิ่งปฏิกูลให้เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค
4.พันธุ์สุกร
พันธุ์สุกรที่นำมาเลี้ยงในลักษณะหมูหลุม ได้แก่สายพันธุ์ที่นิยมนำมาเลี้ยงจะเป็นลูกผสมสามสายพันธ์ คือ ดูร็อคเจอร์ซี่ + แลนด์เลซ + ลาร์จไวท์ โดยให้อยู่ในช่วงหย่านม ( ประมาณ 1 เดือน )
5.อาหารหมูหลุม อาหารข้นและอาหารหมัก ผสมในอัตราส่วน อาหารข้น 50% และอาหารหมัก 50% เพื่อลดต้นทุนค่าอาหาร นอกจากนี้ยังมีการเสริมหญ้าสดให้กินทุกวันด้วย โดยให้กินประมาณครึ่งกิโลกรัม ต่อตัว สำหรับอาหารหมัก จะใช้พืชจากธรรมชาติมาหมัก คือ หยวกกล้วย 100 กิโลกรัม น้ำตาลทรายแดง 4 กิโลกรัม เกลือ 1 กิโลกรัม หมักทิ้งไว้ประมาณ 4-5 วัน วัตถุดิบที่นำมาผสมเป็นอาหาร ต้องคัดเลือกว่ามาจากกระบวนการผลิตที่ไม่ใช้สารเคมี
การผลิตอาหารหมักชีวภาพในการเลี้ยงหมูหลุม น้ำหมักชีวภาพเป็นเทคโนโลยีชีวภาพท้องถิ่นที่ชาวบ้านสามารถทำเองได้โดยการนำเอาพืชผักผลไม้ซากสัตว์ไปหมัก โดยจุลินทรีย์ที่มีในบรรยากาศและกากน้ำตาลเป็นอาหารของจุลินทรีย์หรือการใช้หัวเชื้อที่คัดเลือก การใช้สารสกัดจากสมุนไพร และสารสกัดจากพืช โดยกระบวนการการหมักบ่มด้วยจุลินทรีย์ที่มีลักษณะจำเพาะ ด้วยระยะเวลาและวิธีการหมักบ่มที่เหมาะสมจะได้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นประโยชน์กับสัตว์การใช้สมุนไพรผงและการใช้น้ำหมักชีวภาพ ผสมน้ำ ให้สัตว์กิน เป็นการส่งเสริมสุขภาพให้กับสัตว์ สามารถป้องกันและรักษาโรค นอกจากนี้ยังมีการใช้สมุนไพร ในการฆ่าเชื้อและต้านทานเชื้อก่อโรค
6.การให้อาหารและน้ำ
1.หมูเล็ก น้ำหนัก 15-30 กก.ใช้ อาหารข้น:อาหารหมัก=2:1
2.หมูรุ่น น้ำหนัก 30-60 กก.ใช้ อาหารข้น:อาหารหมัก=1:1
3.หมูใหญ่ น้ำหนัก 60-ส่งตลาดใช้ อาหารข้น:อาหารหมัก=1:2
4.แม่พันธุ์ พ่อพันธุ์ ใช้ อาหารข้น:อาหารหมัก=1:2
ส่วนการให้น้ำ ให้ตามปกติ และควรมีถ้วยรองน้ำเพื่อไม่ให้แฉอะแฉะ
7. การให้ยาและการป้องกันโรค
1. ในการเสริมสร้างความแข็งแรงให้กับหมู ใช้น้ำหมักชีวภาพผสมน้ำให้หมูกิน แต่หากอาหารหรือน้ำไม่สะอาดพอ หมูอาจมีอาการท้องเสีย หรือขี้เหลวได้ (ซึ่งปกติไม่ค่อยเกิดบ่อยนัก) ต้องรักษาโดยนำใบฝรั่งสด ใบฟ้าทะลายโจรสด และเถาบอระเพ็ดเอาให้หมูกิน
2. ใช้ตาข่าย สำหรับกันยุงในเวลากลางคืน แต่หากเป็นพื้นที่ที่มีตัวริ้นชุกชุม ควรนำเอาตะไคร้หอมมาทุบแช่น้ำ แล้วฉีดพ่นให้หมูในช่วงหัวค่ำ
8. การดูแลหมูหลุม
1. ฉีดพ่นน้ำหมักชีวภาพที่พื้นคอกและตัวหมูทุก 7 วัน
2 .ทำความสะอาดบริเวณโรงเรือนทุกๆเดือน เติมขี้เถ้าแกลบ 1-2 กระสอบเดือนละครั้งต่อคอก
3. ตรวจสอบน้ำดื่มหมู เปลี่ยนที่เหลือสาดเข้าไปในคอกให้หญ้าสด,ผักสด ปริมาณ 1 ใน 3 ของอาหาร
Auteur:
-
4.2 Informations générales sur le calcul des intrants et des coûts
Spécifiez la manière dont les coûts et les intrants ont été calculés:
- par superficie de la Technologie
Indiquez la taille et l'unité de surface:
27ไร่
Si vous utilisez une unité de superficie locale, indiquez le facteur de conversion vers un hectare (p.ex. 1 ha = 2.47 acres): 1 ha = :
-
Indiquez le taux de change des USD en devise locale, le cas échéant (p.ex. 1 USD = 79.9 réal brésilien): 1 USD = :
32,0
Indiquez le coût salarial moyen de la main d'œuvre par jour:
300บาทต่อวัน
4.3 Activités de mise en place/ d'établissement
Activité | Calendrier des activités (saisonnier) | |
---|---|---|
1. | การจัดการเลี้ยงหมูหลุม | 2 ครั้งต่อปี |
2. | การจัดการมูลจากหมูหลุม | 2 ครั้งต่อปี |
