Integrated land management in high landscape of small scale farm [ไทย]
- ผู้สร้างสรรค์:
- การอัพเดท:
- ผู้รวบรวม: Pitayakon Limtong
- ผู้เรียบเรียง: –
- ผู้ตรวจสอบ: Rima Mekdaschi Studer, William Critchley
Khok Nong Na Model (mound reservoir paddy model)
technologies_4115 - ไทย
ดูส่วนย่อย
ขยายทั้งหมด ย่อทั้งหมด1. ข้อมูลทั่วไป
1.2 รายละเอียดที่ติดต่อได้ของผู้รวบรวมและองค์กรที่เกี่ยวข้องในการประเมินและการจัดเตรียมทำเอกสารของเทคโนโลยี
วิทยากรหลัก
ผู้เชี่ยวชาญ SLM:
Lertditsayawan เลิศดิษยวรรณ Ms.Somjit
668 9807 4024
ktb.somjit@gmail.com
Land Development Department
125/30 ซอยวัดดงมูลเหล็ก แขวงบ้านช่างหล่อ, บางกอกน้อย Bangkok 10700, Thailand
ไทย
SLM Consultant:
ผู้ใช้ที่ดิน:
แหลมคม Mr.Boonma
ุุ668 5718 5067
village Headman
6/1 หมู่ที่1 ต.บ้านทับ, แม่แจ่ม เชียงใหม่ 50270
ไทย
ผู้ใช้ที่ดิน:
Suwanno Mr.Teerasak
668 2887 8462
Assistant village Headman
6 หมู่ที่1 ต.บ้านทับ, แม่แจ่ม, เชียงใหม่ 50270
ไทย
1.3 เงื่อนไขการใช้ข้อมูลที่ได้บันทึกผ่านทาง WOCAT
วันที่เก็บรวบรวมข้อมูล(ภาคสนาม) :
12/09/2018
ผู้รวบรวมและวิทยากรหลักยอมรับเงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลที่ถูกบันทึกผ่านทาง WOCAT:
ใช่
1.4 การเปิดเผยเรื่องความยั่งยืนของเทคโนโลยีที่ได้อธิบายไว้
เทคโนโลยีที่ได้อธิบายไว้นี้เป็นปัญหาของความเสื่อมโทรมโทรมของที่ดินหรือไม่ จึงไม่ได้รับการยอมรับว่าเป็นเทคโนโลยีเพื่อการจัดการที่ดินอย่างยั่งยืน:
ไม่ใช่
2. การอธิบายลักษณะของเทคโนโลยี SLM
2.1 การอธิบายแบบสั้น ๆ ของเทคโนโลยี
คำจำกัดความของเทคโนโลยี:
ระบบการจัดการน้ำบนพื้นที่สูงด้วยศาสตร์พระราชาร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นแนวทางปฏิบัติในพื้นที่สูง ใช้การ “เปลี่ยนเขาหัวโล้น เป็นเขาหัวจุก”
2.3 รูปภาพของเทคโนโลยี
คำอธิบายภาพ:
คันดินที่มีแถบหญ้าแฝกปลูกขึ้นเป็นแนว ปลูกพืชอาหารและกล้วยตามคันดิน บริเวณที่ราบริมน้ำ มีการขุดบ่อเก็บกักน้ำ ปลูกไม้ผล ไม้ป่า และเลี้ยงวัวในคอก ฝั่งตรงข้ามปลูกข้าวไร่ ฟักทอง กล้วย ข้าวโพด ด้านตะวันออกปลูกผักหวานป่า และกันพื้นที่ไว้ปลูกป่าด้วย ส่วนที่เป็นนาขั้นบันไดดินสำหรับปลูกข้าว มีการห่มดินด้วยฟางข้าวหลังเก็บเกี่ยว ปลูกได้ปีละครั้ง
2.4 วีดีโอของเทคโนโลยี
วันที่:
12/09/2018
สถานที่:
ตำบลบ้านทับ
ชื่อผู้ถ่ายวีดีโอ:
Ms.Tanomkhaw Thipwong
2.5 ประเทศภูมิภาค หรือสถานที่ตั้งที่เทคโนโลยีได้นำไปใช้และได้รับการครอบคลุมโดยการประเมินนี้
