เทคโนโลยี

Integrated land management in high landscape of small scale farm [ไทย]

  • ผู้สร้างสรรค์:
  • การอัพเดท:
  • ผู้รวบรวม:
  • ผู้เรียบเรียง:
  • ผู้ตรวจสอบ: ,

Khok Nong Na Model (mound reservoir paddy model)

technologies_4115 - ไทย

สมบูรณ์: 90%

1. ข้อมูลทั่วไป

1.2 รายละเอียดที่ติดต่อได้ของผู้รวบรวมและองค์กรที่เกี่ยวข้องในการประเมินและการจัดเตรียมทำเอกสารของเทคโนโลยี

วิทยากรหลัก

ผู้เชี่ยวชาญ SLM:

Lertditsayawan เลิศดิษยวรรณ Ms.Somjit

668 9807 4024

ktb.somjit@gmail.com

Land Development Department

125/30 ซอยวัดดงมูลเหล็ก แขวงบ้านช่างหล่อ, บางกอกน้อย Bangkok 10700, Thailand

ไทย

SLM Consultant:
ผู้ใช้ที่ดิน:

แหลมคม Mr.Boonma

ุุ668 5718 5067

village Headman

6/1 หมู่ที่1 ต.บ้านทับ, แม่แจ่ม เชียงใหม่ 50270

ไทย

ผู้ใช้ที่ดิน:

Suwanno Mr.Teerasak

668 2887 8462

Assistant village Headman

6 หมู่ที่1 ต.บ้านทับ, แม่แจ่ม, เชียงใหม่ 50270

ไทย

1.3 เงื่อนไขการใช้ข้อมูลที่ได้บันทึกผ่านทาง WOCAT

วันที่เก็บรวบรวมข้อมูล(ภาคสนาม) :

12/09/2018

ผู้รวบรวมและวิทยากรหลักยอมรับเงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลที่ถูกบันทึกผ่านทาง WOCAT:

ใช่

1.4 การเปิดเผยเรื่องความยั่งยืนของเทคโนโลยีที่ได้อธิบายไว้

เทคโนโลยีที่ได้อธิบายไว้นี้เป็นปัญหาของความเสื่อมโทรมโทรมของที่ดินหรือไม่ จึงไม่ได้รับการยอมรับว่าเป็นเทคโนโลยีเพื่อการจัดการที่ดินอย่างยั่งยืน:

ไม่ใช่

2. การอธิบายลักษณะของเทคโนโลยี SLM

2.1 การอธิบายแบบสั้น ๆ ของเทคโนโลยี

คำจำกัดความของเทคโนโลยี:

ระบบการจัดการน้ำบนพื้นที่สูงด้วยศาสตร์พระราชาร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นแนวทางปฏิบัติในพื้นที่สูง ใช้การ “เปลี่ยนเขาหัวโล้น เป็นเขาหัวจุก”

2.3 รูปภาพของเทคโนโลยี

คำอธิบายภาพ:

คันดินที่มีแถบหญ้าแฝกปลูกขึ้นเป็นแนว ปลูกพืชอาหารและกล้วยตามคันดิน บริเวณที่ราบริมน้ำ มีการขุดบ่อเก็บกักน้ำ ปลูกไม้ผล ไม้ป่า และเลี้ยงวัวในคอก ฝั่งตรงข้ามปลูกข้าวไร่ ฟักทอง กล้วย ข้าวโพด ด้านตะวันออกปลูกผักหวานป่า และกันพื้นที่ไว้ปลูกป่าด้วย ส่วนที่เป็นนาขั้นบันไดดินสำหรับปลูกข้าว มีการห่มดินด้วยฟางข้าวหลังเก็บเกี่ยว ปลูกได้ปีละครั้ง

2.4 วีดีโอของเทคโนโลยี

วันที่:

12/09/2018

สถานที่:

ตำบลบ้านทับ

ชื่อผู้ถ่ายวีดีโอ:

Ms.Tanomkhaw Thipwong

2.5 ประเทศภูมิภาค หรือสถานที่ตั้งที่เทคโนโลยีได้นำไปใช้และได้รับการครอบคลุมโดยการประเมินนี้

ประเทศ:

ไทย

ภูมิภาค/รัฐ/จังหวัด:

เชียงใหม่

ข้อมูลจำเพาะเพิ่มเติมของสถานที่ตั้ง :

ตำบลบ้านทับ อำเภอแม่แจ่ม

แสดงความคิดเห็น:

นายบุญมา แหลมคม

2.6 วันที่การดำเนินการ

ระบุปีที่ใช้:

2006

ถ้าไม่รู้ปีที่แน่นอน ให้ระบุวันที่โดยประมาณ:
  • 10-50 ปี

2.7 คำแนะนำของเทคโนโลยี

ให้ระบุว่าเทคโนโลยีถูกแนะนำเข้ามาอย่างไร:
  • ทางโครงการหรือจากภายนอก
ความคิดเห็น (ประเภทของโครงการ เป็นต้น) :

เป็นโครงการเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง หมอกควันที่เกิดจากการเผาทำลายซากข้าวโพด
และบุกรุกป่าเพื่อใช้พื้นที่ทำกิน

3. การจัดประเภทของเทคโนโลยี SLM

3.1 วัตถุประสงค์หลักของเทคโนโลยี

  • ลด ป้องกัน ฟื้นฟู การเสื่อมโทรมของที่ดิน
  • อนุรักษ์ระบบนิเวศน์
  • ลดความเสี่ยงของภัยพิบัติ
  • สร้างผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจที่เป็นประโยชน์

3.2 ประเภทของการใช้ที่ดินในปัจจุบันที่ได้นำเทคโนโลยีไปใช้

การใช้ที่ดินแบบผสมผสาน (รวมถึงวนเกษตร)

การใช้ที่ดินแบบผสมผสาน (รวมถึงวนเกษตร)

  • การปลูกพืชร่วมกับปศุสัตว์และการทำป่าไม้ (Agro-silvopastoralism)
ทางน้ำ แหล่งน้ำ พื้นที่ชุ่มน้ำ

ทางน้ำ แหล่งน้ำ พื้นที่ชุ่มน้ำ

  • ทางระบายน้ำ ทางน้ำ
  • บ่อน้ำ เขื่อน
  • หนองบึง พื้นที่ชุ่มน้ำ
  • แท็งค์น้ำ
ผลิตภัณฑ์หลักหรือบริการ:

บ่อน้ำใหญ่ บ่อน้ำรอง หนอง ฝายชะลอน้ำ ทางระบายน้ำ(คลองไส้ไก่) และแท็งค์น้ำ สำหรับเก็บกักน้ำไว้ในหน้าแล้ง

ถ้าการใช้ที่ดินมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องมาจากการนำเทคโนโลยีไปปฏิบัติใช้ ให้ระบุการใช้ที่ดินก่อนนำเทคโนโลยีไปปฏิบัติใช้:

Ca: การปลูกพืชล้มลุก(Annual cropping)

3.3 ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้ที่ดิน

การใช้น้ำของที่ดินที่มีการใช้เทคโนโลยีอยู่:
  • จากน้ำฝน
แสดงความคิดเห็น:

-

จำนวนของฤดูเพาะปลูกต่อปี:
  • 1
ระบุ:

นาน้ำฝน และไม้ผล

ความหนาแน่นของปศุสัตว์ (ถ้าเกี่ยวข้อง):

เลี้ยงวัวในพื้นที่ จำนวน 8 ตัว มีแปลงหญ้าเนเปียร์ใกล้กับร่องลำธาร เลี้ยงโดยการล้อมคอก

3.4 กลุ่ม SLM ที่ตรงกับเทคโนโลยีนี้

  • การปลูกป่าร่วมกับพืช
  • การเก็บเกี่ยวน้ำ
  • การจัดการด้านชลประทาน (รวมถึงการลำเลียงส่งน้ำ การระบายน้ำ)

3.5 กระจายตัวของเทคโนโลยี

ระบุการกระจายตัวของเทคโนโลยี:
  • กระจายไปอย่างสม่ำเสมอในพื้นที่
ถ้าหากว่าเทคโนโลยีได้มีการกระจายออกไปอย่างสม่ำเสมอในพื้นที่ ให้ระบุปริมาณพื้นที่ที่ได้รับการครอบคลุมถึง:
  • > 10,000 ตร.กม.
แสดงความคิดเห็น:

มากกว่าพื้นที่อำเภอแม่แจ่ม (2,686.571 ตร.กม.)