4.4 Coûts et intrants nécessaires à la mise en place
Spécifiez les intrants | Unité | Quantité | Coûts par unité | Coût total par intrant | % des coût supporté par les exploitants des terres | |
---|---|---|---|---|---|---|
Main d'œuvre | 1.การจัดการเลี้ยงหมูหลุม | แรง | 210,0 | 300,0 | 63000,0 | 100,0 |
Main d'œuvre | 2.การจัดการอาหารหมูหลุม | แรง | 60,0 | 300,0 | 18000,0 | 100,0 |
Main d'œuvre | 3.การจัดการมูลหมูหลุม | แรง | 300,0 | 300,0 | 90000,0 | 100,0 |
Main d'œuvre | 4.การสร้างโรงเรือน | แรง | 120,0 | 300,0 | 36000,0 | 100,0 |
Matériaux de construction | 1.ค่าวัสดุการสร้างโรงเรือน | โรง | 1,0 | 84000,0 | 84000,0 | 100,0 |
Autre | 1.ค่าอาหารการเลี้ยงหมูหลุม | ตัว | 90,0 | 3800,0 | 342000,0 | 100,0 |
Autre | 2.ค่าพันธุ์ลูกสุกร | ตัว | 90,0 | 1500,0 | 135000,0 | 100,0 |
Coût total de mise en place de la Technologie | 768000,0 | |||||
Coût total de mise en place de la Technologie en dollars américains (USD) | 24000,0 |
Si le coût n'est pas pris en charge à 100% par l'exploitant des terres, indiquez qui a financé le coût restant:
-
Commentaires:
-
4.5 Activités d'entretien/ récurrentes
Activité | Calendrier/ fréquence | |
---|---|---|
1. | 1. การจัดการเลี้ยงหมูหลุม | 2 ครั้งต่อปี |
2. | 2. การจัดการอาหารหมูหลุม | 2 ครั้งต่อปี |
3. | 3. การจัดการมูลหมูหลุม | 2 ครั้งต่อปี |
Commentaires:
-
4.6 Coûts et intrants nécessaires aux activités d'entretien/ récurrentes (par an)
Spécifiez les intrants | Unité | Quantité | Coûts par unité | Coût total par intrant | % des coût supporté par les exploitants des terres | |
---|---|---|---|---|---|---|
Main d'œuvre | การจัดการเลี้ยงหมูหลุม | แรง | 210,0 | 300,0 | 63000,0 | 100,0 |
Main d'œuvre | การจัดกาอาหารรหมูหลุม | แรง | 60,0 | 300,0 | 18000,0 | 100,0 |
Main d'œuvre | การจัดการมูลหมูหลุม | แรง | 300,0 | 300,0 | 90000,0 | 100,0 |
Coût total d'entretien de la Technologie | 171000,0 | |||||
Coût total d'entretien de la Technologie en dollars américains (USD) | 5343,75 |
Si le coût n'est pas pris en charge à 100% par l'exploitant des terres, indiquez qui a financé le coût restant:
-
Commentaires:
-
4.7 Facteurs les plus importants affectant les coûts
Décrivez les facteurs les plus importants affectant les coûts :
ค่าแรง
5. Environnement naturel et humain
5.1 Climat
Précipitations annuelles
- < 250 mm
- 251-500 mm
- 501-750 mm
- 751-1000 mm
- 1001-1500 mm
- 1501-2000 mm
- 2001-3000 mm
- 3001-4000 mm
- > 4000 mm
Spécifiez la pluviométrie moyenne annuelle (si connue), en mm:
1210,00
Spécifications/ commentaires sur les précipitations:
อยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมทีพัดเวียนประจําฤดูกาล 2 ชนิด คือพัดจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือในฤดูหนาวเรียกว่าลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ อิทธิพลของลมนี้ทําให้ บริเวณจังหวัดราชบุรีมีอากาศหนาวเย็นและแห้งแล้ง กับมรสุมอีกชนิดหนึงคือมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึง พัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ในฤดูฝน ทําให้อากาศชุ่มชืนและมีฝนตกทัวไป