ประเทศ:
ไทย
ภูมิภาค/รัฐ/จังหวัด:
เชียงใหม่
ข้อมูลจำเพาะเพิ่มเติมของสถานที่ตั้ง :
ตำบลบ้านทับ อำเภอแม่แจ่ม
แสดงความคิดเห็น:
นายบุญมา แหลมคม
Map
×2.6 วันที่การดำเนินการ
ระบุปีที่ใช้:
2006
ถ้าไม่รู้ปีที่แน่นอน ให้ระบุวันที่โดยประมาณ:
- 10-50 ปี
2.7 คำแนะนำของเทคโนโลยี
ให้ระบุว่าเทคโนโลยีถูกแนะนำเข้ามาอย่างไร:
- ทางโครงการหรือจากภายนอก
ความคิดเห็น (ประเภทของโครงการ เป็นต้น) :
เป็นโครงการเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง หมอกควันที่เกิดจากการเผาทำลายซากข้าวโพด
และบุกรุกป่าเพื่อใช้พื้นที่ทำกิน
3. การจัดประเภทของเทคโนโลยี SLM
3.1 วัตถุประสงค์หลักของเทคโนโลยี
- ลด ป้องกัน ฟื้นฟู การเสื่อมโทรมของที่ดิน
- อนุรักษ์ระบบนิเวศน์
- ลดความเสี่ยงของภัยพิบัติ
- สร้างผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจที่เป็นประโยชน์
3.2 ประเภทของการใช้ที่ดินในปัจจุบันที่ได้นำเทคโนโลยีไปใช้
การใช้ที่ดินแบบผสมผสาน (รวมถึงวนเกษตร)
- การปลูกพืชร่วมกับปศุสัตว์และการทำป่าไม้ (Agro-silvopastoralism)
ทางน้ำ แหล่งน้ำ พื้นที่ชุ่มน้ำ
- ทางระบายน้ำ ทางน้ำ
- บ่อน้ำ เขื่อน
- หนองบึง พื้นที่ชุ่มน้ำ
- แท็งค์น้ำ
ผลิตภัณฑ์หลักหรือบริการ:
บ่อน้ำใหญ่ บ่อน้ำรอง หนอง ฝายชะลอน้ำ ทางระบายน้ำ(คลองไส้ไก่) และแท็งค์น้ำ สำหรับเก็บกักน้ำไว้ในหน้าแล้ง
ถ้าการใช้ที่ดินมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องมาจากการนำเทคโนโลยีไปปฏิบัติใช้ ให้ระบุการใช้ที่ดินก่อนนำเทคโนโลยีไปปฏิบัติใช้:
Ca: การปลูกพืชล้มลุก(Annual cropping)
3.3 ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้ที่ดิน
การใช้น้ำของที่ดินที่มีการใช้เทคโนโลยีอยู่:
- จากน้ำฝน
แสดงความคิดเห็น:
-
จำนวนของฤดูเพาะปลูกต่อปี:
- 1
ระบุ:
นาน้ำฝน และไม้ผล
ความหนาแน่นของปศุสัตว์ (ถ้าเกี่ยวข้อง):
เลี้ยงวัวในพื้นที่ จำนวน 8 ตัว มีแปลงหญ้าเนเปียร์ใกล้กับร่องลำธาร เลี้ยงโดยการล้อมคอก
3.4 กลุ่ม SLM ที่ตรงกับเทคโนโลยีนี้
- การปลูกป่าร่วมกับพืช
- การเก็บเกี่ยวน้ำ
- การจัดการด้านชลประทาน (รวมถึงการลำเลียงส่งน้ำ การระบายน้ำ)
3.5 กระจายตัวของเทคโนโลยี
ระบุการกระจายตัวของเทคโนโลยี:
- กระจายไปอย่างสม่ำเสมอในพื้นที่
ถ้าหากว่าเทคโนโลยีได้มีการกระจายออกไปอย่างสม่ำเสมอในพื้นที่ ให้ระบุปริมาณพื้นที่ที่ได้รับการครอบคลุมถึง:
- > 10,000 ตร.กม.
แสดงความคิดเห็น:
มากกว่าพื้นที่อำเภอแม่แจ่ม (2,686.571 ตร.กม.)