3.6 มาตรการ SLM ที่ประกอบกันเป็นเทคโนโลยี

มาตรการจัดการพืช

มาตรการจัดการพืช

  • A1: พืช/สิ่งปกคลุมดิน
มาตรการอนุรักษ์ด้วยวิธีพืช

มาตรการอนุรักษ์ด้วยวิธีพืช

  • V2: หญ้าและไม้ยืนต้น
มาตรการอนุรักษ์ด้วยโครงสร้าง

มาตรการอนุรักษ์ด้วยโครงสร้าง

  • S1: คันดิน
  • S3: Graded ditches, channels, waterways
  • S4: คูน้ำแนวระดับ หลุม

3.7 รูปแบบหลักของการเสื่อมโทรมของที่ดินที่ได้รับการแก้ไขโดยเทคโนโลยี

การเสื่อมโทรมของดินทางด้านเคมี

การเสื่อมโทรมของดินทางด้านเคมี

  • Cn (Fertility decline): ความอุดมสมบูรณ์และปริมาณอินทรียวัตถุในดินถูกทำให้ลดลงไป (ไม่ได้เกิดจากสาเหตุการกัดกร่อน)
  • Cp (Soil pollution): มลพิษในดิน
แสดงความคิดเห็น:

เกิดจากการกระทำโดยมนุษย์ เช่นการใช้ปุ๋ยเคมี สารป้องกันกำจัดโรคแมลง และสารกำจัดวัชพืช ทั้งในพื้นที่และบริเวณต้นน้ำ

3.8 การป้องกัน การลดลง หรือการฟื้นฟูความเสื่อมโทรมของที่ดิน

ระบุเป้าหมายของเทคโนโลยีกับความเสื่อมโทรมของที่ดิน:
  • ลดความเสื่อมโทรมของดิน
  • ฟื้นฟูบำบัดที่ดินที่เสื่อมโทรมลงอย่างมาก

4. ข้อมูลจำเพาะด้านเทคนิค กิจกรรมการนำไปปฏิบัติใช้ ปัจจัยนำเข้า และค่าใช้จ่าย

4.1 แบบแปลนทางเทคนิคของเทคโนโลยี

ผู้เขียน:

สมจิตต์ เลิศดิษยวรรณ

วันที่:

12/09/2018

4.2 ข้อมูลจำเพาะด้านเทคนิคและการอธิบายแบบแปลนทางเทคนิค

เนื่องจากเป็นพื้นที่ภูเขาสูง ความชันมากกว่า 35 % ทำการขุดบ่อเพื่อเก็บกักน้ำ โดยบ่อน้ำใหญ่ กว้าง 3 เมตร ลึก 3 เมตร และยาว 20 เมตร อยู่ที่พื้นราบด้านล่าง และขุดบ่อขั้นบันได อีก 2 บ่อ กว้าง 1 เมตร ลึก 0.7 เมตร และยาว 20 เมตรไว้ในแนวระดับ สร้างแท็งค์น้ำขนาด 20,000 ลิตรไว้ด้านบนสุด แล้วสูบน้ำจากบ่อน้ำใหญ่ขึ้นไปเก็บไว้ที่แท็งค์น้ำด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ และปล่อยลงในคลองไส้ไก่กว้าง 0.2-0.5 เมตรซึ่งขุดลัดเลาะเข้าไปในพื้นที่และลดหลั่นตามแนวระดับลงมาให้ทั่วพื้นที่ เพื่อกระจายน้ำและความชุ่มชื้นให้แก่พืชผัก สวนครัว นา ไม้ป่าและไม้ผลที่ปลูกไว้ มีการกั้นฝายกระสอบทรายจำนวน 6 ฝายไว้ที่ร่องเขาทั้งด้าน เพื่อชะลอและเก็บกักน้ำ ยังมีการเก็บน้ำไว้ในนาขั้นบันไดอีกโดยการยกคันนาให้สูง แต่ก็ทำได้แค่ 0.3 เมตร สามารถปลูกข้าวได้ปีละครั้ง ขอบคันดินและคันนาปลูกกล้วย แฝก พืชผัก พืชสวนครัวต่างๆ ด้านล่างมีการเลี้ยววัวโดยการล้อมคอก กั้นพื้นที่บางส่วนสำหรับปลูกป่า บางส่วนปลูกไม้ผลผสมกับไม้ป่า มีการปลูกพืชคลุมดิน หรือปล่อยหญ้าคลุมดินไว้ หรือทำการห่มดินด้วยฟางข้าวหรือเศษพืชอื่นๆ เพื่อป้องกันไม่ให้ดินโดนแสงแดดโดยตรงและรักษาความชื้นในดิน ด้านบนเป็นส่วนของการเลี้ยงไก่ ปลา ปลูกผัก เพาะเห็ด สำหรับไว้เป็นอาหารเพื่อยังชีพและแจกจ่ายกันในชุมชน