Indiquez le nom de la station météorologique de référence considérée:
-
Zone agro-climatique
- humide
-
5.2 Topographie
Pentes moyennes:
- plat (0-2 %)
- faible (3-5%)
- modéré (6-10%)
- onduleux (11-15%)
- vallonné (16-30%)
- raide (31-60%)
- très raide (>60%)
Reliefs:
- plateaux/ plaines
- crêtes
- flancs/ pentes de montagne
- flancs/ pentes de colline
- piémonts/ glacis (bas de pente)
- fonds de vallée/bas-fonds
Zones altitudinales:
- 0-100 m
- 101-500 m
- 501-1000 m
- 1001-1500 m
- 1501-2000 m
- 2001-2500 m
- 2501-3000 m
- 3001-4000 m
- > 4000 m
Indiquez si la Technologie est spécifiquement appliquée dans des:
- situations concaves
Commentaires et précisions supplémentaires sur la topographie:
ราชบุรีเป็นจังหวัดทีมีเทือกเขาใหญ่น้อยเป็ นอันมาก โดยเฉพาะทางด้านตะวันตก ของจังหวัดมีเทือกเขาตะนาวศรี เป็ นแนวยาวกันเขตแดนไทยกับพม่า ทางตอนกลางของจังหวัดมีทีราบลุ่ม แม่นํ าแม่กลอง ซึงเหมาะแก่การเพาะปลูก และทางด้านตะวันออกเฉียงใต้เป็ นทีราบตํา ซึงได้รับอิทธิพลจาก การหนุนเนืองของนําทะเล
5.3 Sols
Profondeur moyenne du sol:
- très superficiel (0-20 cm)
- superficiel (21-50 cm)
- modérément profond (51-80 cm)
- profond (81-120 cm)
- très profond (>120 cm)
Texture du sol (de la couche arable):
- moyen (limoneux)
Texture du sol (> 20 cm sous la surface):
- moyen (limoneux)
Matière organique de la couche arable:
- moyen (1-3%)
Si disponible, joignez une description complète du sol ou précisez les informations disponibles, par ex., type de sol, pH/ acidité du sol, capacité d'échange cationique, azote, salinité, etc.
-
5.4 Disponibilité et qualité de l'eau
Profondeur estimée de l’eau dans le sol:
> 50 m
Disponibilité de l’eau de surface:
bonne
Qualité de l’eau (non traitée):
uniquement pour usage agricole (irrigation)
La salinité de l'eau est-elle un problème? :
Non
La zone est-elle inondée?
Non
Commentaires et précisions supplémentaires sur la qualité et la quantité d'eau:
-
5.5 Biodiversité
Diversité des espèces:
- moyenne
Diversité des habitats:
- moyenne
Commentaires et précisions supplémentaires sur la biodiversité:
-
5.6 Caractéristiques des exploitants des terres appliquant la Technologie
Sédentaire ou nomade:
- Sédentaire
Orientation du système de production:
- commercial/ de marché
Revenus hors exploitation:
- moins de 10% de tous les revenus
Niveau relatif de richesse:
- riche
Individus ou groupes:
- individu/ ménage
- groupe/ communauté
Niveau de mécanisation:
- travail manuel
- mécanisé/ motorisé
Genre:
- hommes
Age des exploitants des terres:
- personnes d'âge moyen
Indiquez toute autre caractéristique pertinente des exploitants des terres:
-
5.7 Superficie moyenne des terres utilisées par les exploitants des terres appliquant la Technologie
- < 0,5 ha
- 0,5-1 ha
- 1-2 ha
- 2-5 ha
- 5-15 ha
- 15-50 ha
- 50-100 ha
- 100-500 ha
- 500-1 000 ha
- 1 000-10 000 ha
- > 10 000 ha
Cette superficie est-elle considérée comme de petite, moyenne ou grande dimension (en se référant au contexte local)?