3.6 มาตรการ SLM ที่ประกอบกันเป็นเทคโนโลยี
มาตรการจัดการพืช
- A1: พืช/สิ่งปกคลุมดิน
มาตรการอนุรักษ์ด้วยวิธีพืช
- V2: หญ้าและไม้ยืนต้น
มาตรการอนุรักษ์ด้วยโครงสร้าง
- S1: คันดิน
- S3: Graded ditches, channels, waterways
- S4: คูน้ำแนวระดับ หลุม
3.7 รูปแบบหลักของการเสื่อมโทรมของที่ดินที่ได้รับการแก้ไขโดยเทคโนโลยี
การเสื่อมโทรมของดินทางด้านเคมี
- Cn (Fertility decline): ความอุดมสมบูรณ์และปริมาณอินทรียวัตถุในดินถูกทำให้ลดลงไป (ไม่ได้เกิดจากสาเหตุการกัดกร่อน)
- Cp (Soil pollution): มลพิษในดิน
แสดงความคิดเห็น:
เกิดจากการกระทำโดยมนุษย์ เช่นการใช้ปุ๋ยเคมี สารป้องกันกำจัดโรคแมลง และสารกำจัดวัชพืช ทั้งในพื้นที่และบริเวณต้นน้ำ
3.8 การป้องกัน การลดลง หรือการฟื้นฟูความเสื่อมโทรมของที่ดิน
ระบุเป้าหมายของเทคโนโลยีกับความเสื่อมโทรมของที่ดิน:
- ลดความเสื่อมโทรมของดิน
- ฟื้นฟูบำบัดที่ดินที่เสื่อมโทรมลงอย่างมาก
4. ข้อมูลจำเพาะด้านเทคนิค กิจกรรมการนำไปปฏิบัติใช้ ปัจจัยนำเข้า และค่าใช้จ่าย
4.1 แบบแปลนทางเทคนิคของเทคโนโลยี
4.2 ข้อมูลจำเพาะด้านเทคนิคและการอธิบายแบบแปลนทางเทคนิค
เนื่องจากเป็นพื้นที่ภูเขาสูง ความชันมากกว่า 35 % ทำการขุดบ่อเพื่อเก็บกักน้ำ โดยบ่อน้ำใหญ่ กว้าง 3 เมตร ลึก 3 เมตร และยาว 20 เมตร อยู่ที่พื้นราบด้านล่าง และขุดบ่อขั้นบันได อีก 2 บ่อ กว้าง 1 เมตร ลึก 0.7 เมตร และยาว 20 เมตรไว้ในแนวระดับ สร้างแท็งค์น้ำขนาด 20,000 ลิตรไว้ด้านบนสุด แล้วสูบน้ำจากบ่อน้ำใหญ่ขึ้นไปเก็บไว้ที่แท็งค์น้ำด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ และปล่อยลงในคลองไส้ไก่กว้าง 0.2-0.5 เมตรซึ่งขุดลัดเลาะเข้าไปในพื้นที่และลดหลั่นตามแนวระดับลงมาให้ทั่วพื้นที่ เพื่อกระจายน้ำและความชุ่มชื้นให้แก่พืชผัก สวนครัว นา ไม้ป่าและไม้ผลที่ปลูกไว้ มีการกั้นฝายกระสอบทรายจำนวน 6 ฝายไว้ที่ร่องเขาทั้งด้าน เพื่อชะลอและเก็บกักน้ำ ยังมีการเก็บน้ำไว้ในนาขั้นบันไดอีกโดยการยกคันนาให้สูง แต่ก็ทำได้แค่ 0.3 เมตร สามารถปลูกข้าวได้ปีละครั้ง ขอบคันดินและคันนาปลูกกล้วย แฝก พืชผัก พืชสวนครัวต่างๆ ด้านล่างมีการเลี้ยววัวโดยการล้อมคอก กั้นพื้นที่บางส่วนสำหรับปลูกป่า บางส่วนปลูกไม้ผลผสมกับไม้ป่า มีการปลูกพืชคลุมดิน หรือปล่อยหญ้าคลุมดินไว้ หรือทำการห่มดินด้วยฟางข้าวหรือเศษพืชอื่นๆ เพื่อป้องกันไม่ให้ดินโดนแสงแดดโดยตรงและรักษาความชื้นในดิน ด้านบนเป็นส่วนของการเลี้ยงไก่ ปลา ปลูกผัก เพาะเห็ด สำหรับไว้เป็นอาหารเพื่อยังชีพและแจกจ่ายกันในชุมชน
4.3 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการคำนวณปัจจัยนำเข้าและค่าใช้จ่าย
ให้ระบุว่าค่าใช้จ่ายและปัจจัยนำเข้าได้รับการคำนวณอย่างไร:
- ต่อพื้นที่ที่ใช้เทคโนโลยี
ระบุขนาดและหน่วยพื้นที่:
(25 ไร่)
ถ้าใช้หน่วยพื้นที่ตามท้องถิ่น ให้ระบุตัวแปลงค่า เช่น 1 เฮกตาร์ :
4 เฮกตาร์