4.3 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการคำนวณปัจจัยนำเข้าและค่าใช้จ่าย

ให้ระบุว่าค่าใช้จ่ายและปัจจัยนำเข้าได้รับการคำนวณอย่างไร:
  • ต่อพื้นที่ที่ใช้เทคโนโลยี
ระบุขนาดและหน่วยพื้นที่:

(25 ไร่)

ถ้าใช้หน่วยพื้นที่ตามท้องถิ่น ให้ระบุตัวแปลงค่า เช่น 1 เฮกตาร์ :

4 เฮกตาร์

อื่นๆ หรือสกุลเงินประจำชาติ (ระบุ):

บาท

ระบุอัตราแลกเปลี่ยนจากดอลลาร์สหรัฐเป็นสกุลเงินท้องถิ่น (ถ้าเกี่ยวข้อง) คือ 1 เหรียญสหรัฐ =:

32.0

ระบุค่าเฉลี่ยของค่าจ้างในการจ้างแรงงานต่อวัน:

300

4.4 กิจกรรมเพื่อการจัดตั้ง

กิจกรรม ประเภทของมาตรการ ช่วงเวลาดำเนินการ
1. ขุดบ่อน้ำใหญ่ บ่อน้ำขั้นบันได และนาขั้นบันได ด้วยโครงสร้าง
2. ขุดคลองไส้ไก่ ด้วยโครงสร้าง
3. ปลูกแฝกและพืชคลุมดิน ด้วยวิธีพืช
4. ปลูกพืชผัก ไม้ป่า และไม้ผล จัดการพืช
5. ทำฝายชะลอน้ำเพิ่มการกักเก็บน้ำ ด้วยโครงสร้าง
6. สร้างแท็งค์น้ำ เพื่อเก็บน้ำไว้ใช้ในช่วงแล้ง ด้วยโครงสร้าง

4.5 ค่าใช้จ่ายของปัจจัยนำเข้าที่จำเป็นสำหรับการจัดตั้ง

ปัจจัยนำเข้า หน่วย ปริมาณ ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อปัจจัยนำเข้า %ของค่าใช้จ่ายที่ก่อให้เกิดขึ้นโดยผู้ใช้ที่ดิน
แรงงาน แรงงาน 5 คน / 4 วัน ทำโครงสร้างหลัก คันดิน คูรับน้ำ แรง 20.0 300.0 6000.0
อุปกรณ์ แมคโคร 1 คัน ค่าเช่ารวมน้ำมัน วัน 4.0 5450.0 21800.0 100.0
วัสดุด้านพืช ได้จากแหล่งสนับสนุน -
วัสดุสำหรับก่อสร้าง ฝายชะลอน้ำ (100กระสอบ/ฝาย) กระสอบ 600.0 4.0 2400.0
วัสดุสำหรับก่อสร้าง ค่าแรงงาน แรง 42.0 300.0 12600.0
อื่น ๆ วัสดุสร้างแท็งค์น้ำ 20,000 ลิตร แท็งค์ 1.0 8600.0 8600.0 100.0
อื่น ๆ ค่าแรงงาน แรง 147.0 300.0 44100.0
ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของการจัดตั้งเทคโนโลยี 95500.0
ถ้าผู้ใช้ที่ดินรับภาระน้อยกว่า 100% ของค่าใช้จ่าย ให้ระบุว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบส่วนที่เหลือ:

น้อยกว่า 10 % ส่วนใหญ่กรมป่าไม้เป็นผู้รับผิดชอบ 90 %

แสดงความคิดเห็น:

-

4.6 การบำรุงรักษาสภาพหรือกิจกรรมที่เกิดขึ้นเป็นประจำ

แสดงความคิดเห็น:

ยังเป็นช่วงเริ่มการจัดตั้ง และดูแลโดยเจ้าของที่ดินเป็นหลัก และเสริมแรงงานจากการหมุนเวียนคนมาจากโครงการ "เอามื้อสามัคคี"

4.7 ค่าใช้จ่ายของปัจจัยนำเข้าและกิจกรรมที่เกิดขึ้นเป็นประจำที่ต้องการการบำรุงรักษา (ต่อปี)

ถ้าผู้ใช้ที่ดินรับภาระน้อยกว่า 100% ของค่าใช้จ่าย ให้ระบุว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบส่วนที่เหลือ:

-

แสดงความคิดเห็น:

-

4.8 ปัจจัยสำคัญที่สุดที่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่าย

ปัจจัยสำคัญที่สุดที่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายต่างๆ:

-

5. สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและของมนุษย์

5.1 ภูมิอากาศ

ฝนประจำปี
  • < 250 ม.ม.
  • 251-500 ม.ม.
  • 501-750 ม.ม.
  • 751-1,000 ม.ม.
  • 1,001-1,500 ม.ม.
  • 1,501-2,000 ม.ม.
  • 2,001-3,000 ม.ม.
  • 3,001-4,000 ม.ม.
  • > 4,000 ม.ม.
ระบุปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรายปี (ถ้ารู้) :หน่วย ม.ม.