- moyenne dimension
Commentaires:
-
5.8 Propriété foncière, droits d’utilisation des terres et de l'eau
Propriété foncière:
- individu, avec titre de propriété
Droits d’utilisation des terres:
- individuel
Droits d’utilisation de l’eau:
- individuel
Précisez:
-
Commentaires:
-
5.9 Accès aux services et aux infrastructures
santé:
- pauvre
- modéré
- bonne
éducation:
- pauvre
- modéré
- bonne
assistance technique:
- pauvre
- modéré
- bonne
emploi (par ex. hors exploitation):
- pauvre
- modéré
- bonne
marchés:
- pauvre
- modéré
- bonne
énergie:
- pauvre
- modéré
- bonne
routes et transports:
- pauvre
- modéré
- bonne
eau potable et assainissement:
- pauvre
- modéré
- bonne
services financiers:
- pauvre
- modéré
- bonne
Commentaires:
-
6. Impacts et conclusions
6.1 Impacts sur site que la Technologie a montrés
Impacts socio-économiques
Production
qualité des cultures
Commentaires/ spécifiez:
ดีขึ้นเนื่องจกกมีการใช่ปุ๋ยหมักจากมูลหมูหลุมที่มีคุณภาพ
production animale
Quantité après la GDT:
10%
Commentaires/ spécifiez:
ลดการตายของประชากรหมูหลุม
risque d'échec de la production
Commentaires/ spécifiez:
มีตลาดหลากหลาย
diversité des produits
Commentaires/ spécifiez:
มีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย
gestion des terres
Commentaires/ spécifiez:
แบ่งพื้นที่จัดการได้เหมาะสม
Disponibilité et qualité de l'eau
disponibilité de l'eau pour l'élevage
qualité de l'eau pour l'élevage
Revenus et coûts
revenus agricoles
diversité des sources de revenus
charge de travail
Commentaires/ spécifiez:
เอาใจใส่ในการผลิตมากขึ้น
Impacts socioculturels
sécurité alimentaire/ autosuffisance
Commentaires/ spécifiez:
สามารผลิตได้อย่างยั่งยืน
situation sanitaire
Commentaires/ spécifiez:
สุขภาพแข็งแรง
droits d'utilisation des terres/ de l'eau
Commentaires/ spécifiez:
มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มที่
apaisement des conflits
Commentaires/ spécifiez:
ทำให้ไม่มีกลิ่นเหม็นรบกวน
Impacts écologiques
Sols
cycle/ recharge des éléments nutritifs
Commentaires/ spécifiez:
มีการนำมูลสุกรไปใช้ในพื้นที่
salinité
Commentaires/ spécifiez:
ปรับปรุงดินด้วยมูลหมูหลุม
acidité
Commentaires/ spécifiez:
มีการใช้มูลหมูหลุมปรับปรุงดิน
Autres impacts écologiques
ลดกลิ่นเหม็นในชุมชน
Commentaires/ spécifiez:
ลดกลิ่นจากการเลี้ยงหมูหลุม
ไม่มีของเสียจากการเลี้ยงสัตว์
6.2 Impacts hors site que la Technologie a montrés
Précisez l'évaluation des impacts extérieurs (sous forme de mesures):
-
6.3 Exposition et sensibilité de la Technologie aux changements progressifs et aux évènements extrêmes/catastrophes liés au climat (telles que perçues par les exploitants des terres)
Changements climatiques progressifs
Changements climatiques progressifs
Saison | Augmentation ou diminution | Comment la Technologie fait-elle face à cela? | |
---|---|---|---|
températures annuelles | augmente | pas bien | |
températures saisonnières | augmente | pas bien |
Extrêmes climatiques (catastrophes)
Catastrophes biologiques
Comment la Technologie fait-elle face à cela? | |
---|---|
maladies épidémiques | pas bien du tout |
Commentaires:
ระบุสัตว์ตายมากขึ้น
6.4 Analyse coûts-bénéfices
Quels sont les bénéfices comparativement aux coûts de mise en place (du point de vue des exploitants des terres)?
Rentabilité à court terme:
positive
Rentabilité à long terme:
très positive
Quels sont les bénéfices comparativement aux coûts d'entretien récurrents (du point de vue des exploitants des terres)?