อื่นๆ หรือสกุลเงินประจำชาติ (ระบุ):
บาท
ระบุอัตราแลกเปลี่ยนจากดอลลาร์สหรัฐเป็นสกุลเงินท้องถิ่น (ถ้าเกี่ยวข้อง) คือ 1 เหรียญสหรัฐ =:
32.0
ระบุค่าเฉลี่ยของค่าจ้างในการจ้างแรงงานต่อวัน:
300
4.4 กิจกรรมเพื่อการจัดตั้ง
กิจกรรม | ประเภทของมาตรการ | ช่วงเวลาดำเนินการ | |
---|---|---|---|
1. | ขุดบ่อน้ำใหญ่ บ่อน้ำขั้นบันได และนาขั้นบันได | ด้วยโครงสร้าง | |
2. | ขุดคลองไส้ไก่ | ด้วยโครงสร้าง | |
3. | ปลูกแฝกและพืชคลุมดิน | ด้วยวิธีพืช | |
4. | ปลูกพืชผัก ไม้ป่า และไม้ผล | จัดการพืช | |
5. | ทำฝายชะลอน้ำเพิ่มการกักเก็บน้ำ | ด้วยโครงสร้าง | |
6. | สร้างแท็งค์น้ำ เพื่อเก็บน้ำไว้ใช้ในช่วงแล้ง | ด้วยโครงสร้าง |
4.5 ค่าใช้จ่ายของปัจจัยนำเข้าที่จำเป็นสำหรับการจัดตั้ง
ปัจจัยนำเข้า | หน่วย | ปริมาณ | ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย | ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อปัจจัยนำเข้า | %ของค่าใช้จ่ายที่ก่อให้เกิดขึ้นโดยผู้ใช้ที่ดิน | |
---|---|---|---|---|---|---|
แรงงาน | แรงงาน 5 คน / 4 วัน ทำโครงสร้างหลัก คันดิน คูรับน้ำ | แรง | 20.0 | 300.0 | 6000.0 | |
อุปกรณ์ | แมคโคร 1 คัน ค่าเช่ารวมน้ำมัน | วัน | 4.0 | 5450.0 | 21800.0 | 100.0 |
วัสดุด้านพืช | ได้จากแหล่งสนับสนุน | - | ||||
วัสดุสำหรับก่อสร้าง | ฝายชะลอน้ำ (100กระสอบ/ฝาย) | กระสอบ | 600.0 | 4.0 | 2400.0 | |
วัสดุสำหรับก่อสร้าง | ค่าแรงงาน | แรง | 42.0 | 300.0 | 12600.0 | |
อื่น ๆ | วัสดุสร้างแท็งค์น้ำ 20,000 ลิตร | แท็งค์ | 1.0 | 8600.0 | 8600.0 | 100.0 |
อื่น ๆ | ค่าแรงงาน | แรง | 147.0 | 300.0 | 44100.0 | |
ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของการจัดตั้งเทคโนโลยี | 95500.0 |
ถ้าผู้ใช้ที่ดินรับภาระน้อยกว่า 100% ของค่าใช้จ่าย ให้ระบุว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบส่วนที่เหลือ:
น้อยกว่า 10 % ส่วนใหญ่กรมป่าไม้เป็นผู้รับผิดชอบ 90 %
แสดงความคิดเห็น:
-
4.6 การบำรุงรักษาสภาพหรือกิจกรรมที่เกิดขึ้นเป็นประจำ
แสดงความคิดเห็น:
ยังเป็นช่วงเริ่มการจัดตั้ง และดูแลโดยเจ้าของที่ดินเป็นหลัก และเสริมแรงงานจากการหมุนเวียนคนมาจากโครงการ "เอามื้อสามัคคี"
4.7 ค่าใช้จ่ายของปัจจัยนำเข้าและกิจกรรมที่เกิดขึ้นเป็นประจำที่ต้องการการบำรุงรักษา (ต่อปี)
ถ้าผู้ใช้ที่ดินรับภาระน้อยกว่า 100% ของค่าใช้จ่าย ให้ระบุว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบส่วนที่เหลือ:
-
แสดงความคิดเห็น:
-
4.8 ปัจจัยสำคัญที่สุดที่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่าย
ปัจจัยสำคัญที่สุดที่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายต่างๆ:
-
5. สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและของมนุษย์
5.1 ภูมิอากาศ
ฝนประจำปี
- < 250 ม.ม.