1370.00

ข้อมูลจำเพาะ/ความคิดเห็นเรื่องปริมาณน้ำฝน:

ความยาวของช่วงฝนแล้ง ประมาณ 2 เดือน มีนาคมและเมษายน

ระบุชื่อของสถานีตรวดวัดอากาศที่ใช้อ้างอิงคือ:

-

เขตภูมิอากาศเกษตร
  • กึ่งชุ่มชื้น

-

5.2 สภาพภูมิประเทศ

ค่าเฉลี่ยความลาดชัน:
  • ราบเรียบ (0-2%)
  • ลาดที่ไม่ชัน (3-5%)
  • ปานกลาง (6-10%)
  • เป็นลูกคลื่น (11-15%)
  • เป็นเนิน (16-30%)
  • ชัน (31-60%)
  • ชันมาก (>60%)
ธรณีสัณฐาน:
  • ที่ราบสูง/ที่ราบ
  • สันเขา
  • ไหล่เขา
  • ไหล่เนินเขา
  • ตีนเนิน
  • หุบเขา
ระดับความสูง:
  • 0-100 เมตร
  • 101-500 เมตร
  • 501-1,000 เมตร
  • 1,001-1,500 เมตร
  • 1,501-2,000 เมตร
  • 2,001-2,500 เมตร
  • 2,501-3,000 เมตร
  • 3,001-4,000 เมตร
  • > 4,000 เมตร

5.3 ดิน

ค่าเฉลี่ยความลึกของดิน:
  • ตื้นมาก (0-20 ซ.ม.)
  • ตื้น (21-50 ซ.ม.)
  • ลึกปานกลาง (51-80 ซ.ม.)
  • ลึก (81-120 ซ.ม.)
  • ลึกมาก (>120 ซ.ม.)
เนื้อดิน (ดินชั้นบน):
  • ปานกลาง (ดินร่วน ทรายแป้ง)
เนื้อดินล่าง (> 20 ซ.ม.ต่ำจากผิวดิน):
  • ปานกลาง (ดินร่วน ทรายแป้ง)
อินทรียวัตถุในดิน:
  • ต่ำ (<1%)
(ถ้ามี) ให้แนบคำอธิบายเรื่องดินแบบเต็มหรือระบุข้อมูลที่มีอยู่ เช่น ชนิดของดิน ค่า pH ของดินหรือความเป็นกรดของดิน ความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวก ไนโตรเจน ความเค็ม เป็นต้น:

-

5.4 ความเป็นประโยชน์และคุณภาพของน้ำ

ระดับน้ำใต้ดิน:

5-50 เมตร

น้ำไหลบ่าที่ผิวดิน:

ปานกลาง

คุณภาพน้ำ (ที่ยังไม่ได้บำบัด):

เป็นน้ำใช้เพื่อการเกษตรเท่านั้น (การชลประทาน)

ความเค็มของน้ำเป็นปัญหาหรือไม่:

ไม่ใช่

กำลังเกิดน้ำท่วมในพื้นที่หรือไม่:

ไม่ใช่

ความคิดเห็นและข้อมูลจำเพาะเพิ่มเติมเรื่องคุณภาพและปริมาณน้ำ:

-

5.5 ความหลากหลายทางชีวภาพ

ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์:
  • ปานกลาง
ความหลากหลายของแหล่งที่อยู่:
  • ปานกลาง
ความคิดเห็นและข้อมูลจำเพาะเพิ่มเติมของความหลากหลายทางชีวภาพ:

-

5.6 ลักษณะของผู้ใช้ที่ดินที่นำเทคโนโลยีไปปฏิบัติใช้

อยู่กับที่หรือเร่ร่อน:
  • อยู่กับที่
แนวทางการตลาดของระบบการผลิต:
  • เพื่อการยังชีพ (หาเลี้ยงตนเอง)
รายได้ที่มาจากนอกฟาร์ม:
  • > 50% ของรายได้ทั้งหมด
ระดับของความมั่งคั่งโดยเปรียบเทียบ:
  • จน
  • พอมีพอกิน
เป็นรายบุคคล/ครัวเรือน:
  • เป็นรายบุคคล/ครัวเรือน
  • กลุ่ม/ชุมชน
ระดับของการใช้เครื่องจักรกล:
  • งานที่ใช้แรงกาย
เพศ:
  • หญิง
  • ชาย
อายุของผู้ใช้ที่ดิน:
  • วัยกลางคน
  • ผู้สูงอายุ
ระบุลักษณะอื่นๆที่เกี่ยวข้องของผู้ใช้ที่ดิน:

เป็นบุคคลที่มีหนี้สินเป็นหลักแสนและมีความต้องการปลดหนี้ให้หมดไป ต้องการฟื้นคืนผืนป่าให้กลับสู่ธรรมชาติดั้งเดิม และรักษาสภาพแวดล้อมให้ดีขึ้น เพื่อให้ลูกหลานสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ในอนาคต มีการร่วมกลุ่มช่วยกันทำงาน แบ่งเป็น 4 กลุ่มๆละ 5-6 คน หมุนเวียนแรงงานซึ่งกันและกัน สัปดาห์ละ 2 วัน

5.7 พื้นที่เฉลี่ยของที่ดินที่เป็นเจ้าของหรือเช่าโดยผู้ใช้ที่ดินที่นำเทคโนโลยีไปปฏิบัติใช้

  • < 0.5 เฮกตาร์
  • 0.5-1 เฮกตาร์
  • 1-2 เฮกตาร์
  • 2-5 เฮกตาร์
  • 5-15 เฮกตาร์
  • 15-50 เฮกตาร์
  • 50-100 เฮกตาร์
  • 100-500 เฮกตาร์
  • 500-1,000 เฮกตาร์
  • 1,000-10,000 เฮกตาร์
  • >10,000 เฮกตาร์
พิจารณาว่าเป็นขนาดเล็ก กลาง หรือขนาดใหญ่ (ซึ่งอ้างอิงถึงบริบทระดับท้องถิ่น):
  • ขนาดใหญ่
แสดงความคิดเห็น:

-

5.8 กรรมสิทธิ์ในที่ดิน สิทธิในการใช้ที่ดินและสิทธิในการใช้น้ำ

กรรมสิทธิ์ในที่ดิน:
  • รายบุคคล ไม่ได้รับสิทธิครอบครอง
สิทธิในการใช้ที่ดิน:
  • เข้าถึงได้แบบเปิด (ไม่ได้จัดระเบียบ)
  • เกี่ยวกับชุมชน (ถูกจัดระเบียบ)
สิทธิในการใช้น้ำ:
  • เข้าถึงได้แบบเปิด (ไม่ได้จัดระเบียบ)
  • เกี่ยวกับชุมชน (ถูกจัดระเบียบ)
แสดงความคิดเห็น:

-

5.9 การเข้าถึงบริการและโครงสร้างพื้นฐาน

สุขภาพ:
  • จน
  • ปานกลาง
  • ดี
การศึกษา:
  • จน
  • ปานกลาง
  • ดี
ความช่วยเหลือทางด้านเทคนิค:
  • จน
  • ปานกลาง
  • ดี
การจ้างงาน (เช่น ภายนอกฟาร์ม):
  • จน
  • ปานกลาง
  • ดี
ตลาด:
  • จน
  • ปานกลาง
  • ดี
พลังงาน:
  • จน
  • ปานกลาง
  • ดี
ถนนและการขนส่ง:
  • จน
  • ปานกลาง
  • ดี
น้ำดื่มและการสุขาภิบาล:
  • จน
  • ปานกลาง
  • ดี
บริการด้านการเงิน:
  • จน
  • ปานกลาง
  • ดี