Rentabilité à court terme:
positive
Rentabilité à long terme:
très positive
Commentaires:
-
6.5 Adoption de la Technologie
- 1-10%
Si disponible, quantifiez (nombre de ménages et/ou superficie couverte):
จำนวนสมาชิกในกลุ่ม 15 ครัวเรือน
De tous ceux qui ont adopté la Technologie, combien d'entre eux l'ont fait spontanément, à savoir sans recevoir aucune incitation matérielle, ou aucune rémunération? :
- 0-10%
Commentaires:
-
6.6 Adaptation
La Technologie a-t-elle été récemment modifiée pour s'adapter à l'évolution des conditions?
Oui
Si oui, indiquez à quel changement la Technologie s'est adaptée:
- évolution des marchés
Spécifiez l'adaptation de la Technologie (conception, matériaux/ espèces, etc.):
-คัดเลือกพันธุ์หมูหลุมให้เหมาะสม
-ลดหรือกำจัดกลิ่นเหม็นในการเลี้ยงหมูหลุม
6.7 Points forts/ avantages/ possibilités de la Technologie
Points forts/ avantages/ possibilités du point de vue de l'exploitant des terres |
---|
1)มีวัสดุแลวัตถุดิบในพื้นที่ทำให้ช่วยลดต้นทุนการผลิต |
2)ได้ปุ๋ยที่เป็นประโยชน์สามารถนำไปเป็นธาตุอาหารให้กับพืชได้ |
3)ได้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย |
4)ไม่เป็นมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม ไม่มีกลิ่นรบกวนชุมชน |
5)สามารถเลี้ยงหมูหลุมในพื้นที่ชุมชนได้ |
6)เป็นอาชีพที่สามารถดำรงชีพได้อย่างยั่งยืน |
Points forts/ avantages/ possibilités du point de vue du compilateur ou d'une autre personne ressource clé |
---|
1)มีพื้นที่ที่เหมาะสมกับการใช้เทคโนโลยี |
2)ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินมีความรู้ความสามารถเป็นอย่างดี |
3)มีการปรับให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในชุมชน |
4)เป็นบุคคลที่น่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับในสังคมและชุมชน |
6.8 Faiblesses/ inconvénients/ risques de la Technologie et moyens de les surmonter
Faiblesses/ inconvénients/ risques du point de vue de l’exploitant des terres | Comment peuvent-ils être surmontés? |
---|---|
1.กระบวนการและการเลี้ยงหมูหลุมใช้เวลามากกว่าปกติ | 1ควรวิจัยหาเทคนิคและวิธีการตลอดจนเทคโนโลยีเข้ามาช่วย |
2) ผลิตภัณฑ์จากหมูหลุมยังไม่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย | 2เสนอให้ทั้งภาครัฐและผู้ที่เกี่ยวข้องเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น |
3)ยังไม่มีการกำนดมาตรฐานการเลี้ยงหมูหลุม จากภาครัฐ | 3.ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรพิจารณากำหนดให้มีมาตรฐาน การเลี้ยงหมูหลุมเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ |
4)การเลี้ยงหมูหลุม ต้องมีพื้นที่ปลูกพืชอาหารเพื่อเป็นวัตถุดิบอาหารให้หมูที่ปลอดภัย | 4ให้พิจารณาดำเนินการแบบกล่มและ/หรือชุมชนมีส่วนร่วม |
Faiblesses/ inconvénients/ risques du point de vue du compilateur ou d'une autre personne ressource clé | Comment peuvent-ils être surmontés? |
---|---|
- |
7. Références et liens
7.1 Méthodes/ sources d'information
7.2 Références des publications disponibles
Titre, auteur, année, ISBN:
-
Disponible à partir d'où? Coût?
-
7.3 Liens vers les informations pertinentes en ligne
Titre/ description:
-
URL:
-
7.4 Observations d'ordre général
-
Liens et modules
Développer tout Réduire toutLiens
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม (Zero Waste Pig Farm Technology Transfer Center) [Thaïlande]
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงหมูหลุม เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดความรู้เรื่องการเลี้ยงหมูหลุม จากเกษตรกรผู้ประสบความสำเร็จไปยังเกษตรกรและผู้สนใจ รวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายผู้เลี้ยงหมูหลุมให้เป็นเวทีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน
- Compilateur : Kukiat SOITONG
Modules
Aucun module trouvé