- 251-500 ม.ม.
- 501-750 ม.ม.
- 751-1,000 ม.ม.
- 1,001-1,500 ม.ม.
- 1,501-2,000 ม.ม.
- 2,001-3,000 ม.ม.
- 3,001-4,000 ม.ม.
- > 4,000 ม.ม.
ระบุปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรายปี (ถ้ารู้) :หน่วย ม.ม.
1370.00
ข้อมูลจำเพาะ/ความคิดเห็นเรื่องปริมาณน้ำฝน:
ความยาวของช่วงฝนแล้ง ประมาณ 2 เดือน มีนาคมและเมษายน
ระบุชื่อของสถานีตรวดวัดอากาศที่ใช้อ้างอิงคือ:
-
เขตภูมิอากาศเกษตร
- กึ่งชุ่มชื้น
-
5.2 สภาพภูมิประเทศ
ค่าเฉลี่ยความลาดชัน:
- ราบเรียบ (0-2%)
- ลาดที่ไม่ชัน (3-5%)
- ปานกลาง (6-10%)
- เป็นลูกคลื่น (11-15%)
- เป็นเนิน (16-30%)
- ชัน (31-60%)
- ชันมาก (>60%)
ธรณีสัณฐาน:
- ที่ราบสูง/ที่ราบ
- สันเขา
- ไหล่เขา
- ไหล่เนินเขา
- ตีนเนิน
- หุบเขา
ระดับความสูง:
- 0-100 เมตร
- 101-500 เมตร
- 501-1,000 เมตร
- 1,001-1,500 เมตร
- 1,501-2,000 เมตร
- 2,001-2,500 เมตร
- 2,501-3,000 เมตร
- 3,001-4,000 เมตร
- > 4,000 เมตร
5.3 ดิน
ค่าเฉลี่ยความลึกของดิน:
- ตื้นมาก (0-20 ซ.ม.)
- ตื้น (21-50 ซ.ม.)
- ลึกปานกลาง (51-80 ซ.ม.)
- ลึก (81-120 ซ.ม.)
- ลึกมาก (>120 ซ.ม.)
เนื้อดิน (ดินชั้นบน):
- ปานกลาง (ดินร่วน ทรายแป้ง)
เนื้อดินล่าง (> 20 ซ.ม.ต่ำจากผิวดิน):
- ปานกลาง (ดินร่วน ทรายแป้ง)
อินทรียวัตถุในดิน:
- ต่ำ (<1%)
(ถ้ามี) ให้แนบคำอธิบายเรื่องดินแบบเต็มหรือระบุข้อมูลที่มีอยู่ เช่น ชนิดของดิน ค่า pH ของดินหรือความเป็นกรดของดิน ความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวก ไนโตรเจน ความเค็ม เป็นต้น:
-
5.4 ความเป็นประโยชน์และคุณภาพของน้ำ
ระดับน้ำใต้ดิน:
5-50 เมตร
น้ำไหลบ่าที่ผิวดิน:
ปานกลาง
คุณภาพน้ำ (ที่ยังไม่ได้บำบัด):
เป็นน้ำใช้เพื่อการเกษตรเท่านั้น (การชลประทาน)
ความเค็มของน้ำเป็นปัญหาหรือไม่:
ไม่ใช่
กำลังเกิดน้ำท่วมในพื้นที่หรือไม่:
ไม่ใช่
ความคิดเห็นและข้อมูลจำเพาะเพิ่มเติมเรื่องคุณภาพและปริมาณน้ำ:
-
5.5 ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์:
- ปานกลาง
ความหลากหลายของแหล่งที่อยู่:
- ปานกลาง
ความคิดเห็นและข้อมูลจำเพาะเพิ่มเติมของความหลากหลายทางชีวภาพ:
-
5.6 ลักษณะของผู้ใช้ที่ดินที่นำเทคโนโลยีไปปฏิบัติใช้
อยู่กับที่หรือเร่ร่อน:
- อยู่กับที่
แนวทางการตลาดของระบบการผลิต:
- เพื่อการยังชีพ (หาเลี้ยงตนเอง)
รายได้ที่มาจากนอกฟาร์ม:
- > 50% ของรายได้ทั้งหมด
ระดับของความมั่งคั่งโดยเปรียบเทียบ:
- จน
- พอมีพอกิน
เป็นรายบุคคล/ครัวเรือน:
- เป็นรายบุคคล/ครัวเรือน
- กลุ่ม/ชุมชน