6. ผลกระทบและสรุปคำบอกกล่าว

6.1 ผลกระทบในพื้นที่ดำเนินการ (On-site) จากการใช้เทคโนโลยี

ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจและสังคม

ความเป็นประโยชน์และคุณภาพของน้ำ

การมีน้ำไว้ให้สำหรับการชลประทาน

ลดลง
เพิ่มขึ้น

คุณภาพน้ำสำหรับการชลประทาน

ลดลง
เพิ่มขึ้น
รายได้และค่าใช้จ่าย

ค่าใช่จ่ายของปัจจัยการผลิตทางการเกษตร

เพิ่มขึ้น
ลดลง

รายได้จากฟาร์ม

ลดลง
เพิ่มขึ้น

ภาระงาน

เพิ่มขึ้น
ลดลง

ผลกระทบด้านสังคมวัฒนธรรมอื่น ๆ

ความมั่นคงด้านอาหาร / พึ่งตนเองได้

ลดลง
ปรับปรุงดีขึ้น

การใช้ที่ดิน / สิทธิในการใช้น้ำ

แย่ลง
ปรับปรุงดีขึ้น

ผลกระทบด้านนิเวศวิทยา

วัฐจักรน้ำหรือน้ำบ่า

ปริมาณน้ำ

ลดลง
เพิ่มขึ้น

คุณภาพน้ำ

ลดลง
เพิ่มขึ้น
ดิน

ความชื้นในดิน

ลดลง
เพิ่มขึ้น

สิ่งปกคลุมดิน

ลดลง
ปรับปรุงดีขึ้น

การอัดแน่นของดิน

เพิ่มขึ้น
ลดลง

อินทรียวัตถุในดิน/ต่ำกว่าดินชั้น C

ลดลง
เพิ่มขึ้น
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและสัตว์

การปกคลุมด้วยพืช

ลดลง
เพิ่มขึ้น

มวลชีวภาพ/เหนือดินชั้น C

ลดลง
เพิ่มขึ้น

ชนิดพันธุ์ที่ให้ประโยชน์

ลดลง
เพิ่มขึ้น

การจัดการศัตรูพืชและโรคพืช

ลดลง
เพิ่มขึ้น
ลดความเสี่ยงของภัยพิบัติ

ผลกระทบจากภัยแล้ง

เพิ่มขึ้น
ลดลง

ความเสี่ยงจากไฟ

เพิ่มขึ้น
ลดลง

6.2 ผลกระทบนอกพื้นที่ดำเนินการ (Off-site) จากการใช้เทคโนโลยี

การทับถมของดินตะกอนพื้นที่ท้ายน้ำ

เพิ่มขึ้น
ลดลง

การเกิดมลพิษในน้ำบาดาลหรือแม่น้ำ

เพิ่มขึ้น
ลดลง

6.3 การเผชิญและความตอบสนองของเทคโนโลยีต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ค่อยเป็นค่อยไป และสภาพรุนแรงของภูมิอากาศ / ภัยพิบัติ (ที่รับรู้ได้โดยผู้ใช้ที่ดิน)

สภาพรุนแรงของภูมิอากาศ (ภัยพิบัติ)

ภัยพิบัติจากสภาพภูมิอากาศ
เทคโนโลยีมีวิธีการรับมืออย่างไร
ภัยจากฝนแล้ง ดี
แสดงความคิดเห็น:

-

6.4 การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและผลประโยชน์ที่ได้รับ

ผลประโยชน์ที่ได้รับเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งเป็นอย่างไร (จากมุมมองของผู้ใช้ที่ดิน)
ผลตอบแทนระยะสั้น:

เป็นกลางหรือสมดุล

ผลตอบแทนระยะยาว:

ด้านบวกอย่างมาก

แสดงความคิดเห็น:

-

6.5 การปรับตัวของเทคโนโลยี

  • 10-50%
ถ้ามีข้อมูลให้บอกปริมาณด้วย (จำนวนของครัวเรือนหรือครอบคลุมพื้นที่):

จำนวน 21 ครัวเรือน

จากทั้งหมดที่ได้รับเทคโนโลยีเข้ามามีจำนวนเท่าใดที่ทำแบบทันที โดยไม่ได้รับการจูงใจด้านวัสดุหรือการเงินใด ๆ:
  • 0-10%
แสดงความคิดเห็น:

ครั้งแรกมี 32 ครัวเรือน แล้วก็กลับไปปลูกข้าวโพดเหมือนเดิม เหลือ 13 ครัวเรือน เพราะไม่มีแรงสนับสนุนจากทางการที่ชัดเจน และหันกลับรวมกลุ่มมาอีกครั้งเพราะไม่สามารถแก้ปัญหาทั้งหมดได้โดยเฉพาะเรื่องหนี้สิน ปัจจุบันมีทั้งหมด 21 ครัวเรือน

6.6 การปรับตัว

เทคโนโลยีได้รับการปรับเปลี่ยนเมื่อเร็วๆนี้ เพื่อให้ปรับตัวเข้ากับสภาพที่กำลังเปลี่ยนแปลงหรือไม่:

ไม่ใช่

6.7 จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบ / โอกาสของเทคโนโลยี

จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบ / โอกาสในทัศนคติของผู้ใช้ที่ดิน
ทรัพยากรดินและน้ำดีขึ้น มีความอุดมสมบูรณ์ การจัดการดินง่ายขึ้น ปลูกอะไรก็ได้กินได้ขาย ผลผลิตดีขึ้น
พึ่งพาตนเองได้ ไม่พี่งสารเคมี
สุขภาพอนามัยดีขึ้น อาหารสะอาดปลอดภัย อากาศบริสุทธิ์
สร้างเครือข่ายชุมชนที่เข้มแข็ง เกิดความสามัคคี มีการเอาแรงกัน มีกฎระเบียบชุมชนและสามารถยึดถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด
จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบ / โอกาสในทัศนคติของผู้รวบรวมหรือวิทยากรหลัก
-
-
-

6.8 จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบ / ความเสี่ยงของเทคโนโลยีและวิธีการแก้ไข

จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบ / ความเสี่ยงในทัศนคติของผู้ใช้ที่ดิน มีวิธีการแก้ไขได้อย่างไร
มีภาระงานมากขึ้น เพราะต้องทำงานหลายอย่างในทุกๆวัน เช่น รดน้ำ
ปลูกผัก เลี้ยงวัว ตัดหญ้า หาอาหารของคนและสัตว์ เป็นต้น
-
มีความแตกต่างกันด้านความคิด ต้องใช้กฎระเบียบ หรือแนวทางของกลุ่มฯเป็นหลัก
ปัจจุบันยังไม่มีรายได้เป็นตัวเงิน แต่มีกิน สามารถเก็บกินได้จากของที่ปลูก
สัตว์ที่เลี้ยงไว้ และแบ่งปันกันระหว่างครัวเรือน
ไม่มีรายได้แต่ก็ไม่มีค่าใช้จ่าย แลกเปลี่ยนแจกจ่ายกันในกลุ่ม
ไม่มีกรรมสิทธิในที่ดิน อยากให้หน่วยงานของรัฐเข้ามาช่วยในการปลดหนี้ พร้อมที่จะคืนและดูแลผืนป่าให้เป็นการตอบแทน
อยากมีรายได้จากการปลูกป่า โดยคิดคำนวณจากคาร์บอนเครดิต ซึ่งน่าจะคิดเป็นค่าตอบแทนบ้าง เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้ด้วย ปัจจุบันรายได้หลักมาจากการทอผ้าตีนจกของแม่บ้าน
จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบ / ความเสี่ยงในทัศนคติของผู้รวบรวมหรือวิทยากรหลัก มีวิธีการแก้ไขได้อย่างไร
- -
- -
- -

7. การอ้างอิงและการเชื่อมต่อ

7.1 วิธีการและแหล่งข้อมูล

  • การสัมภาษณ์กับผู้ใช้ที่ดิน

2คน

  • การเก็บรวบรวมมาจากรายงานและเอกสารที่มีอยู่

-

7.3 เชื่อมโยงกับข้อมูลที่มีอยู่บนออนไลน์

ชื่อเรื่องหรือคำอธิบาย:

คนเปลี่ยนโลก SS4 TAPE 28 : แม่แจ่มโมเดลพลัส (9 ก.ค. 61) 1/3

URL:

https://www.youtube.com/watch?v=k7Bex9ku_qY&feature=youtu.be

ชื่อเรื่องหรือคำอธิบาย:

คนเปลี่ยนโลก SS4 TAPE 28 : แม่แจ่มโมเดลพลัส (9 ก.ค. 61) 2/3

URL:

https://www.youtube.com/watch?v=RwY01nOLVvs&feature=youtu.be

ชื่อเรื่องหรือคำอธิบาย:

คนเปลี่ยนโลก SS4 TAPE 28 : แม่แจ่มโมเดลพลัส (9 ก.ค. 61) 3/3

URL:

https://www.youtube.com/watch?v=doiZ8r6Bo9I&feature=youtu.be

ชื่อเรื่องหรือคำอธิบาย:

ภาพ 3 มิติ แสดงภูมิประเทศ บ้านสองธาร อำเภอแม่แจ่ม

URL:

https://www.youtube.com/watch?v=_36pheU-GtU&feature=youtu.be

ชื่อเรื่องหรือคำอธิบาย:

3D บ้านสองธาร อ.แม่แจ่ม

URL:

https://www.youtube.com/watch?v=xe6nY7iA0Ac&feature=youtu.be

โมดูล