ระดับของการใช้เครื่องจักรกล:
- งานที่ใช้แรงกาย
เพศ:
- หญิง
- ชาย
อายุของผู้ใช้ที่ดิน:
- วัยกลางคน
- ผู้สูงอายุ
ระบุลักษณะอื่นๆที่เกี่ยวข้องของผู้ใช้ที่ดิน:
เป็นบุคคลที่มีหนี้สินเป็นหลักแสนและมีความต้องการปลดหนี้ให้หมดไป ต้องการฟื้นคืนผืนป่าให้กลับสู่ธรรมชาติดั้งเดิม และรักษาสภาพแวดล้อมให้ดีขึ้น เพื่อให้ลูกหลานสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ในอนาคต มีการร่วมกลุ่มช่วยกันทำงาน แบ่งเป็น 4 กลุ่มๆละ 5-6 คน หมุนเวียนแรงงานซึ่งกันและกัน สัปดาห์ละ 2 วัน
5.7 พื้นที่เฉลี่ยของที่ดินที่เป็นเจ้าของหรือเช่าโดยผู้ใช้ที่ดินที่นำเทคโนโลยีไปปฏิบัติใช้
- < 0.5 เฮกตาร์
- 0.5-1 เฮกตาร์
- 1-2 เฮกตาร์
- 2-5 เฮกตาร์
- 5-15 เฮกตาร์
- 15-50 เฮกตาร์
- 50-100 เฮกตาร์
- 100-500 เฮกตาร์
- 500-1,000 เฮกตาร์
- 1,000-10,000 เฮกตาร์
- >10,000 เฮกตาร์
พิจารณาว่าเป็นขนาดเล็ก กลาง หรือขนาดใหญ่ (ซึ่งอ้างอิงถึงบริบทระดับท้องถิ่น):
- ขนาดใหญ่
แสดงความคิดเห็น:
-
5.8 กรรมสิทธิ์ในที่ดิน สิทธิในการใช้ที่ดินและสิทธิในการใช้น้ำ
กรรมสิทธิ์ในที่ดิน:
- รายบุคคล ไม่ได้รับสิทธิครอบครอง
สิทธิในการใช้ที่ดิน:
- เข้าถึงได้แบบเปิด (ไม่ได้จัดระเบียบ)
- เกี่ยวกับชุมชน (ถูกจัดระเบียบ)
สิทธิในการใช้น้ำ:
- เข้าถึงได้แบบเปิด (ไม่ได้จัดระเบียบ)
- เกี่ยวกับชุมชน (ถูกจัดระเบียบ)
แสดงความคิดเห็น:
-
5.9 การเข้าถึงบริการและโครงสร้างพื้นฐาน
สุขภาพ:
- จน
- ปานกลาง
- ดี
การศึกษา:
- จน
- ปานกลาง
- ดี
ความช่วยเหลือทางด้านเทคนิค:
- จน
- ปานกลาง
- ดี
การจ้างงาน (เช่น ภายนอกฟาร์ม):
- จน
- ปานกลาง
- ดี
ตลาด:
- จน
- ปานกลาง
- ดี
พลังงาน:
- จน
- ปานกลาง
- ดี
ถนนและการขนส่ง:
- จน
- ปานกลาง
- ดี
น้ำดื่มและการสุขาภิบาล:
- จน
- ปานกลาง
- ดี
บริการด้านการเงิน:
- จน
- ปานกลาง
- ดี
6. ผลกระทบและสรุปคำบอกกล่าว
6.1 ผลกระทบในพื้นที่ดำเนินการ (On-site) จากการใช้เทคโนโลยี
ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
ความเป็นประโยชน์และคุณภาพของน้ำ
การมีน้ำไว้ให้สำหรับการชลประทาน
คุณภาพน้ำสำหรับการชลประทาน
รายได้และค่าใช้จ่าย
ค่าใช่จ่ายของปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
รายได้จากฟาร์ม
ภาระงาน
ผลกระทบด้านสังคมวัฒนธรรมอื่น ๆ
ความมั่นคงด้านอาหาร / พึ่งตนเองได้
การใช้ที่ดิน / สิทธิในการใช้น้ำ
ผลกระทบด้านนิเวศวิทยา
วัฐจักรน้ำหรือน้ำบ่า
ปริมาณน้ำ
คุณภาพน้ำ
ดิน
ความชื้นในดิน
สิ่งปกคลุมดิน
การอัดแน่นของดิน
อินทรียวัตถุในดิน/ต่ำกว่าดินชั้น C
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและสัตว์
การปกคลุมด้วยพืช
มวลชีวภาพ/เหนือดินชั้น C
ชนิดพันธุ์ที่ให้ประโยชน์
การจัดการศัตรูพืชและโรคพืช
ลดความเสี่ยงของภัยพิบัติ
ผลกระทบจากภัยแล้ง
ความเสี่ยงจากไฟ
6.2 ผลกระทบนอกพื้นที่ดำเนินการ (Off-site) จากการใช้เทคโนโลยี
การทับถมของดินตะกอนพื้นที่ท้ายน้ำ
การเกิดมลพิษในน้ำบาดาลหรือแม่น้ำ
6.3 การเผชิญและความตอบสนองของเทคโนโลยีต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ค่อยเป็นค่อยไป และสภาพรุนแรงของภูมิอากาศ / ภัยพิบัติ (ที่รับรู้ได้โดยผู้ใช้ที่ดิน)
สภาพรุนแรงของภูมิอากาศ (ภัยพิบัติ)
ภัยพิบัติจากสภาพภูมิอากาศ
เทคโนโลยีมีวิธีการรับมืออย่างไร | |
---|---|
ภัยจากฝนแล้ง | ดี |
แสดงความคิดเห็น:
-
6.4 การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและผลประโยชน์ที่ได้รับ
ผลประโยชน์ที่ได้รับเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งเป็นอย่างไร (จากมุมมองของผู้ใช้ที่ดิน)
ผลตอบแทนระยะสั้น:
เป็นกลางหรือสมดุล
ผลตอบแทนระยะยาว:
ด้านบวกอย่างมาก
แสดงความคิดเห็น:
-
6.5 การปรับตัวของเทคโนโลยี
- 10-50%
ถ้ามีข้อมูลให้บอกปริมาณด้วย (จำนวนของครัวเรือนหรือครอบคลุมพื้นที่):
จำนวน 21 ครัวเรือน
จากทั้งหมดที่ได้รับเทคโนโลยีเข้ามามีจำนวนเท่าใดที่ทำแบบทันที โดยไม่ได้รับการจูงใจด้านวัสดุหรือการเงินใด ๆ:
- 0-10%
แสดงความคิดเห็น:
ครั้งแรกมี 32 ครัวเรือน แล้วก็กลับไปปลูกข้าวโพดเหมือนเดิม เหลือ 13 ครัวเรือน เพราะไม่มีแรงสนับสนุนจากทางการที่ชัดเจน และหันกลับรวมกลุ่มมาอีกครั้งเพราะไม่สามารถแก้ปัญหาทั้งหมดได้โดยเฉพาะเรื่องหนี้สิน ปัจจุบันมีทั้งหมด 21 ครัวเรือน
6.6 การปรับตัว
เทคโนโลยีได้รับการปรับเปลี่ยนเมื่อเร็วๆนี้ เพื่อให้ปรับตัวเข้ากับสภาพที่กำลังเปลี่ยนแปลงหรือไม่:
ไม่ใช่
6.7 จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบ / โอกาสของเทคโนโลยี
จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบ / โอกาสในทัศนคติของผู้ใช้ที่ดิน |
---|
ทรัพยากรดินและน้ำดีขึ้น มีความอุดมสมบูรณ์ การจัดการดินง่ายขึ้น ปลูกอะไรก็ได้กินได้ขาย ผลผลิตดีขึ้น |
พึ่งพาตนเองได้ ไม่พี่งสารเคมี |
สุขภาพอนามัยดีขึ้น อาหารสะอาดปลอดภัย อากาศบริสุทธิ์ |
สร้างเครือข่ายชุมชนที่เข้มแข็ง เกิดความสามัคคี มีการเอาแรงกัน มีกฎระเบียบชุมชนและสามารถยึดถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด |
จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบ / โอกาสในทัศนคติของผู้รวบรวมหรือวิทยากรหลัก |
---|
- |
- |
- |
6.8 จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบ / ความเสี่ยงของเทคโนโลยีและวิธีการแก้ไข
จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบ / ความเสี่ยงในทัศนคติของผู้ใช้ที่ดิน | มีวิธีการแก้ไขได้อย่างไร |
---|---|
มีภาระงานมากขึ้น เพราะต้องทำงานหลายอย่างในทุกๆวัน เช่น รดน้ำ ปลูกผัก เลี้ยงวัว ตัดหญ้า หาอาหารของคนและสัตว์ เป็นต้น |
- |
มีความแตกต่างกันด้านความคิด | ต้องใช้กฎระเบียบ หรือแนวทางของกลุ่มฯเป็นหลัก |
ปัจจุบันยังไม่มีรายได้เป็นตัวเงิน แต่มีกิน สามารถเก็บกินได้จากของที่ปลูก สัตว์ที่เลี้ยงไว้ และแบ่งปันกันระหว่างครัวเรือน |
ไม่มีรายได้แต่ก็ไม่มีค่าใช้จ่าย แลกเปลี่ยนแจกจ่ายกันในกลุ่ม |
ไม่มีกรรมสิทธิในที่ดิน | อยากให้หน่วยงานของรัฐเข้ามาช่วยในการปลดหนี้ พร้อมที่จะคืนและดูแลผืนป่าให้เป็นการตอบแทน |
อยากมีรายได้จากการปลูกป่า โดยคิดคำนวณจากคาร์บอนเครดิต ซึ่งน่าจะคิดเป็นค่าตอบแทนบ้าง เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้ด้วย | ปัจจุบันรายได้หลักมาจากการทอผ้าตีนจกของแม่บ้าน |
จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบ / ความเสี่ยงในทัศนคติของผู้รวบรวมหรือวิทยากรหลัก | มีวิธีการแก้ไขได้อย่างไร |
---|---|
- | - |
- | - |
- | - |
7. การอ้างอิงและการเชื่อมต่อ
7.1 วิธีการและแหล่งข้อมูล
- การสัมภาษณ์กับผู้ใช้ที่ดิน
2คน
- การเก็บรวบรวมมาจากรายงานและเอกสารที่มีอยู่
-
7.3 เชื่อมโยงกับข้อมูลที่มีอยู่บนออนไลน์
ชื่อเรื่องหรือคำอธิบาย:
คนเปลี่ยนโลก SS4 TAPE 28 : แม่แจ่มโมเดลพลัส (9 ก.ค. 61) 1/3
URL:
https://www.youtube.com/watch?v=k7Bex9ku_qY&feature=youtu.be
ชื่อเรื่องหรือคำอธิบาย:
คนเปลี่ยนโลก SS4 TAPE 28 : แม่แจ่มโมเดลพลัส (9 ก.ค. 61) 2/3
URL:
https://www.youtube.com/watch?v=RwY01nOLVvs&feature=youtu.be
ชื่อเรื่องหรือคำอธิบาย:
คนเปลี่ยนโลก SS4 TAPE 28 : แม่แจ่มโมเดลพลัส (9 ก.ค. 61) 3/3
URL:
https://www.youtube.com/watch?v=doiZ8r6Bo9I&feature=youtu.be
ชื่อเรื่องหรือคำอธิบาย:
ภาพ 3 มิติ แสดงภูมิประเทศ บ้านสองธาร อำเภอแม่แจ่ม
URL:
https://www.youtube.com/watch?v=_36pheU-GtU&feature=youtu.be
ชื่อเรื่องหรือคำอธิบาย:
3D บ้านสองธาร อ.แม่แจ่ม
URL:
https://www.youtube.com/watch?v=xe6nY7iA0Ac&feature=youtu.be
ลิงก์และโมดูล
ขยายทั้งหมด ย่อทั้งหมดลิงก์
ไม่มีลิงก์
โมดูล
ไม่มีโมดูล